SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ประวัติที่มาของเรื่อง 
สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวณัสังขชาดก ซึ่งเป็น นิทาน เรื่องหนึ่งใน ปัญญาสชาดก ของท้องถิ่น 
ในภาคเหนือและภาคใต้มีสถานที่ที่กลา่วถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทองกลา่วคือเลา่กนัวา่เมืองทุง่ยั้ง 
เป็นเมืองท้าวสามนต์ ใกล้วดัมหาธาตุมีลานหินเป็นสนามตีคลีของพระสังข์ ส่วนในภาคใต้ 
เชื่อวา่เมืองตะกวั่ป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์ และเรียกภูเขาลูกหนึ่งวา่ "เขาขมงัมา้" 
เนื่องจากเมื่อพระสังข์ตีคลีชนะได้ขี่มา้ข้ามภูเขานั้นไป 
ลักษณะคา ประพันธ์ 
1.1.เป็นกลอนบทละคร บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคละ 6 คา หนึ่งบทมี 2บาท เรียกวา่บาทเอกและบาทโท 1 
บาท เทา่กบั 1 คา กลอน 
1.2.คา ขึ้นต้นบท กลอนบทละครมีคา ขึ้นต้นหลายแบบ 
และคา ขึ้นต้นนั้นไมจ่า เป็นต้องมีจา นวนเทา่กับวรรคสดับ อาจจะมีเพียง 2 คา ก็ได้ 
บทละครพระราชนิพนธ์เรื่อง สังข์ทอง มี 9 ตอน คือ 
1.กาเนิดพระสังข์ 
2.ถว่งพระสังข์ 
3.นางพันธุรัตน์เลี้ยงพระสังข์ 
4.พระสังข์หนีนางพันธุรัต 
5.ท้าวสามนต์ให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่ 
6.พระสังข์ได้นางรจนา 
7.ท้าวสามนต์ให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ 
8.พระสังข์ตีคลี 
9.ท้าวยศวิมลตามพระสังข์ 
เรื่องยอ่สังข์ทอง 
ณ เมืองยศวิมลนคร อันมีท้าวยศวิมลเป็นเจ้าเมือง พระมเหสีจันเทวีได้คลอดลูกออกมาเป็นหอยสังข์ 
จึงถูกพระนางจันทา มเหสีรอง ใส่ร้ายวา่เป็นกาลีบ้านเมือง 
จนถูกขับออกจากเมืองไปอยู่กระท่อมตายายที่ชายป่า จนกระทั่งพระสังข์ที่ซอ่นอยูใ่นหอย ได้ออกมาพบแม่ 
สร้างความยินดีกบัพระนางจันเทวีมาก
ขา่วลว่งรู้ไปถึงนางจันทา จึงได้ส่งคนมาจับพระสังข์ไปถว่งน้า แตท่้าวภุชงค์พญานาคราชชว่ยเอาไว้ 
และส่งให้ไปอยูก่บั นางพันธุรัต พระสังข์รู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์จึงขโมยรูปเงาะ ไมเ้ท้า เกือกแกว้ 
เหาะหนีมาอยูบ่นเขา นางพันธุรัตตามมาทันแต่ไมส่ามารถขึ้นไปหาพระสังข์ได้ จึงได้มอบมนต์มหาจินดา 
เรียกเนื้อเรียกปลาให้แกพ่ระสังข์กอ่นที่จะอกแตกสิ้นใจตายที่เชิงเขา นั่นเอง 
พระสังข์เหาะมาจนถึงเมืองสามล ท้าวสามลและนางมณฑากา ลังจัดพิธีเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด 
แตร่จนาพระธิดาองค์สุดท้อง ไมย่อมเลือกใครเป็นคู่ท้าวสามลจึงให้คนไปตามเจ้าเงาะมาให้เลือก 
รจนาเห็นรูปทองที่ซอ่นอยูใ่นรูปเงาะจึงเสี่ยงมาลัยไปให้ 
สร้างความพิโรธให้ท้าวสามาลจึงถึงกบัขับไล่รจนาให้ไปอยู่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ 
ท้าวสามลหาทางแกล้งเจ้าเงาะ โดยการให้ไปหาเนื้อหาปลาแขง่กบัเขยทั้งหก 
เจ้าเงาะให้มนต์ที่นางพันธุรัตให้ไวเ้รียกเนื้อ เรียกปลามารวมกนัทา ให้หกเขยหาปลาไมไ่ด้ 
จึงต้องยอมตัดปลายหูและปลายจมูกแลกกับเนื้อและปลา 
ท้าวสามลพิโรธมากจนถึงกบัคิดหาทางประหารเจ้าเงาะ 
ร้อนถึงพระอินทร์ต้องหาทางชว่ยโดยการลงมาท้าตีคลีชิงเมือง กบัท้าวสามล 
ท้าวสามลส่งหกเขยไปสู้ก็สู้ไมไ่ด้ จึงต้องยอมให้เจ้าเงาะไปสู้แทน 
เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์และสู้กบัพระอินทร์ จนชนะ 
ท้าวสามลจึงยอมรับพระสังข์กลับเข้าเมืองและจัดพิธีอภิเษกให้ 
พระอินทร์ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล เพื่อบอกเรื่องราวทั้งหมด 
ท้าวยศวิมลจึงออกตามหาพระนางจันเทวีจนพบ และได้เดินทาน ไปเมืองสามลนครเพื่อพบพระสังข์ 
โดยพระนางจันเทวีได้ปลอมเป็นแมค่รัวในวงัและได้แกะสลักเรื่องราวทั้งหมดบนชิ้นฟัก ให้พระสังข์เสวย 
ทา ให้พระสังข์รู้วา่แมค่รัวคือพระมารดานั่นเอง พระสังข์และรจนาจึงได้เสด็จตามท้าวยศวิมลและพระนาง 
จันเทวีกลับไปครองเมืองยศวิมลสืบไป
ประวัติวรรณคดี 
วรรณคดี แปลวา่เรื่องที่แตง่เป็นหนังสือ มีความหมายตรงกนัคา วา่ Literature ในภาษาอังกฤษ 
แตพ่จนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้คา จา กดัความของวรรณคดีวา่ 
หนังสือที่ได้รับยกยอ่งวา่แตง่ดี ปรากฏครั้งแรกในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร เมื่อวนัที่ ๒๓ 
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ในรัชสมยัพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยูหั่ว 
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร กลา่ววา่ 
๑ . เป็นหนังสือดี กลา่วคือ เป็นเรื่องที่สมควรซึ่งสาธารณชนจะอา่นได้โดยไมเ่สียประโยชน์ 
คือไมเ่ป็นเรื่องที่ชักจูงความคิดผู้อา่นไปในทางอันไมเ่ป็นแกน่สาร 
ซึ่งจะชวนให้คิดวุน่วานทางการเมืองอันเกิดเป็นเรื่องราคาญแกรั่ฐบาลของพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยูหั่ว ( 
เพราะคนรู้น้อยอาจจะไขวา้เขวได้ ) 
๒ . เป็นหนังสือแตง่ดี ใช้วิธีเรียบเรียงอยา่งใด ๆ ก็ตามแตต่้องให้เป็นภาษาไทยอันดี 
ถูกต้องตามเยี่ยงที่ใช้ในโบราณกาลหรือปัจจุบันกาลก็ได้ ไมใ่ช้ภาษาตา่งประเทศ ( เชน่ ใช้วา่ ไปจับรถ แทน 
ไปขึ้นรถ และ มาสาย แทน มาช้า ดังนี้เป็นตัวอยา่ง ) 
วรรณคดี คือ ความรู้สึกนึกคิดของกวี ซึ่งถอดออกมาจากจิตใจให้ปรากฎเป็นรูปหนังสือ 
มีถ้อยคา เหมาะเจาะเพราะพริ้ง เร้าใจให้ผู้อา่นหรือผู้ฟังเกิดความรู้สึก 
วรรณคดี คือ หนังสือที่มีลักษณะเรียบเรียงถ้อยคา เกลี้ยงเกลาเพราะพริ้งมีรสปลุกมโนคติ ( imagination 
) ให้เพลิดเพลิน เกิดกระทบกระเทือนอารมณ์ตา่ง ๆ เป็นไปตามอารมณ์ของผู้ประพันธ์บทประพันธ์ที่เป็น 
วรรณคดี คือ บทประพันธ์ที่มุง่ให้ความเพลิดเพลิน ให้เกิดความรู้สึกนึกคิด(imagination) 
และอารมณ์ตา่ง ๆ ตามผู้เขียน นอกจากนี้บทประพันธ์ที่เป็นวรรณคดีจะต้องมีรูปศิลปะ ( form )
เทา่ที่กลา่วมาแล้วพอสรุปได้วา่วรรณคดี คือ เรื่องที่มีลักษณะดังนี้ 
๑ . ใช้ถ้อยคา สานวนโวหารไพเราะสละสลวย 
๒ . กอ่ให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ 
๓ . ยกระดับจิตใจให้สูง 
๔ . ใช้เป็นแบบแผนในการแตง่ได้ 
ร้อยกรอง คือ บทประพันธ์ที่แตง่ให้มีสัมผัสของคา เชื่อมโยงกนั 
โดยมีคณะของคา ตามหลักที่กา หนดไวใ้นฉันทลักษณ์หรือตารากลอนตา่ง ๆ เชน่ มีครุ ลหุ เอก โท เป็นต้น 
รูปแบบของร้อยกรองวรรณคดีที่เป็นร้อยกรอง ( กาพย์กลอนของไทย ) ได้เจริญเรื่อยมา 
และแบง่ตามรูปแบบคา ประพันธ์ที่ใช้แตง่เรื่องนั้น ๆ ได้ดังนี้ 
๑ . คา หลวง เป็นเรื่องที่พระมหากษัตริย์หรือเจ้านายชั้นสูงในพระราชวงศ์ทรงแตง่ หรือ 
ทรงเกยี่วข้องในการแตง่ ไมจ่า กดัรูปแบบคา ประพันธ์ แตต่้องเป็นเรื่องที่ศักด์ิสิทธ์ิ 
เป็นเรื่องที่เกยี่วกบัศีลธรรมจรรยา เทา่ที่ปรากฏชื่อในวรรณคดีมีอยู่๔ เรื่อง คือ มหาชาติคา หลวง 
นันโทปนันทสูตรคา หลวง พระมาลัยคา -หลวง และพระนลคา หลวง 
๒ . คา ฉันท์ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นฉันท์ชนิดตา่ง ๆ มกัมีกาพย์บางชนิดปนอยู่ด้วย เชน่ 
สมุทรโฆษคา ฉั นท์ สามคัคีเภทคา ฉันท์ เป็นต้น 
๓ . คา โคลง ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นโคลงคั้นหรือโคลงสี่สุภาพ เชน่ โคลงนิราศนรินทร์ เป็นต้น 
๔ . คา กลอน วรรณคดีที่แตง่เป็นคา กลอนชนิดตา่ง ๆ ได้แก่กลอนสุภาพ กลอนเสภา กลอนบทละคร 
กลอนหก เชน่ พระอภัยมณี เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน 
๕ . คา กาพย์ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นกาพย์ยานี กาพย์ฉบัง กาพย์สุรางคนางค์ เชน่ 
กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา เป็นต้น 
๖ . กาพย์ห่อโคลง กาพย์เห่เรือ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่ด้วยโคลงและกาพย์ เชน่ 
กาพย์ห่อโคลงประพาศธารทองแดง กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร 
๗ . ร่ายยาว ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นร่ายยาว เช่น ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก เป็นต้น 
๘ . ลิลิต ได้แก่วรรณคดีที่แตง่โดยใช้โคลงและร่ายปนกนั รับสัมผัสคา แบบลิลิต เชน่ ลิลิตพระลอ 
ลิลิตตะเลงพา่ย ลิลิตนิทราชาคริต เป็นต้น
นอกจากแบง่ตามลักษณะคา ประพันธ์แล้ว ยังแบง่ตามเนื้อเรื่อง เชน่ นิราศ เพลงยาว นิทานคา กาพย์ 
นิทานคา กลอน คา สอน เป็นต้น 
บทละคร คือ เรื่องที่แตง่ขึ้นเพื่อการแสดงบนเวทีรูปแบบของบทละคร 
๑ . บทละครรา เป็นบทละครแบบเดิมของไทย ได้แก่บทละครเรื่องอิเหนา รามเกียรต์ิ สังข์ทอง เป็นต้น 
๒ . บทละครแบบตะวนัตก ได้แก่บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ บทละครร้องเรื่องสาวเครือฟ้า 
บทละครคา ฉันท์เรื่องมทันะพาธา เป็นต้น 
การแบง่ประเภทวรรณคดีตามเกณฑ์ตา่ง ๆ วรรณคดีไทยอาจแบง่ตามเกณฑ์ตา่ง ๆ 
ได้ดังนี้แบง่ตามความมุง่หมาย แยกได้ ๒ ประเภท คือ 
๑ . สารคดี คือ หนังสือที่มุง่ให้ความรู้แกผู่้อา่นเป็นสาคัญแตใ่นขณะเดียวกนัก็ใช้กลวิธี 
การเขียนให้เกิดความบันเทิงเป็นผลพลอยได้ไปด้วย เชน่ บทความหรือความเรียง หนังสือสารคดี ตา รา 
บันทึก จดหมายเหตุ รายงาน พงศาวดาร ตา นาน ปาฐกถา คา สอน 
๒ . บันเทิงคดี คือ หนังสือที่มุง่ให้ความสนุกเพลิดเพลินแกผู่้อ่านมากกวา่ความรู้ แตอ่ยา่งไรก็ดี 
บันเทิงคดียอ่มมีเนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญแทรกอยู่ด้วยในรูปของคติชีวิตและเกร็ดความรู้ เชน่ เรื่องสั้น 
นวนิยาย บทละครพูด นิทาน นิยายแบง่ตามลักษณะที่แตง่ แยกได้ ๒ ประเภท คือ 
๑ . ร้อยแกว้ อาจแตง่เป็นสารคดีหรือบันเทิงคดี โดยมีรูปแบบตา่ง ๆ 
๒ . ร้อยกรอง หมายถึง ความเรียงที่ใช้ภาษาพูดตามธรรมดา 
แตมี่รูปแบบโดยเฉพาะและมีความไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย 
ร้อยกรองอาจเรียกวา่คา ประพันธ์ กาพย์กลอน หรือ กวีนิพนธ์ ก็ได้ ร้อยกรองแตเ่ป็นกลอน โคลง 
ร่ายกาพย์และฉันท์ อาจแตง่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี ส่วนมากเป็นบันเทิงคดี โดยอาจแบง่รูปตามชนิดของ 
คา ประพันธ์ หรือลักษณะของเนื้อเรื่องแบง่ตามลักษณะการจดบันทึก แยกได้ ๒ ประเภท คือ 
๑ . วรรณคดีลายลักษณ์อักษร ได้แก่วรรณคดีที่บันทึกไวเ้ป็นหนังสืออาจเป็นตัวจารึก ตัวเขียน 
หรือตัวพิมพ์ก็ได้ 
๒ . วรรณคดีที่ไมไ่ด้บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่วรรณคดีที่บอกเลา่จดจา สืบต่อกนัมา 
เรียกอีกอยา่งหนึ่งวา่ วรรณคดีมุขปาฐะ เชน่เพลงพื้นเมือง บทเห่กลอ่ม นิทานพื้นบ้าน ปริศนาคา ทาย 
การแบง่ประเภทวรรณคดีดังกล่าวอาจคาบเกี่ยวกนัได้ 
สารคดีโดยทั่วไปมกัแตง่เป็นร้อยแก้วแต่อาจแตง่เป็นร้อยกรองก็ได้บันเทิงคดี
อาจแตง่เป็นร้อยกรองหรือร้อยแกว้ก็ได้วรรณคดีไทยแบง่สมยัการแตง่ได้ดังนี้ 
๑ . วรรณคดีสมยัสุโขทัย ( พ.ศ. ๑๘๐๐ - ๑๙๒๐ ) 
๒ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนต้น ( พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๐๗๒ ) 
๓ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนกลาง ( ยุคทองของวรรณคดี พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๒๓๑๔) 
๔ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ. ๒๒๙๕ - ๒๓๑๐๕ ) 
๕ . วรรณคดีสมยัธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕๖ ) 
๖ . วรรณคดีสมยัรัตนโกสินทร์ ( พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน ) 
เนื่องจากการแตง่วรรณคดี มกัจะมีส่วนสัมพันธ์กนั ประวตัิศาสตร์และสภาพสังคมในยุคสมยันั้น ๆ 
เพราะฉะนั้นการอา่นวรรณคดีให้ได้คุณคา่อยา่งแท้จริง จา เป็นจะต้องเรียนประวตัิวรรณคดีประกอบด้วย 
ซึ่งต้องพิจารณาถึงประเด็นสาคัญของวรรณคดี ในด้านตา่ง ๆ ดังนี้ 
๑ . ผู้แตง่ รวมถึงชีวประวตัิและผลงานสาคัญ 
๒ . ที่มาของเรื่อง ได้แก่เรื่องที่เป็นต้นเค้า อาจจะได้รับอิทธิพลภายในประเทศ 
หรือที่ได้รับอิทธิพลจากตา่งประเทศ 
๓ . ความมุง่หมายที่แตง่ ได้แก่ความบันดาลใจหรือความมุง่หมายของผู้แตง่ในการแตง่วรรณคดีนั้น ๆ 
๔ . วิวฒันาการและความสัมพันธ์ตอ่เนื่องระหวา่งวรรณคดีแตล่ะสมัย 
๕ . สภาพสังคมในสมยัที่แตง่ ซึ่งได้แก่วฒันธรรม สภาพสังคม 
และเหตุการณ์ของบ้านเมืองในระยะเวลาที่แตง่ 
๖ . อิทธิพลที่วรรณคดีมีตอ่สังคมทั้งในสมยัที่แตง่และในสมยัตอ่มา 
ดร. สิทธา พินิจภูวดล กลา่วไวใ้นหนังสือความรู้ทั่วไปทางวรรณกรรมไทย 
ถึงเรื่องการศึกษาวรรณคดีในแนวประวตัิ มีดังนี้ 
๑ . เพื่อให้ทราบต้นกา เนิดของวรรณคดีวา่ วรรณคดีแตล่ะเลม่เกิดขึ้นได้อยา่งไร เกิดในสมยัใด 
และวรรณคดีอื่น ๆ ในสมยันั้นมีลักษณะที่เกิดขึ้นมาอยา่งเดียวกนัหรือไม่ 
๒ .เพื่อให้ทราบวิวฒันาการของสติปัญญาของชาติ พลังปัญญาของบุคคลในชาติ 
จะแสดงออกมาในรูปของศิลปกรรมประเภทตา่ง ๆ ซึ่งรวมทั้งวรรณกรรมด้วย 
คนจะแสดงพลังปัญญาในการนาเรื่องราวทางการเมือง การทหาร การรบพุง่ปราบปรามศัตรู และอื่น ๆ 
มาเรียบเรียงร้อยกรองเป็นบทเพลงหรือบทประพันธ์ แทนการเลา่เรื่องอยา่งธรรมดา ๆ 
คนที่มีความสามารถจะหาทางออกในแนวแปลกงดงามและมีผลดี วรรณคดีที่มีแนวตา่ง ๆ
กนัเป็นผลของการแสดงพลังปัญญาของบุคคลในชาติ 
๓ . เพื่อให้รู้จักเหตุการณ์ที่มีอิทธิพลต่อวรรณคดี วรรณคดีเป็นผลงานกวี 
กวีในแตล่ะยุคแตล่ะสมยัยอ่มมีชีวิตความเป็นอยู่ตา่งกนั มีแนวคิดตา่งกนั 
มีเหตุการณ์ในยุคสมยัของตนแตกตา่งกนัไปด้วย เชน่ 
คนไทยในยุคสุโขทัยระยะหลังได้รับความร่วมเย็นเป็นสุขอยา่งเต็มที่ เอาใจใส่ในศาสนาและวรรณกรรม 
ศิลาจารึกในยุคนั้นจึงมีเรื่องราวเกี่ยวกบัศาสนามาก เหตุการณ์ตา่ง ๆ ในบ้านเมืองหรือ 
ในสังคมยอ่มสัมพันธ์กบัเรื่องราวในวรรณคดี การศึกษาประวตัิวรรณคดี จะทา ให้เข้าใจ ตัววรรณคดี 
ชัดเจนยิ่งขึ้น และเข้าใจกวีวา่เหตุใดจึงแตง่วรรณคดีชนิดนั้น เชน่ เหตุใดวรรณกรรมไทยในยุคปลายสุโขทัย 
จึงเป็นแตป่ระเภท วรรณกรรมศาสนาเทา่นั้น เป็นต้น 
๔ . เพื่อให้รู้จักผู้แตง่วรรณคดี วา่กวีคือใคร มีความรู้สึกนึกคิดอยา่งไร 
อะไรเป็นเหตุทา ให้เขาแตง่เรื่องเชน่นั้น เชน่ 
เราต้องการทราบประวตัิชีวิตของสุนทรภู่ พยายามสืบค้นวา่สุนทรภู่มีบิดามารดา ชื่ออะไร อาชีพอะไร 
เกิดที่เมืองไหน ครอบครัวของสุนทรภูมี่ใครบ้าง อะไรทา ให้สุนทรภูเ่ขียนลงไปวา่ อนิจจาตัวเราก็เทา่นี้ 
ไมมี่ที่พสุธาจะอาศัย…… สิ่งเหลา่นี้ล้วนแตท่า ให้ผู้ศึกษาวรรณคดีรู้จักวรรณคดีลึกซึ้งขึ้นทั้งสิ้น 
ในบางยุคสมยัผู้แตง่วรรณคดีจะเป็นคนในราชสานักเป็นส่วนมาก 
ดังที่ปรากฏอยูใ่นยุคสุโขทัยเรื่อยลงมาจนถึงอยุธยา และตอ่มาจนถึงยุคต้นรัตนโกสินทร์ 
ประวตัิวรรณคดีจะทา ให้เราเข้าใจแนวสร้างวรรณคดีไทย
ประวัติผู้แต่ง 
สังข์ทอง ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะของละครนอก 
มีตัวละครที่เป็นรู้จักกนัเป็นอยา่งดี คือ เจ้าเงาะซึ่งคือพระสังข์ กบันางรจนา 
เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนาเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม ได้แก่บทพระสังข์ได้นางรจนา 
เพื่อนามาประยุกต์เป็นการแสดงชุด รจนาเสี่ยงพวงมาลัย สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวณัสังข์
คุณค่าจากเรื่อง สังข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ 
คุณค่าด้าววรรณศิลป์ 
บทละครนอก มิใชบ่ทสาหรับแสดงละครเพียงอยา่งเดียว แตใ่ช้เป็นวรรณคดีสาหรับอา่นด้วย 
โดยมีความสาคัญควบคู่กนัไป เพราะในการอา่นบทละครนั้น ผู้อา่นจะอา่นเนื้อเรื่องโดยตลอด 
ส่วนในการแสดงก็คงจะนิยมนามาแสดงเป็นตอนๆ ไมไ่ด้แสดงที่เดียว จบทั้งเรื่อง เชน่ 
เรื่องสังข์ทองก็นิยมแสดงตอนนางมณฑาลงกระทอ่มมากกวา่ตอนอื่นๆ เป็นต้น 
ผู้ดูละครต้องการความบันเทิงและการผ่อนคลายอารมณ์จากความตึงเครียด 
ต้องการประสบการณ์ใหมๆ่ ที่ได้จากการดูละคร ซึ่งก็เป็นความจริงของชีวิตที่แฝงอยูใ่นบทละครนั้น 
ละครจึงมีส่วนชว่ยและมีบทบาทในการดา เนินชีวิตของมนุษย์อยู่มาก 
โดยเฉพาะอยา่งยิ่งในสมยักอ่นที่คนไทยส่วนใหญอ่า่นหนังสือไมอ่อก และมีมหรสพให้ชมอยูไ่มกี่่ชนิด
คุณค่าด้านสังคม 
๑. คา่นิยมในสังคม วฒันธรรม และแนวทางการดา เนินชีวิต 
โดยต้องการปลูกฝังทัศนคติลงไปในจิตใจของคนไทย เชน่ 
ทัศนคติเกยี่วกบัความซื่อสัตย์จงรักภักดีของผู้หญิงที่มีตอ่สามี ตัวอยา่งที่เห็นได้ชัดคือ 
บทบาทของนางจันท์เทวีและนางรจนา เชน่ นางรจนาคร่า ครวญตอนท้าวสามนต์ให้หาปลาถวาย 
๒. การรักพวกพ้อง รักชาติบ้านเมือง ตัวอยา่งที่เห็นได้อยา่งชัดเจนคือ พฤติการณ์ของหกเขย 
และการตีคลีพนันกบัพระอินทร์ เชน่ ตอนนางมณฑาขอร้องให้เจ้าเงาะชว่ย 
๓. การทา ความดี มีตัวอยา่งปรากฏตลอดทั้งเรื่อง เชน่ การที่ท้าวภุชงค์และนางพันธุรัตรับเลี้ยงดูพระสังข์ 
ตายายชว่ยเหลือนางจันท์เทวีนายประตูเมืองสามนต์ช่วยเหลือท้าวยศวิมล เป็นต้น 
ข้อคิดจากเรื่องสังข์ทอง ตอนกาเนิดพระสังข์ 
๑. การแสดงความรักของแมที่่มีตอ่ลูก ไมว่า่ลูกจะเป็นอยา่งไร แมก่็ยังรักลูกเสมอ 
๒. ความกตัญญูของพระสังข์ ที่คอยชว่ยเหลืองานบ้านเพื่อแบง่เบาภาระของแม่ 
๓. ความพยายามของนางจันเทวี ที่ไมย่อมแพ้ตอ่อุปสรรคแมจ้ะต้องลา บาก
รูปแบบคาประพันธ์ 
๑. เป็นกลอนบทละคร บทหนึ่งมี ๔ วรรค วรรคละ ๖ คา หนึ่งบทมี ๒ บาท เรียกวา่บาทเอก และบาทโท ๑ 
บาท เทา่กบั ๑ คา กลอน มีลักษณะการสัมผัสดังนี้
สัมผัสระหวา่งวรรคไมบั่งคับตายตัว ให้สังเกตจากแผนผัง วรรคที่ ๑ 
อาจจะสัมผัสกบัตา แหน่งใดตา แหน่งหนึ่งตามเส้นสัมผัสในวรรคที่ ๒ 
๒. คา ขึ้นต้นบท กลอนบทละครมีคา ขึ้นต้นหลายแบบ และคา ขึ้นต้นนั้นไมจ่า เป็นต้องมีจา นวน 
เทา่กบัวรรคสดับ อาจจะมีเพียง ๒ คา ก็ได้ คา ขึ้นต้นมีดังนี้ 
๒.๑ มาจะกลา่วบทไป มกัใช้เมื่อขึ้นต้นเรื่อง หรือกลา่วถึงเรื่องแทรกเข้ามา 
๒.๒ เมื่อนั้น ใช้สาหรับผู้มียศสูง หรือผู้เป็นใหญใ่นที่นั้นตามเนื้อเรื่อง เชน่กษัตริย์ ราชวงศ์ 
๒.๓ บัดนั้น ใช้ขึ้นต้นสาหรับผู้น้อยลงมา เชน่ เสนา ไพร่พล 
เนื้อเรื่องย่อ 
ณ เมืองยศวิมลนคร อันมีท้าวยศวิมลเป็นเจ้าเมือง พระมเหสีจันเทวีได้คลอดลูกออกมาเป็นหอยสังข์ 
จึงถูกพระนางจันทา มเหสีรอง ใส่ร้ายวา่เป็นกาลีบ้านเมือง
จนถูกขับออกจากเมืองไปอยู่กระท่อมตายายที่ชายป่า จนกระทั่งพระสังข์ที่ซอ่นอยูใ่นหอย ได้ออกมาพบแม่ 
สร้างความยินดีกบัพระนางจันเทวี ขา่วลว่งรู้ไปถึงนางจันทา จึงได้ส่งคนมาจับพระสังข์ไปถว่งน้า 
แตท่้าวภุชงค์พญานาคราชชว่ยเอาไว้และส่งให้ไปอยูก่บั นางพันธุรัต 
พระสังข์รู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์จึงขโมยรูปเงาะ ไมเ้ท้า เกือกแกว้ เหาะหนีมาอยูบ่นเขา 
นางพันธุรัตตามมาทันแต่ไมส่ามารถขึ้นไปหาพระสังข์ได้ จึงได้มอบมนต์มหาจินดา 
เรียกเนื้อเรียกปลาให้แกพ่ระสังข์กอ่นที่จะอกแตกสิ้นใจตายที่เชิงเขา นั่นเอง 
พระสังข์เหาะมาจนถึงเมืองสามล ท้าวสามลและนางมณฑากา ลังจัดพิธีเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด 
แตร่จนาพระธิดาองค์สุดท้อง ไมย่อมเลือกใครเป็นคู่ท้าวสามลจึงให้คนไปตามเจ้าเงาะมาให้เลือก 
รจนาเห็นรูปทองที่ซอ่นอยูใ่นรูปเงาะจึงเสี่ยงมาลัยไปให้ 
สร้างความพิโรธให้ท้าวสามลจึงถึงกบัขับไลร่จนาให้ไปอยู่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ 
ท้าวสามลหาทางแกล้งเจ้าเงาะ โดยการให้ไปหาเนื้อหาปลาแขง่กบัเขยทั้งหก 
เจ้าเงาะให้มนต์ที่นางพันธุรัตให้ไวเ้รียกเนื้อ เรียกปลามารวมกนัทา ให้หกเขยหาปลาไมไ่ด้ 
จึงต้องยอมตัดปลายหูและปลายจมูกแลกกับเนื้อและปลา 
ท้าวสามลพิโรธมากจนถึงกับคิดหาทางประหารเจ้าเงาะ 
ร้อนถึงพระอินทร์ต้องหาทางชว่ยโดยการลงมาท้าตีคลีชิงเมือง กบัท้าวสามล 
ท้าวสามลส่งหกเขยไปสู้ก็สู้ไมไ่ด้ จึงต้องยอมให้เจ้าเงาะไปสู้แทน 
เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์และสู้กบัพระอินทร์ จนชนะ 
ท้าวสามลจึงยอมรับพระสังข์กลับเข้าเมืองและจัดพิธีอภิเษกให้ พระอินทร์ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล 
เพื่อบอกเรื่องราวทั้งหมด ท้าวยศวิมลจึงออกตามหาพระนางจันเทวีจนพบ และได้เดินทาน 
ไปเมืองสามลนครเพื่อพบพระสังข์ 
โดยพระนางจันเทวีได้ปลอมเป็นแมค่รัวในวงัและได้แกะสลักเรื่องราวทั้งหมดบนชิ้นฟัก ให้พระสังข์เสวย 
ทา ให้พระสังข์รู้วา่แมค่รัวคือพระมารดานั่นเอง พระสังข์และรจนาจึงได้เสด็จตามท้าวยศวิมลและพระนาง 
จันเทวีกลับไปครองเมืองยศวิมลสืบไป
เนื้อเรื่อง 
ท้าวยศวิมลมีมเหสีชื่อนางจันท์เทวี มีสนมเอกชื่อนางจันทาเทวี ไมมี่โอรสธิดา 
จึงบวงสรวงและรักษาศีลห้าเพื่อขอบุตร 
และประกาศแกพ่ระมเหสีและนางสนมวา่ถ้าใครมีโอรสก็จะมอบเมืองให้ครองอยู่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์ 
เทวบุตรจุติมา เป็นพระโอรสของนาง แตป่ระสูติมาเป็นหอยสังข์ 
นางจันทาเทวีเกิดความริษยาจึงติดสินบนโหรหลวงให้ทา นายวา่หอยสังข์จะทา ให้บ้านเมืองเกิดความหายนะ 
ท้าวยศวิมลหลงเชื่อนางจันทาเทวี 
จึงจา ใจต้องเนรเทศนางจันท์เทวีและหอยสังข์ไปจากเมืองนางจันท์เทวีพาหอยสังข์ไปอาศัยตายายชา่วไร่ 
ชว่ยงานตายายเป็นเวลา 5 ปี พระโอรสในหอยสังข์แอบออกมาชว่ยทา งาน เชน่ หุงหาอาหาร 
ไลไ่กไ่มใ่ห้จิกข้าว เมอื่นางจันท์เทวีทราบก็ทุบหอยสังข์เสียในเวลาตอ่มา 
พระนางจันทาเทวีได้ไปวา่จ้างแมเ่ฒา่สุเมธาให้ชว่ยทา เสน่ห์เพื่อที่ท้าวยศวิมลจะได้หลงอยูใ่นมนต์สะกด 
และได้ยุยงให้ท้าวยศวิมลไปจับตัวพระสังข์มาประหาร ท้าวยศวิมลจึงมีบัญชาให้จับตัวพระสังข์มาถ่วงน้า 
แตท่้าวภุชงค์(พญานาค) ราชาแห่งเมืองบาดาลก็มาชว่ยไว้และนาไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม 
กอ่นจะส่งให้นางพันธุรัตเลี้ยงดูตอ่ไปจนพระสังข์มีอายุได้ 15 ปีบริบูรณ์วนัหนึ่ง นางพันธุรัตได้ไปหาอาหาร 
พระสังข์ได้แอบไปเที่ยวเลน่ที่หลังวงั และได้พบกบับอ่เงิน บอ่ทอง รูปเงาะ เกือกทอง(รองเท้าทองนั้นเอง) 
ไมพ้ลอง และพระสังข์ก็รู้ความจริงวา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์ เมอื่พระสังข์พบเข้ากบัโครงกระดูก 
จึงได้เตรียมแผนการหนีด้วยการสวมกระโดดลงไปชุบตัวในบอ่ทอง สวมรูปเงาะ กบัเกือกทอง 
และขโมยไมพ้ลองเหาะหนีไปเมอื่นางพันธุรัตทราบวา่พระสังข์หนีไป 
ก็ออกตามหาจนพบพระสังข์อยู่บนเขาลูกหนึ่ง จึงขอร้องให้พระสังข์ลงมา แตพ่ระสังข์ก็ไมย่อม 
นางพันธุรัตจึงเขียนมหาจินดามนตร์ที่ใช้เรียกเนื้อเรียกปลาได้ไว้ที่ก้อนหิน กอ่นที่นางจะอกแตกตาย 
ซึ่งพระสังข์ได้ลงมาทอ่งมหาจินดามนตร์จนจา ได้ และได้สวมรูปเงาะออกเดินทางต่อไป 
พระสังข์เดินทางมาถึงเมืองสามล ซึ่งมีท้าวสามลและพระนางมณฑาปกครองเมือง 
ซึ่งท้าวสามลและพระนางมณฑามีธิดาล้วนถึง 7 พระองค์ โดยเฉพาะ พระธิดาองค์สุดท้องที่ชื่อ รจนา 
มีสิริโฉมเลิศล้า กวา่ธิดาทุกองค์ จนวนัหนึ่ง ท้าวสามลได้จัดให้มีพิธีเสี่ยงมาลัยเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด ซึ่งธิดาทั้ง 
6 ตา่งเสี่ยงมาลัยได้คูค่รองทั้งสิ้น เวน้แตน่างรจนาที่มิได้เลือกเจ้าชายองค์ใดเป็นคูค่รอง
ท้าวสามลจึงได้ให้ทหารไปนาตัวพระสังข์ในร่างเจ้าเงาะซึ่งเป็นชายเพียงคนเดียวที่เหลือในเมืองสามล 
ซึ่งนางรจนาเห็นรูปทองภายในของเจ้าเงาะ จึงได้เสี่ยงพวงมาลัยให้เจ้าเงาะ ทา ให้ท้าวสามลโกรธมาก 
เนรเทศนางรจนาไปอยูที่่กระทอ่มปลายนากับเจ้าเงาะ 
ท้าวสามลคิดจะกา จัดเจ้าเงาะทุกวิถีทาง จึงได้ให้เขยทั้งหมดไปจับปลามาให้ได้คนละร้อยตัว 
พระสังข์จึงได้ถอดรูปเงาะออก และทอ่งมหาจินดามนตร์จนได้ปลามานับร้อย 
ส่วนหกเขยจับปลาไมไ่ด้เลยสักตัว จึงเข้ามาขอพระสังข์เพราะคิดวา่เป็นเทวดา พระสังข์ก็ยินดีให้ 
แตต่้องแลกกบัปลายจมูกของหกเขยด้วย 
ตอ่มา ท้าวสามลได้ให้เขยทั้งหมดไปหาเนื้อมาให้ได้คนละร้อยตัว 
พระสังข์ก็ใช้มหาจินดามนตร์จนได้เนื้อมานับร้อย ส่วนหกเขยก็หาไมไ่ด้อีกตามเคย 
และได้เข้ามาขอพระสังข์ พระสังข์ก็ยินดีให้ แตต่้องแลกกบัปลายหูของหกเขยด้วย ณ 
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระอินทร์ อาสน์ที่ประทับของพระอินทร์เกิดแข็งกระด้าง 
อันเป็นสัญญาณวา่มีผู้มีบุญกา ลังเดือดร้อน จึงส่องทิพย์เนตรลงไปพบเหตุการณ์ในเมืองสามล 
จึงได้แปลงกายเป็นกษัตริย์เมืองยกทัพไปล้อมเมืองสามล ท้าให้ท้าวสามลออกมาแขง่ตีคลีกับพระองค์ 
หากท้าวสามลแพ้ พระองค์จะยึดเมืองสามลเสีย ท้าวสามลส่งหกเขยไปแขง่ตีคลีกับพระอินทร์ 
แตก่็แพ้ไมเ่ป็นทา่ จึงจา ต้องเรียกเจ้าเงาะให้มาชว่ยตีคลี 
ซึ่งนางรจนาได้ขอร้องให้สามีชว่ยถอดรูปเงาะมาชว่ยตีคลี เจ้าเงาะถูกขอร้องจนใจออ่น 
และยอมถอดรูปเงาะมาชว่ยเมืองสามลตีคลีจนชนะในที่สุด หลังจากเสร็จภารกิจที่เมืองสามลแล้ว 
พระอินทร์ได้ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล และเปิดโปงความชั่วของพระนางจันทาเทวี 
พร้อมกบัสั่งให้ท้าวยศวิมลไปรับพระนางจันท์เทวีกบัพระสังข์มาอยู่ด้วยกนัดังเดิม 
ท้าวยศวิมลจึงยกขบวนเสด็จไปรับพระนางจันท์เทวีกลับมา 
และพากนัเดินทางไปยังเมืองสามลเมอื่ตามหาพระสังข์ 
ท้าวยศวิมลและพระนางจันท์เทวีปลอมตัวเป็นสามญัชนเข้าไปอยูใ่นวงั 
โดยท้าวยศวิมลเข้าไปสมัครเป็นชา่งสานกระบุง ตะกร้า ส่วนพระนางจันท์เทวีเข้าไปสมคัรเป็นแมค่รัว 
และในวนัหนึ่ง พระนางจันท์เทวีก็ปรุงแกงฟักถวายพระสังข์ 
โดยพระนางจันท์เทวีได้แกะสลักชิ้นฟักเจ็ดชิ้นเป็นเรื่องราวของพระสังข์ตั้งแตเ่ยาว์วยั 
ทา ให้พระสังข์รู้วา่พระมารดาตามมาแล้ว
จึงมาที่ห้องครัวและได้พบกับพระมารดาที่พลัดพรากจากกนัไปนานอีกครั้ง หลังจากนั้น ท้าวยศวิมล 
พระนางจันท์เทวี พระสังข์กบันางรจนาได้เดินทางกลับเมืองยศวิมล 
ท้าวยศวิมลได้สั่งประหารพระนางจันทาเทวี และสละราชสมบัติให้พระสังข์ได้ครองราชย์สืบต่อมา 
บรรณานุกรม 
สังข์ทอง:หนังสือมลัติมีเดียออนไลน์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงวฒันธรรม, 
พ.ศ. 2537สังข์ทอง:หนังสือมลัติมีเดียออนไลน์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงวฒันธรรม, พ.ศ. 2537 http://chainarong2533.blogspot.com/2013/10/blog-post_7422.html
คานา 
รายงานเรื่อง “วรรณคดีไทย เรื่อง สังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์” ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย 
เพิ่มเติม รหัสวิชา ท๓๓๒๐๓ ชั้นมธัยมศึกษาปีที่ ๖ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้เกยี่วกับวรรณคดีไทย 
เรื่องสังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์ ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกยี่วกบัประวตัิวรรณคดี ประวตัิผู้แตง่ 
ที่มาของเรื่อง คุณคา่ของวรรณคดี ที่สะท้อนความคิด ความเชื่อ 
และคา่นิยมของคนไทยและข้อคิดที่ได้จากการศึกษาค้นควา้วรรณคดีไทยเรื่องนี้ 
การศึกษาค้นควา้เรื่อง “วรรณคดีไทย เรื่อง สังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์” เลม่นี้ 
ข้าพเจ้าได้วางแผนการดา เนินงานการศึกษาค้นควา้เป็นระยะเวลา ๒ เดือน ศึกษาจากแหลง่ความรู้ต่าง ๆ 
อาทิ ตา รา หนังสือ นิทาน และแหลง่ความรู้จากเว็บไซต์ในห้องสมุดโรงเรียนนาหมนื่พิทยาคม 
การจัดทา รายงานฉบับนี้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณครู แพรวไพลิน ศศิทัตต์ 
ที่ทา่นได้ให้คา แนะนาการเขียนรายงานจนทา ให้รายงานฉบับนี้สมบูรณ์ในด้านแผนปฏิบัติศึกษาการทา รายง 
าน การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนบรรณานุกรมได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี 
ขอขอบพระคุณห้องสมุดโรงเรียนนาหมนื่พิทยาคมเป็นอยา่งสูงที่ให้โอกาสแกข่้าพเจ้าเข้าไปศึกษาค้นควา้เรื่ 
องนี้ ข้าพเจ้าหวงัวา่ เนื้อหาในรายงานฉบับนี้ที่ได้เรียบเรียงมาจะเป็นประโยชน์ตอ่ผู้สนใจเป็นอยา่งดี 
หากมีสิ่งใดในรายงานฉบับนี้จะต้องปรับปรุง 
ข้าพเจ้าขอน้อมรับในข้อชี้แนะและจะนาไปแกไ้ขหรือพัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ตอ่ไป
ราเชนทร์ ท้าววงั 
สารบัญ 
หน้า 
คา นา ๑. 
ประวตัิวรรณคดี ๒-๕ 
รูปแบบคา ประพันธ์ ๖. 
เนื้อเรื่อง ๗-๘ 
เนื้อเรื่องยอ่ ๙. 
ข้อคิด ๑๐. 
ประวตัิผู้แตง่ ๑๑. 
ที่มาของเรื่อง ๑๒-๑๓ 
คุณคา่ ๑๔. 
บรรณานุกรม ๑๕.
เรื่องยอ่ 
กาลปางกอ่น มีพระเจ้าพรหมทัต(ท้าวยศวิมล) ครองเมืองพรหมนคร(เมืองยศวิมล) 
พระเจ้าพรหมทัตมีมเหสีสององค์ มเหสีฝ่ายขวาชื่อพระนางจันทราเทวี (นางจันเทวี) 
มเหสีฝ่ายซ้ายชื่อพระนางสุวรรณจัมปากะ (นางจันทา) พระเจ้าพรหมทัตโปรดมเหสีฝ่ายซ้ายมาก 
ตอ่มามเหสีทั้งสองทรงครรภ์ โหรทา นายวา่บุตร ของมเหสีฝ่ายขวาเป็นชาย ส่วนมเหสีฝ่ายซ้ายเป็นหญิง 
พระนางสุวรรณจัมปากะรู้สึกเสียใจที่จะได้ธิดาแทนจะเป็นโอรส และเกรงวา่พระนางจันทราเทวีจะได้ดีกวา่ 
จึงใส่ร้ายพระนางจันทราเทวีจนพระเจ้าพรหมทัตหลงเชื่อ ขับไลพ่ระนางจันทราเทเวีออกจากพระราชวงั 
พระนางจันทราเทวเดินทางด้วยความยากลา บาก เมอื่ถึงชายป่านอกเมือง 
ยายตาสองคนสงสารจึกชวนให้พักอยูด่้วย 
โอรสในครรภ์ของพระนางจันทราเทวีเห็นความยากลา บากของพระมารดาจึงแปลงกายเป็นหอยสังข์เพื่อไมใ่ 
ห้พระมารดาต้องลา บากเลี้ยงดู เมอื่ครบกา หนดคลอด พระนางจันทราเทวีก็คลอดโอรสออกมาเป็นหอยสังข์ 
ซึ่งพระนางก็รักใคร่ เลี้ยงดูเหมือนลูกมนุษย์ 
วนัหนึ่งพระนางจันทราเทวีออกจากบ้านไปช่วยตายายเก็บผักหักฟืน 
ลูกน้อยในหอยสังข์ก็ออกจากรูปหอยสังข์ชว่ยปัดกวาดบ้านเรือน และหุงหาอาหารไว้ 
พอเสร็จก็กลับเข้าไปในรูปหอยสังข์ตามเดิม พระนางจันทราเทวีเมอื่กลับมาก็แปลกใจวา่ใครมาช่วยทา งาน 
และเมื่อนางจันทราเทวีออกจากบ้านไป ลูกน้อยในหอยสังข์ก็จะออกมาทา งานบ้านให้เรียบร้อยทุกครั้ง
พระนางจันทราเทวีอยากรู้วา่เป็นใคร วนัหนึ่งจึงทา ทีออกจากบ้านไปป่าเชน่เคย แตแ่ล้วก็ย้อยกลับมาที่บ้าน 
โอรสในหอยสังข์ก็ออกมาทางานบ้าน พระนางจันทราเทวีเห็นโอรสเป็นมนุษย์ก็ดีใจ 
จึงทุบหอยสังข์เสียและกอดโอรสด้วย ความยินดี และตั้งชื่อให้วา่ ” สังข์ทอง “ 
เมอื่พระเจ้าพรหมทัตรู้ขา่ววา่พระนางจันทราเทวีประสูติพระโอรสก็ยินดีจะรับพระนางจันทราเทวีกลับ 
พระนางสุวรรณจัมปากะเทวีริษยาจึงได้เท็จทูลวา่พระโอรสเดิมเป็นหอยสังข์ 
พระเจ้าพรหมทัตก็หลงเชื่อเกรงจะเป็นกาลกิณีต่อบ้านเมือง 
จึงให้อา มาตย์จับพระนางจันทราเทวีและลูกน้อยสังข์ทองใส่แพลอยไป 
เมอื่แพลอนออกทะเลเกิดพายุใหญแ่พแตก พระนาจันทราเทวีถูกคลื่นซัดลอยไปติดที่ชายหาดเมืองมทัราษฎร์ 
พระนางก็เดินทาซัดเซพเนจรไปอาศัยบ้านเศรษฐีเมืองมัทราษฎร์ชื่อ ธนัญชัยเศรษฐี และทา หน้าที่เป็นแมค่รัว 
ฝ่ายพระสังข์ทองนั้นจมน้าลงไปยังนาคพิภพ พระยานาคมีจิตสงสารจึงเนรมิตเรือทอง 
แล้วอุ้มพระสังข์ทองใส่ไวใ้นเรือ เรือทองลอยไปถึงเมืองยักษ์ซึ่งนางยักษ์พันธุรัตปกครองอยู่ 
นางยักษ์เห็นพระสังข์ทองในเรือทองเกิดความรักใคร่เอ็นดู จึงนาพระสังข์ทองมาเลี้ยงดูในปราสาท 
และให้พี่เลี้ยงนางนมแปลงร่างเป็นคนเพื่อมิให้พระสังข์ทองหวาดกลัว 
พระสังข์ทองก็เติบโตอยูก่บันางยักษ์พันธุรัต 
นางยักษ์พันธุรัตปกติจะต้องออกไปหาสัตว์ป่ากินเป็นอาหาร 
เมื่อนางออกไปป่าก็จะไปครั้งละสามวนัหรือเจ็ดวนั 
ทุกครั้งที่ไปก็จะสั่งพระสังข์ทองวา่อย่าขึ้นไปเลน่บนปราสาทชั้นบน และในสวน พระสังข์ทองก็เชื่อฟัง 
แตเ่มื่อโตขึ้นก็เกิดความสงสัยอยากรู้ วนัหนึ่งเมื่อนางยักษ์พันธุรัตไปป่า 
พระสังข์ทองก็แอบไปในสวนส่วนที่ห้ามไว้ 
เห็นกระดูกสัตว์และคนเป็นจา นวนมากที่นางยักษ์กินเนื้อแล้วทิ้งกระดูกไวเ้ป็นจา นวนมาก 
พระสังข์ทองเห็นเชน่นั้นก็ตกใจ นึกรู้วา่มารดาเลี้ยงเป็นยักษ์ก็รู้สึกหวาดกลัว 
และเมื่อเดิตอ่ไปเห็นบอ่เงินบอ่ทองสวยงามพอพระสังทองเอานิ้วก้อยจุ่มลงไปนิ้วก็กลายเป็นสีทอง
พระสังข์ทองจึงลงไปอาบทั้งตัว ร่างกายก็กลายเป็นสีทองงดงาม 
แล้วพระสังข์ทองก็ขึ้นไปบนปราสาทชั้นบน เห็นเกราะรูปเงาะป่า เกือกทองและพระขรรค์ 
พระสังข์ทองเอาเกราะเงาะป่ามาสวมก็กลายร่างเป็นเงาะป่าพอใส่เกือกทองก็รู้สึกวา่ลอยได้ 
พระสังข์ทองจึงหยิบพระขรรค์แล้วเหาะหนีออกจากเมืองยักษ์ และข้ามแมน่้าไปยังเมืองตักศิลา 
ตกเย็นจึงพักอยูที่่ศาลาริมน้า ฝ่ายนางยักษ์กลับมาไมเ่ห็นลูก 
และขึ้นไปที่ปราสาทชั้นบนเห็นเกราะรูปเงาะป่า เกือกทองและพระขรรค์หายไป 
ก็รู้ทันทีวา่พระสังข์ทองรู้วา่ตนเป็นยักษ์แล้วหลบหนีไป นางจึงเหาะตามไป 
เมื่อถึงฝั่งน้าเห็นพระสังข์ทองพักอยู่นางไมส่ามารถเหาะข้ามไปได้ 
จึงร้องไห้อ้อนวอนให้พระสังข์ทองกลับไป พระสังข์ทองยังหวาดกลัวจึงไมย่อมกลับ 
นางพันธุรัตเสียใจจนหัวใจแตกสลาย 
แตก่อ่นตายนางก็สอนมนต์หาเนื้อหาปลาให้พระสังข์ทองแล้วนางก็สิ้นใจตาย พระสังข์ทองรู้สึกเสียใจมาก 
หลังจากได้จัดเผาศพนางยักษ์แล้ว พระสังข์ทองก็เหาะเดินทางไปเมืองพาราณสี 
และได้ไปอาศัชาวบ้านชว่ยเลี้ยงโค พระสังข์ทองตอนนี้รูปร่างเป็นเงาะป่า 
พวกเด็กเลี้ยงโคก็มาเลน่สนิทสนมกับพระสังข์ทอง 
พระสังข์ ตอนหนีนางพันธุรัต 
บทนา 
บทละครเรื่องสังข์ทอง เดิมเป็นนิทานและนามาแตง่เป็นบทละคร 
เพื่อใช้เลน่ละครนอกตั้งแตค่รั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีตอ่มาในรัชสมยัพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหน้า 
นภาลัย (รัชกาลที่ 2) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องสังข์ทองขึ้นใหม่ 
เพื่อใช้เลน่ละครนอกของหลว 
พระราชประวตัิผู้แตง่ 
บทละครเรื่องสังข์ทองตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัตเป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ 
หล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ซึ่งเป็นราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1)
และสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี มีพระนามเดิมวา่ “ฉิม” ทรงพระราชสมภพเมอื่วนัที่ 22 กุมภาพันธ์ 
พ.ศ. 2310 ณ ตา บลอัมพวา จังหวดัสมุทรสาคร 
เมอื่ทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาเลา่เรียนกับสมเด็จพระวนัรัต (ทองอยู)่ แห่งวดัระฆังโฆสิตาราม 
เมอื่พระชนม์ได้ 16 พรรษา ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ 
เจ้าฟ้าอิสรสุนทร พระชมมายุ 19 พรรษา พระองค์ทรงผนวชและจา พรรษาอยูที่่วดัสมอราย (วดัราชาธิวาส) 
และเมอื่พระชมมายุได้ 41 พรรษา ได้อุปราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวงับวรสถานมงคล 2 ปี 
ตอ่มาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคร 
พระองค์จึงได้เสด็จเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี เมอื่วนัที่ 7 กนัยายน พ.ศ. 
2352 
ในรัชสมยัของพระองค์ทา่นถือได้วา่เป็นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ 
ละครรารุ่งเรืองถึงขีดสุด พระองค์ทรงเป็นกวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 
พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรคดีร้อยกรองไวห้ลายเรื่อง และเป็นที่นิยมแพร่หลายมาจนถึงทุกวนันี้ 
ตัวละคร 
ท้าวยศวิมล เจ้าเมืองยศวิมล มีพระมเหสีสององค์ ชื่อนางจันท์เทวีและนางจันทาเทวี 
นางจันท์เทวี มเหสีของท้าวยศวิมล เป็นมารดาของสังข์ทอง 
นางจันทาเทวี มเหสีของท้าวยศวิมล มีนิสัยริษยา 
พระสังข์ โอรสของท้าวยศวิมลกับนางจันท์เทวี คลอดออกมาอยูใ่นหอยสังข์ 
ตา ยาย ชาวป่าที่นางจันท์เทวีพาหอยสังข์มาอาศัยอยูด่้วย
พญานาค เจ้าแห่งท้องทะเลได้ชว่ยพระสังข์ที่ถูกถว่งน้าไว้ 
นางพันธุรัต นางยักษ์หมา้ย ที่พญานาคส่งพระสังข์ให้นางเลี้ยงดู 
โดยแปลงร่างเป็นหญิงงามเลี้ยงดูพระสังข์ดังลูกแท้ ๆ ของนาง 
เจ้าเงาะ พระสังข์ที่สวมรูปเงาะไว้ 
ท้าวสามล เจ้าเมืองสามล มีมเหสีชื่อนางมณฑาเทวี มีธิดาทั้งหมดเจ็ดองค์ 
นางมณฑาเทวี มเหสีของท้าวสามล 
นางรจนา พระราชธิดาองค์สุดท้ายของท้าวสามลและมเหสีมณฑาเทวี 
พระอินทร์ เจ้าแห่งสวรรค์ 
แปลงกายลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อท้าพนันตีคลีเอาเมืองสามลเพื่อชว่ยพระสังข์และนางรจนา 
ของวิเศษ 
เรื่องยอ่ 
ท้าวยศวิมลครองเมืองยศวิมล มีพระมเหสีสององค์ชื่อนางจันท์เทวีและนางจันทาเทวี 
แตไ่มมี่โอรสไว้สืบราชสมบัติ ท้าวยศวิมลและพระมเหสีจึงได้บา เพ็ญศีลเพื่อขอโอรส 
ตอ่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์โหรหลวงทา นายวา่จะมีโอรสที่มีบุญญาธิการมาก 
เมอื่นางจันท์เทวีคลอดโอรสเป็นหอยสังข์นางจันทาเทวีคิดริษยาจึงสมคบกบัโหรหลวงทา นายวา่เป็นกาลกิณี 
ตอ่บ้านเมือง ท้าวยศวิมลจึงขับไลน่างจันท์เทวีและหอยสังข์ออกจากเมือง
นางไปขออาศัยอยูก่บัตายายที่ในป่า นางจันท์เทวีได้รับความลา บาก ต้องตักน้าตา ข้าว 
เข้าป่าเก็บผักหาฝืนเลี้ยงชีวิต พระสังข์เห็นพระมารดาได้รับความยากลา บาก 
จึงออกจากหอยสังข์มาหุงข้าวหุงปลาดูแลบ้านชอ่ง 
นางจันท์เทวีสงสัยจึงทา ทีออกไปเก็บผักหาฟีนแล้วซอ่นตัวอยู่เมอื่เห็นพระสังข์ออกจาหอยสังข์ 
นางจันท์เทวีก็แอบกลับเข้าไปในกระทอ่มใช้ไมทุ้บหอยสังข์แตก 
พระสังข์จึงกลับเข้าไปในหอยสังข์ไมไ่ด้อีกตอ่ไปนางจันทาเทวีทราบข่าววา่นางจันท์กบัพระสังข์ไปอยูกั่บต 
ายายในป่า จึงทูลยุยงท้าวยศวิมลให้เสนาอา มาตย์จับพระสังข์ไปฆา่ด้วยวิธีตา่ง ๆ 
แตไ่มส่ามารถฆา่พระสังข์ได้ท้าวยศวิมลจึงให้นาพระสังข์ไปถ่วงน้าที่ท้องทะเล 
พญานาคที่อยูใ่ต้ท้องทะเลได้ชว่ยพระสังข์ไว้และส่งพระสังข์ไปอยูก่บันางพันธุรัตซึ่งเป็นยักษ์ 
พระสังข์อยูก่บันางพันธุรัตซึ่งแปลงกายเป็นมนุษย์จนอายุได้ 15 ปี วนัหนึ่งพระสังข์ลอบไปที่ครัวไฟ 
พบซากมนุษย์ซากสัตว์และโครงกระดูกมากมาย จึงรู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์ พระสังข์ไปพบบอ่เงิน บอ่ทอง 
ลองจุม่นิ้วลงไปจึงรู้วา่ชุปตัวได้จากนั้นก็พบรูปเงาะ เกือกแกว้ และไมเ้ท้า จึงลองสวมรูปเงาะ สวมเกือกแกว้ 
และถือไมเ้ท้า ปรากฎวา่สามารถเหาะได้ พระสังข์ถอดรูปเงาะเก็บไวต้ามเดิม 
และคิดจะหนีนางพันธุรัตเพื่อสืบหานางจันท์เทวีตอ่ไป 
ตอ่ไปนี้เป็นบทละครเรื่อง สังข์ทอง ตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัต 
นางพันธุรัตได้ออกไปในป่า จับววัควายกินเป็นอาหารอยูจ่นเย็นและพักผอ่นนอนหลับอยูก่ลางป่า 
ส่วนพี่เลี้ยงนางนม ตื่นนอนขึ้นมาไมเ่ห็นพระสังข์ ตา่งตกใจเที่ยวตามหาพระสังข์ยังที่ตา่ง ๆ แตก่็ไมพ่บ 
นางพันธุรัตเที่ยวเลน่ในป่าเป็นเวลาหลายวนัก็ได้เดินทางกลับเข้ามาในเมือง
นางรีบตรงไปยังปราสาทของพระสังข์ รู้วา่พระสังข์ได้ชุบตัวในบอ่ทอง 
และลักรูปเงาะพร้อมไมเ้ท้าและเกือกแกว้หนีออกจากเมือง 
จึงตีกลองสัญญาณเรียกยักษ์และภูตผีทั้งหลายให้มาชุมชุมกนัฝ่ายพวกยักษ์และภูตผีทั้งหลายได้ยินเสียงกลอง 
ตา่งก็มาเฝ้านางพันธุรัต นางพันธุรัตจึงเตรียมพลโยธาออกติดตามพระสังข์มาจนพบพระสังข์บนยอดเขา 
พระสังข์เกรงวา่นางพันธุรัตจะติดตามขึ้นมาบนยอดเขา 
จึงอธิษฐานอยา่ให้นางพันธุรัตขึ้นบนยอดเขาได้เพื่อจะได้ติดตามหาพระมารดาของตน 
พระสังข์สวมรูปเงาะเหาะมาถึงเมืองสามล มาอาศัยอยูที่่ชายทุม่ มีพวกเด็กเลี้ยงควายเป็นเพื่อนเลน่ 
ท้าวสามลมีพระมเหสีชื่อ นางมณฑาเทวี มีพระธิดาเจ็ดองค์แตห่ามีพระโอรสไม่ 
ท้าวสามลจึงให้พระธิดาทั้งเจ็ดองค์เลือกคู่ครองพระธิดาผู้พี่เลือกคูค่รองเป็นผู้มีรูปร่างงดงาม 
แตน่างรจนาพระธิดาองค์สุดท้องเลือกได้เจ้าเงาะ 
ท้าวสามลโกรธจึงไลน่างรจนากับเจ้าเงาะไปอยูที่่กระท่อมปลายนา ทั้งสองคนได้รับความลา บากมาก 
ฝ่ายพระอินทร์เห็นวา่นางรจนากบัเจ้าเงาะเป็นคนดี ได้รับความลา บาก 
จึงแปลงกายลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ 
ยกทัพมาท้าพนันตีคลีเอาบ้านเอาเมืองเพื่อชว่ยเจ้าเงาะกบันางรจนาหกเขยออกตีคลีแพ้ 
ท้าวสามลอ้อนวอนให้เจ้าเงาะชว่ย เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์ ตีคลีชนะพระอินทร์ 
ทา ให้เมืองสามลไมถู่กพระอินทร์ริบ ท้าวสามลจึงได้พระสังข์ครองเมืองสามล 
พระอินทร์เห็นวา่นางจันท์เทวีได้รับความลา บาก หวงัที่จะชว่ยเหลือคนดี 
จึงสั่งให้ท้าวยศวิมลออกติดตามหานางจันท์ทวีและพระสังข์ 
ท้าวยศวิมลจึงให้เสนาอา มาตย์สืบหานางจันท์เทวีจนพบและพระองค์ออกไปรับนางกลับคืนพระนคร 
ท้าวยศวิมลและนางจันท์เทวีได้ปลอมตนเป็นชาวบ้านเดินทางไปยังเมือสามล 
นางจันท์เทวีได้เข้าไปอยูก่บัคนทา อาหารในวงั นางสลักชิ้นฟักเป็นเรื่องราวของพระสังข์ 
เมอื่พระสังข์จะเสวยชิ้นฟักได้สังเกตเห็นเรื่องราวของตนก็ทราบวา่พระมารดาเป็นคนครัว 
จึงออกไปรับพระมารดาเข้าวงั และให้เสนาอา มาตย์ไปรับพระบิดาเข้าวงัด้วยพระสังข์ 
พระบิดาและพระมารดาได้ลาท้าวสามลและนางมณฑาเทวีเดินทางกลับเมืองของตนพร้อมด้วยรจนา
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1

More Related Content

What's hot

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
Milky' __
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
kanchana13
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Similar to ประวัติที่มาของเรื่อง1

9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
CUPress
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
apiradee037
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
apiradee037
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
 

Similar to ประวัติที่มาของเรื่อง1 (20)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 

ประวัติที่มาของเรื่อง1

  • 1. ประวัติที่มาของเรื่อง สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวณัสังขชาดก ซึ่งเป็น นิทาน เรื่องหนึ่งใน ปัญญาสชาดก ของท้องถิ่น ในภาคเหนือและภาคใต้มีสถานที่ที่กลา่วถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทองกลา่วคือเลา่กนัวา่เมืองทุง่ยั้ง เป็นเมืองท้าวสามนต์ ใกล้วดัมหาธาตุมีลานหินเป็นสนามตีคลีของพระสังข์ ส่วนในภาคใต้ เชื่อวา่เมืองตะกวั่ป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์ และเรียกภูเขาลูกหนึ่งวา่ "เขาขมงัมา้" เนื่องจากเมื่อพระสังข์ตีคลีชนะได้ขี่มา้ข้ามภูเขานั้นไป ลักษณะคา ประพันธ์ 1.1.เป็นกลอนบทละคร บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคละ 6 คา หนึ่งบทมี 2บาท เรียกวา่บาทเอกและบาทโท 1 บาท เทา่กบั 1 คา กลอน 1.2.คา ขึ้นต้นบท กลอนบทละครมีคา ขึ้นต้นหลายแบบ และคา ขึ้นต้นนั้นไมจ่า เป็นต้องมีจา นวนเทา่กับวรรคสดับ อาจจะมีเพียง 2 คา ก็ได้ บทละครพระราชนิพนธ์เรื่อง สังข์ทอง มี 9 ตอน คือ 1.กาเนิดพระสังข์ 2.ถว่งพระสังข์ 3.นางพันธุรัตน์เลี้ยงพระสังข์ 4.พระสังข์หนีนางพันธุรัต 5.ท้าวสามนต์ให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่ 6.พระสังข์ได้นางรจนา 7.ท้าวสามนต์ให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ 8.พระสังข์ตีคลี 9.ท้าวยศวิมลตามพระสังข์ เรื่องยอ่สังข์ทอง ณ เมืองยศวิมลนคร อันมีท้าวยศวิมลเป็นเจ้าเมือง พระมเหสีจันเทวีได้คลอดลูกออกมาเป็นหอยสังข์ จึงถูกพระนางจันทา มเหสีรอง ใส่ร้ายวา่เป็นกาลีบ้านเมือง จนถูกขับออกจากเมืองไปอยู่กระท่อมตายายที่ชายป่า จนกระทั่งพระสังข์ที่ซอ่นอยูใ่นหอย ได้ออกมาพบแม่ สร้างความยินดีกบัพระนางจันเทวีมาก
  • 2. ขา่วลว่งรู้ไปถึงนางจันทา จึงได้ส่งคนมาจับพระสังข์ไปถว่งน้า แตท่้าวภุชงค์พญานาคราชชว่ยเอาไว้ และส่งให้ไปอยูก่บั นางพันธุรัต พระสังข์รู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์จึงขโมยรูปเงาะ ไมเ้ท้า เกือกแกว้ เหาะหนีมาอยูบ่นเขา นางพันธุรัตตามมาทันแต่ไมส่ามารถขึ้นไปหาพระสังข์ได้ จึงได้มอบมนต์มหาจินดา เรียกเนื้อเรียกปลาให้แกพ่ระสังข์กอ่นที่จะอกแตกสิ้นใจตายที่เชิงเขา นั่นเอง พระสังข์เหาะมาจนถึงเมืองสามล ท้าวสามลและนางมณฑากา ลังจัดพิธีเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด แตร่จนาพระธิดาองค์สุดท้อง ไมย่อมเลือกใครเป็นคู่ท้าวสามลจึงให้คนไปตามเจ้าเงาะมาให้เลือก รจนาเห็นรูปทองที่ซอ่นอยูใ่นรูปเงาะจึงเสี่ยงมาลัยไปให้ สร้างความพิโรธให้ท้าวสามาลจึงถึงกบัขับไล่รจนาให้ไปอยู่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ ท้าวสามลหาทางแกล้งเจ้าเงาะ โดยการให้ไปหาเนื้อหาปลาแขง่กบัเขยทั้งหก เจ้าเงาะให้มนต์ที่นางพันธุรัตให้ไวเ้รียกเนื้อ เรียกปลามารวมกนัทา ให้หกเขยหาปลาไมไ่ด้ จึงต้องยอมตัดปลายหูและปลายจมูกแลกกับเนื้อและปลา ท้าวสามลพิโรธมากจนถึงกบัคิดหาทางประหารเจ้าเงาะ ร้อนถึงพระอินทร์ต้องหาทางชว่ยโดยการลงมาท้าตีคลีชิงเมือง กบัท้าวสามล ท้าวสามลส่งหกเขยไปสู้ก็สู้ไมไ่ด้ จึงต้องยอมให้เจ้าเงาะไปสู้แทน เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์และสู้กบัพระอินทร์ จนชนะ ท้าวสามลจึงยอมรับพระสังข์กลับเข้าเมืองและจัดพิธีอภิเษกให้ พระอินทร์ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล เพื่อบอกเรื่องราวทั้งหมด ท้าวยศวิมลจึงออกตามหาพระนางจันเทวีจนพบ และได้เดินทาน ไปเมืองสามลนครเพื่อพบพระสังข์ โดยพระนางจันเทวีได้ปลอมเป็นแมค่รัวในวงัและได้แกะสลักเรื่องราวทั้งหมดบนชิ้นฟัก ให้พระสังข์เสวย ทา ให้พระสังข์รู้วา่แมค่รัวคือพระมารดานั่นเอง พระสังข์และรจนาจึงได้เสด็จตามท้าวยศวิมลและพระนาง จันเทวีกลับไปครองเมืองยศวิมลสืบไป
  • 3. ประวัติวรรณคดี วรรณคดี แปลวา่เรื่องที่แตง่เป็นหนังสือ มีความหมายตรงกนัคา วา่ Literature ในภาษาอังกฤษ แตพ่จนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้คา จา กดัความของวรรณคดีวา่ หนังสือที่ได้รับยกยอ่งวา่แตง่ดี ปรากฏครั้งแรกในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร เมื่อวนัที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ในรัชสมยัพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยูหั่ว พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร กลา่ววา่ ๑ . เป็นหนังสือดี กลา่วคือ เป็นเรื่องที่สมควรซึ่งสาธารณชนจะอา่นได้โดยไมเ่สียประโยชน์ คือไมเ่ป็นเรื่องที่ชักจูงความคิดผู้อา่นไปในทางอันไมเ่ป็นแกน่สาร ซึ่งจะชวนให้คิดวุน่วานทางการเมืองอันเกิดเป็นเรื่องราคาญแกรั่ฐบาลของพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยูหั่ว ( เพราะคนรู้น้อยอาจจะไขวา้เขวได้ ) ๒ . เป็นหนังสือแตง่ดี ใช้วิธีเรียบเรียงอยา่งใด ๆ ก็ตามแตต่้องให้เป็นภาษาไทยอันดี ถูกต้องตามเยี่ยงที่ใช้ในโบราณกาลหรือปัจจุบันกาลก็ได้ ไมใ่ช้ภาษาตา่งประเทศ ( เชน่ ใช้วา่ ไปจับรถ แทน ไปขึ้นรถ และ มาสาย แทน มาช้า ดังนี้เป็นตัวอยา่ง ) วรรณคดี คือ ความรู้สึกนึกคิดของกวี ซึ่งถอดออกมาจากจิตใจให้ปรากฎเป็นรูปหนังสือ มีถ้อยคา เหมาะเจาะเพราะพริ้ง เร้าใจให้ผู้อา่นหรือผู้ฟังเกิดความรู้สึก วรรณคดี คือ หนังสือที่มีลักษณะเรียบเรียงถ้อยคา เกลี้ยงเกลาเพราะพริ้งมีรสปลุกมโนคติ ( imagination ) ให้เพลิดเพลิน เกิดกระทบกระเทือนอารมณ์ตา่ง ๆ เป็นไปตามอารมณ์ของผู้ประพันธ์บทประพันธ์ที่เป็น วรรณคดี คือ บทประพันธ์ที่มุง่ให้ความเพลิดเพลิน ให้เกิดความรู้สึกนึกคิด(imagination) และอารมณ์ตา่ง ๆ ตามผู้เขียน นอกจากนี้บทประพันธ์ที่เป็นวรรณคดีจะต้องมีรูปศิลปะ ( form )
  • 4. เทา่ที่กลา่วมาแล้วพอสรุปได้วา่วรรณคดี คือ เรื่องที่มีลักษณะดังนี้ ๑ . ใช้ถ้อยคา สานวนโวหารไพเราะสละสลวย ๒ . กอ่ให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ๓ . ยกระดับจิตใจให้สูง ๔ . ใช้เป็นแบบแผนในการแตง่ได้ ร้อยกรอง คือ บทประพันธ์ที่แตง่ให้มีสัมผัสของคา เชื่อมโยงกนั โดยมีคณะของคา ตามหลักที่กา หนดไวใ้นฉันทลักษณ์หรือตารากลอนตา่ง ๆ เชน่ มีครุ ลหุ เอก โท เป็นต้น รูปแบบของร้อยกรองวรรณคดีที่เป็นร้อยกรอง ( กาพย์กลอนของไทย ) ได้เจริญเรื่อยมา และแบง่ตามรูปแบบคา ประพันธ์ที่ใช้แตง่เรื่องนั้น ๆ ได้ดังนี้ ๑ . คา หลวง เป็นเรื่องที่พระมหากษัตริย์หรือเจ้านายชั้นสูงในพระราชวงศ์ทรงแตง่ หรือ ทรงเกยี่วข้องในการแตง่ ไมจ่า กดัรูปแบบคา ประพันธ์ แตต่้องเป็นเรื่องที่ศักด์ิสิทธ์ิ เป็นเรื่องที่เกยี่วกบัศีลธรรมจรรยา เทา่ที่ปรากฏชื่อในวรรณคดีมีอยู่๔ เรื่อง คือ มหาชาติคา หลวง นันโทปนันทสูตรคา หลวง พระมาลัยคา -หลวง และพระนลคา หลวง ๒ . คา ฉันท์ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นฉันท์ชนิดตา่ง ๆ มกัมีกาพย์บางชนิดปนอยู่ด้วย เชน่ สมุทรโฆษคา ฉั นท์ สามคัคีเภทคา ฉันท์ เป็นต้น ๓ . คา โคลง ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นโคลงคั้นหรือโคลงสี่สุภาพ เชน่ โคลงนิราศนรินทร์ เป็นต้น ๔ . คา กลอน วรรณคดีที่แตง่เป็นคา กลอนชนิดตา่ง ๆ ได้แก่กลอนสุภาพ กลอนเสภา กลอนบทละคร กลอนหก เชน่ พระอภัยมณี เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ๕ . คา กาพย์ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นกาพย์ยานี กาพย์ฉบัง กาพย์สุรางคนางค์ เชน่ กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา เป็นต้น ๖ . กาพย์ห่อโคลง กาพย์เห่เรือ ได้แก่วรรณคดีที่แตง่ด้วยโคลงและกาพย์ เชน่ กาพย์ห่อโคลงประพาศธารทองแดง กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ๗ . ร่ายยาว ได้แก่วรรณคดีที่แตง่เป็นร่ายยาว เช่น ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก เป็นต้น ๘ . ลิลิต ได้แก่วรรณคดีที่แตง่โดยใช้โคลงและร่ายปนกนั รับสัมผัสคา แบบลิลิต เชน่ ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเลงพา่ย ลิลิตนิทราชาคริต เป็นต้น
  • 5. นอกจากแบง่ตามลักษณะคา ประพันธ์แล้ว ยังแบง่ตามเนื้อเรื่อง เชน่ นิราศ เพลงยาว นิทานคา กาพย์ นิทานคา กลอน คา สอน เป็นต้น บทละคร คือ เรื่องที่แตง่ขึ้นเพื่อการแสดงบนเวทีรูปแบบของบทละคร ๑ . บทละครรา เป็นบทละครแบบเดิมของไทย ได้แก่บทละครเรื่องอิเหนา รามเกียรต์ิ สังข์ทอง เป็นต้น ๒ . บทละครแบบตะวนัตก ได้แก่บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ บทละครร้องเรื่องสาวเครือฟ้า บทละครคา ฉันท์เรื่องมทันะพาธา เป็นต้น การแบง่ประเภทวรรณคดีตามเกณฑ์ตา่ง ๆ วรรณคดีไทยอาจแบง่ตามเกณฑ์ตา่ง ๆ ได้ดังนี้แบง่ตามความมุง่หมาย แยกได้ ๒ ประเภท คือ ๑ . สารคดี คือ หนังสือที่มุง่ให้ความรู้แกผู่้อา่นเป็นสาคัญแตใ่นขณะเดียวกนัก็ใช้กลวิธี การเขียนให้เกิดความบันเทิงเป็นผลพลอยได้ไปด้วย เชน่ บทความหรือความเรียง หนังสือสารคดี ตา รา บันทึก จดหมายเหตุ รายงาน พงศาวดาร ตา นาน ปาฐกถา คา สอน ๒ . บันเทิงคดี คือ หนังสือที่มุง่ให้ความสนุกเพลิดเพลินแกผู่้อ่านมากกวา่ความรู้ แตอ่ยา่งไรก็ดี บันเทิงคดียอ่มมีเนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญแทรกอยู่ด้วยในรูปของคติชีวิตและเกร็ดความรู้ เชน่ เรื่องสั้น นวนิยาย บทละครพูด นิทาน นิยายแบง่ตามลักษณะที่แตง่ แยกได้ ๒ ประเภท คือ ๑ . ร้อยแกว้ อาจแตง่เป็นสารคดีหรือบันเทิงคดี โดยมีรูปแบบตา่ง ๆ ๒ . ร้อยกรอง หมายถึง ความเรียงที่ใช้ภาษาพูดตามธรรมดา แตมี่รูปแบบโดยเฉพาะและมีความไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย ร้อยกรองอาจเรียกวา่คา ประพันธ์ กาพย์กลอน หรือ กวีนิพนธ์ ก็ได้ ร้อยกรองแตเ่ป็นกลอน โคลง ร่ายกาพย์และฉันท์ อาจแตง่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี ส่วนมากเป็นบันเทิงคดี โดยอาจแบง่รูปตามชนิดของ คา ประพันธ์ หรือลักษณะของเนื้อเรื่องแบง่ตามลักษณะการจดบันทึก แยกได้ ๒ ประเภท คือ ๑ . วรรณคดีลายลักษณ์อักษร ได้แก่วรรณคดีที่บันทึกไวเ้ป็นหนังสืออาจเป็นตัวจารึก ตัวเขียน หรือตัวพิมพ์ก็ได้ ๒ . วรรณคดีที่ไมไ่ด้บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่วรรณคดีที่บอกเลา่จดจา สืบต่อกนัมา เรียกอีกอยา่งหนึ่งวา่ วรรณคดีมุขปาฐะ เชน่เพลงพื้นเมือง บทเห่กลอ่ม นิทานพื้นบ้าน ปริศนาคา ทาย การแบง่ประเภทวรรณคดีดังกล่าวอาจคาบเกี่ยวกนัได้ สารคดีโดยทั่วไปมกัแตง่เป็นร้อยแก้วแต่อาจแตง่เป็นร้อยกรองก็ได้บันเทิงคดี
  • 6. อาจแตง่เป็นร้อยกรองหรือร้อยแกว้ก็ได้วรรณคดีไทยแบง่สมยัการแตง่ได้ดังนี้ ๑ . วรรณคดีสมยัสุโขทัย ( พ.ศ. ๑๘๐๐ - ๑๙๒๐ ) ๒ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนต้น ( พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๐๗๒ ) ๓ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนกลาง ( ยุคทองของวรรณคดี พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๒๓๑๔) ๔ . วรรณคดีสมยัอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ. ๒๒๙๕ - ๒๓๑๐๕ ) ๕ . วรรณคดีสมยัธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕๖ ) ๖ . วรรณคดีสมยัรัตนโกสินทร์ ( พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน ) เนื่องจากการแตง่วรรณคดี มกัจะมีส่วนสัมพันธ์กนั ประวตัิศาสตร์และสภาพสังคมในยุคสมยันั้น ๆ เพราะฉะนั้นการอา่นวรรณคดีให้ได้คุณคา่อยา่งแท้จริง จา เป็นจะต้องเรียนประวตัิวรรณคดีประกอบด้วย ซึ่งต้องพิจารณาถึงประเด็นสาคัญของวรรณคดี ในด้านตา่ง ๆ ดังนี้ ๑ . ผู้แตง่ รวมถึงชีวประวตัิและผลงานสาคัญ ๒ . ที่มาของเรื่อง ได้แก่เรื่องที่เป็นต้นเค้า อาจจะได้รับอิทธิพลภายในประเทศ หรือที่ได้รับอิทธิพลจากตา่งประเทศ ๓ . ความมุง่หมายที่แตง่ ได้แก่ความบันดาลใจหรือความมุง่หมายของผู้แตง่ในการแตง่วรรณคดีนั้น ๆ ๔ . วิวฒันาการและความสัมพันธ์ตอ่เนื่องระหวา่งวรรณคดีแตล่ะสมัย ๕ . สภาพสังคมในสมยัที่แตง่ ซึ่งได้แก่วฒันธรรม สภาพสังคม และเหตุการณ์ของบ้านเมืองในระยะเวลาที่แตง่ ๖ . อิทธิพลที่วรรณคดีมีตอ่สังคมทั้งในสมยัที่แตง่และในสมยัตอ่มา ดร. สิทธา พินิจภูวดล กลา่วไวใ้นหนังสือความรู้ทั่วไปทางวรรณกรรมไทย ถึงเรื่องการศึกษาวรรณคดีในแนวประวตัิ มีดังนี้ ๑ . เพื่อให้ทราบต้นกา เนิดของวรรณคดีวา่ วรรณคดีแตล่ะเลม่เกิดขึ้นได้อยา่งไร เกิดในสมยัใด และวรรณคดีอื่น ๆ ในสมยันั้นมีลักษณะที่เกิดขึ้นมาอยา่งเดียวกนัหรือไม่ ๒ .เพื่อให้ทราบวิวฒันาการของสติปัญญาของชาติ พลังปัญญาของบุคคลในชาติ จะแสดงออกมาในรูปของศิลปกรรมประเภทตา่ง ๆ ซึ่งรวมทั้งวรรณกรรมด้วย คนจะแสดงพลังปัญญาในการนาเรื่องราวทางการเมือง การทหาร การรบพุง่ปราบปรามศัตรู และอื่น ๆ มาเรียบเรียงร้อยกรองเป็นบทเพลงหรือบทประพันธ์ แทนการเลา่เรื่องอยา่งธรรมดา ๆ คนที่มีความสามารถจะหาทางออกในแนวแปลกงดงามและมีผลดี วรรณคดีที่มีแนวตา่ง ๆ
  • 7. กนัเป็นผลของการแสดงพลังปัญญาของบุคคลในชาติ ๓ . เพื่อให้รู้จักเหตุการณ์ที่มีอิทธิพลต่อวรรณคดี วรรณคดีเป็นผลงานกวี กวีในแตล่ะยุคแตล่ะสมยัยอ่มมีชีวิตความเป็นอยู่ตา่งกนั มีแนวคิดตา่งกนั มีเหตุการณ์ในยุคสมยัของตนแตกตา่งกนัไปด้วย เชน่ คนไทยในยุคสุโขทัยระยะหลังได้รับความร่วมเย็นเป็นสุขอยา่งเต็มที่ เอาใจใส่ในศาสนาและวรรณกรรม ศิลาจารึกในยุคนั้นจึงมีเรื่องราวเกี่ยวกบัศาสนามาก เหตุการณ์ตา่ง ๆ ในบ้านเมืองหรือ ในสังคมยอ่มสัมพันธ์กบัเรื่องราวในวรรณคดี การศึกษาประวตัิวรรณคดี จะทา ให้เข้าใจ ตัววรรณคดี ชัดเจนยิ่งขึ้น และเข้าใจกวีวา่เหตุใดจึงแตง่วรรณคดีชนิดนั้น เชน่ เหตุใดวรรณกรรมไทยในยุคปลายสุโขทัย จึงเป็นแตป่ระเภท วรรณกรรมศาสนาเทา่นั้น เป็นต้น ๔ . เพื่อให้รู้จักผู้แตง่วรรณคดี วา่กวีคือใคร มีความรู้สึกนึกคิดอยา่งไร อะไรเป็นเหตุทา ให้เขาแตง่เรื่องเชน่นั้น เชน่ เราต้องการทราบประวตัิชีวิตของสุนทรภู่ พยายามสืบค้นวา่สุนทรภู่มีบิดามารดา ชื่ออะไร อาชีพอะไร เกิดที่เมืองไหน ครอบครัวของสุนทรภูมี่ใครบ้าง อะไรทา ให้สุนทรภูเ่ขียนลงไปวา่ อนิจจาตัวเราก็เทา่นี้ ไมมี่ที่พสุธาจะอาศัย…… สิ่งเหลา่นี้ล้วนแตท่า ให้ผู้ศึกษาวรรณคดีรู้จักวรรณคดีลึกซึ้งขึ้นทั้งสิ้น ในบางยุคสมยัผู้แตง่วรรณคดีจะเป็นคนในราชสานักเป็นส่วนมาก ดังที่ปรากฏอยูใ่นยุคสุโขทัยเรื่อยลงมาจนถึงอยุธยา และตอ่มาจนถึงยุคต้นรัตนโกสินทร์ ประวตัิวรรณคดีจะทา ให้เราเข้าใจแนวสร้างวรรณคดีไทย
  • 8. ประวัติผู้แต่ง สังข์ทอง ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะของละครนอก มีตัวละครที่เป็นรู้จักกนัเป็นอยา่งดี คือ เจ้าเงาะซึ่งคือพระสังข์ กบันางรจนา เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนาเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม ได้แก่บทพระสังข์ได้นางรจนา เพื่อนามาประยุกต์เป็นการแสดงชุด รจนาเสี่ยงพวงมาลัย สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวณัสังข์
  • 9. คุณค่าจากเรื่อง สังข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ คุณค่าด้าววรรณศิลป์ บทละครนอก มิใชบ่ทสาหรับแสดงละครเพียงอยา่งเดียว แตใ่ช้เป็นวรรณคดีสาหรับอา่นด้วย โดยมีความสาคัญควบคู่กนัไป เพราะในการอา่นบทละครนั้น ผู้อา่นจะอา่นเนื้อเรื่องโดยตลอด ส่วนในการแสดงก็คงจะนิยมนามาแสดงเป็นตอนๆ ไมไ่ด้แสดงที่เดียว จบทั้งเรื่อง เชน่ เรื่องสังข์ทองก็นิยมแสดงตอนนางมณฑาลงกระทอ่มมากกวา่ตอนอื่นๆ เป็นต้น ผู้ดูละครต้องการความบันเทิงและการผ่อนคลายอารมณ์จากความตึงเครียด ต้องการประสบการณ์ใหมๆ่ ที่ได้จากการดูละคร ซึ่งก็เป็นความจริงของชีวิตที่แฝงอยูใ่นบทละครนั้น ละครจึงมีส่วนชว่ยและมีบทบาทในการดา เนินชีวิตของมนุษย์อยู่มาก โดยเฉพาะอยา่งยิ่งในสมยักอ่นที่คนไทยส่วนใหญอ่า่นหนังสือไมอ่อก และมีมหรสพให้ชมอยูไ่มกี่่ชนิด
  • 10. คุณค่าด้านสังคม ๑. คา่นิยมในสังคม วฒันธรรม และแนวทางการดา เนินชีวิต โดยต้องการปลูกฝังทัศนคติลงไปในจิตใจของคนไทย เชน่ ทัศนคติเกยี่วกบัความซื่อสัตย์จงรักภักดีของผู้หญิงที่มีตอ่สามี ตัวอยา่งที่เห็นได้ชัดคือ บทบาทของนางจันท์เทวีและนางรจนา เชน่ นางรจนาคร่า ครวญตอนท้าวสามนต์ให้หาปลาถวาย ๒. การรักพวกพ้อง รักชาติบ้านเมือง ตัวอยา่งที่เห็นได้อยา่งชัดเจนคือ พฤติการณ์ของหกเขย และการตีคลีพนันกบัพระอินทร์ เชน่ ตอนนางมณฑาขอร้องให้เจ้าเงาะชว่ย ๓. การทา ความดี มีตัวอยา่งปรากฏตลอดทั้งเรื่อง เชน่ การที่ท้าวภุชงค์และนางพันธุรัตรับเลี้ยงดูพระสังข์ ตายายชว่ยเหลือนางจันท์เทวีนายประตูเมืองสามนต์ช่วยเหลือท้าวยศวิมล เป็นต้น ข้อคิดจากเรื่องสังข์ทอง ตอนกาเนิดพระสังข์ ๑. การแสดงความรักของแมที่่มีตอ่ลูก ไมว่า่ลูกจะเป็นอยา่งไร แมก่็ยังรักลูกเสมอ ๒. ความกตัญญูของพระสังข์ ที่คอยชว่ยเหลืองานบ้านเพื่อแบง่เบาภาระของแม่ ๓. ความพยายามของนางจันเทวี ที่ไมย่อมแพ้ตอ่อุปสรรคแมจ้ะต้องลา บาก
  • 11. รูปแบบคาประพันธ์ ๑. เป็นกลอนบทละคร บทหนึ่งมี ๔ วรรค วรรคละ ๖ คา หนึ่งบทมี ๒ บาท เรียกวา่บาทเอก และบาทโท ๑ บาท เทา่กบั ๑ คา กลอน มีลักษณะการสัมผัสดังนี้
  • 12. สัมผัสระหวา่งวรรคไมบั่งคับตายตัว ให้สังเกตจากแผนผัง วรรคที่ ๑ อาจจะสัมผัสกบัตา แหน่งใดตา แหน่งหนึ่งตามเส้นสัมผัสในวรรคที่ ๒ ๒. คา ขึ้นต้นบท กลอนบทละครมีคา ขึ้นต้นหลายแบบ และคา ขึ้นต้นนั้นไมจ่า เป็นต้องมีจา นวน เทา่กบัวรรคสดับ อาจจะมีเพียง ๒ คา ก็ได้ คา ขึ้นต้นมีดังนี้ ๒.๑ มาจะกลา่วบทไป มกัใช้เมื่อขึ้นต้นเรื่อง หรือกลา่วถึงเรื่องแทรกเข้ามา ๒.๒ เมื่อนั้น ใช้สาหรับผู้มียศสูง หรือผู้เป็นใหญใ่นที่นั้นตามเนื้อเรื่อง เชน่กษัตริย์ ราชวงศ์ ๒.๓ บัดนั้น ใช้ขึ้นต้นสาหรับผู้น้อยลงมา เชน่ เสนา ไพร่พล เนื้อเรื่องย่อ ณ เมืองยศวิมลนคร อันมีท้าวยศวิมลเป็นเจ้าเมือง พระมเหสีจันเทวีได้คลอดลูกออกมาเป็นหอยสังข์ จึงถูกพระนางจันทา มเหสีรอง ใส่ร้ายวา่เป็นกาลีบ้านเมือง
  • 13. จนถูกขับออกจากเมืองไปอยู่กระท่อมตายายที่ชายป่า จนกระทั่งพระสังข์ที่ซอ่นอยูใ่นหอย ได้ออกมาพบแม่ สร้างความยินดีกบัพระนางจันเทวี ขา่วลว่งรู้ไปถึงนางจันทา จึงได้ส่งคนมาจับพระสังข์ไปถว่งน้า แตท่้าวภุชงค์พญานาคราชชว่ยเอาไว้และส่งให้ไปอยูก่บั นางพันธุรัต พระสังข์รู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์จึงขโมยรูปเงาะ ไมเ้ท้า เกือกแกว้ เหาะหนีมาอยูบ่นเขา นางพันธุรัตตามมาทันแต่ไมส่ามารถขึ้นไปหาพระสังข์ได้ จึงได้มอบมนต์มหาจินดา เรียกเนื้อเรียกปลาให้แกพ่ระสังข์กอ่นที่จะอกแตกสิ้นใจตายที่เชิงเขา นั่นเอง พระสังข์เหาะมาจนถึงเมืองสามล ท้าวสามลและนางมณฑากา ลังจัดพิธีเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด แตร่จนาพระธิดาองค์สุดท้อง ไมย่อมเลือกใครเป็นคู่ท้าวสามลจึงให้คนไปตามเจ้าเงาะมาให้เลือก รจนาเห็นรูปทองที่ซอ่นอยูใ่นรูปเงาะจึงเสี่ยงมาลัยไปให้ สร้างความพิโรธให้ท้าวสามลจึงถึงกบัขับไลร่จนาให้ไปอยู่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ ท้าวสามลหาทางแกล้งเจ้าเงาะ โดยการให้ไปหาเนื้อหาปลาแขง่กบัเขยทั้งหก เจ้าเงาะให้มนต์ที่นางพันธุรัตให้ไวเ้รียกเนื้อ เรียกปลามารวมกนัทา ให้หกเขยหาปลาไมไ่ด้ จึงต้องยอมตัดปลายหูและปลายจมูกแลกกับเนื้อและปลา ท้าวสามลพิโรธมากจนถึงกับคิดหาทางประหารเจ้าเงาะ ร้อนถึงพระอินทร์ต้องหาทางชว่ยโดยการลงมาท้าตีคลีชิงเมือง กบัท้าวสามล ท้าวสามลส่งหกเขยไปสู้ก็สู้ไมไ่ด้ จึงต้องยอมให้เจ้าเงาะไปสู้แทน เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์และสู้กบัพระอินทร์ จนชนะ ท้าวสามลจึงยอมรับพระสังข์กลับเข้าเมืองและจัดพิธีอภิเษกให้ พระอินทร์ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล เพื่อบอกเรื่องราวทั้งหมด ท้าวยศวิมลจึงออกตามหาพระนางจันเทวีจนพบ และได้เดินทาน ไปเมืองสามลนครเพื่อพบพระสังข์ โดยพระนางจันเทวีได้ปลอมเป็นแมค่รัวในวงัและได้แกะสลักเรื่องราวทั้งหมดบนชิ้นฟัก ให้พระสังข์เสวย ทา ให้พระสังข์รู้วา่แมค่รัวคือพระมารดานั่นเอง พระสังข์และรจนาจึงได้เสด็จตามท้าวยศวิมลและพระนาง จันเทวีกลับไปครองเมืองยศวิมลสืบไป
  • 14. เนื้อเรื่อง ท้าวยศวิมลมีมเหสีชื่อนางจันท์เทวี มีสนมเอกชื่อนางจันทาเทวี ไมมี่โอรสธิดา จึงบวงสรวงและรักษาศีลห้าเพื่อขอบุตร และประกาศแกพ่ระมเหสีและนางสนมวา่ถ้าใครมีโอรสก็จะมอบเมืองให้ครองอยู่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์ เทวบุตรจุติมา เป็นพระโอรสของนาง แตป่ระสูติมาเป็นหอยสังข์ นางจันทาเทวีเกิดความริษยาจึงติดสินบนโหรหลวงให้ทา นายวา่หอยสังข์จะทา ให้บ้านเมืองเกิดความหายนะ ท้าวยศวิมลหลงเชื่อนางจันทาเทวี จึงจา ใจต้องเนรเทศนางจันท์เทวีและหอยสังข์ไปจากเมืองนางจันท์เทวีพาหอยสังข์ไปอาศัยตายายชา่วไร่ ชว่ยงานตายายเป็นเวลา 5 ปี พระโอรสในหอยสังข์แอบออกมาชว่ยทา งาน เชน่ หุงหาอาหาร ไลไ่กไ่มใ่ห้จิกข้าว เมอื่นางจันท์เทวีทราบก็ทุบหอยสังข์เสียในเวลาตอ่มา พระนางจันทาเทวีได้ไปวา่จ้างแมเ่ฒา่สุเมธาให้ชว่ยทา เสน่ห์เพื่อที่ท้าวยศวิมลจะได้หลงอยูใ่นมนต์สะกด และได้ยุยงให้ท้าวยศวิมลไปจับตัวพระสังข์มาประหาร ท้าวยศวิมลจึงมีบัญชาให้จับตัวพระสังข์มาถ่วงน้า แตท่้าวภุชงค์(พญานาค) ราชาแห่งเมืองบาดาลก็มาชว่ยไว้และนาไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม กอ่นจะส่งให้นางพันธุรัตเลี้ยงดูตอ่ไปจนพระสังข์มีอายุได้ 15 ปีบริบูรณ์วนัหนึ่ง นางพันธุรัตได้ไปหาอาหาร พระสังข์ได้แอบไปเที่ยวเลน่ที่หลังวงั และได้พบกบับอ่เงิน บอ่ทอง รูปเงาะ เกือกทอง(รองเท้าทองนั้นเอง) ไมพ้ลอง และพระสังข์ก็รู้ความจริงวา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์ เมอื่พระสังข์พบเข้ากบัโครงกระดูก จึงได้เตรียมแผนการหนีด้วยการสวมกระโดดลงไปชุบตัวในบอ่ทอง สวมรูปเงาะ กบัเกือกทอง และขโมยไมพ้ลองเหาะหนีไปเมอื่นางพันธุรัตทราบวา่พระสังข์หนีไป ก็ออกตามหาจนพบพระสังข์อยู่บนเขาลูกหนึ่ง จึงขอร้องให้พระสังข์ลงมา แตพ่ระสังข์ก็ไมย่อม นางพันธุรัตจึงเขียนมหาจินดามนตร์ที่ใช้เรียกเนื้อเรียกปลาได้ไว้ที่ก้อนหิน กอ่นที่นางจะอกแตกตาย ซึ่งพระสังข์ได้ลงมาทอ่งมหาจินดามนตร์จนจา ได้ และได้สวมรูปเงาะออกเดินทางต่อไป พระสังข์เดินทางมาถึงเมืองสามล ซึ่งมีท้าวสามลและพระนางมณฑาปกครองเมือง ซึ่งท้าวสามลและพระนางมณฑามีธิดาล้วนถึง 7 พระองค์ โดยเฉพาะ พระธิดาองค์สุดท้องที่ชื่อ รจนา มีสิริโฉมเลิศล้า กวา่ธิดาทุกองค์ จนวนัหนึ่ง ท้าวสามลได้จัดให้มีพิธีเสี่ยงมาลัยเลือกคูใ่ห้ธิดาทั้งเจ็ด ซึ่งธิดาทั้ง 6 ตา่งเสี่ยงมาลัยได้คูค่รองทั้งสิ้น เวน้แตน่างรจนาที่มิได้เลือกเจ้าชายองค์ใดเป็นคูค่รอง
  • 15. ท้าวสามลจึงได้ให้ทหารไปนาตัวพระสังข์ในร่างเจ้าเงาะซึ่งเป็นชายเพียงคนเดียวที่เหลือในเมืองสามล ซึ่งนางรจนาเห็นรูปทองภายในของเจ้าเงาะ จึงได้เสี่ยงพวงมาลัยให้เจ้าเงาะ ทา ให้ท้าวสามลโกรธมาก เนรเทศนางรจนาไปอยูที่่กระทอ่มปลายนากับเจ้าเงาะ ท้าวสามลคิดจะกา จัดเจ้าเงาะทุกวิถีทาง จึงได้ให้เขยทั้งหมดไปจับปลามาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์จึงได้ถอดรูปเงาะออก และทอ่งมหาจินดามนตร์จนได้ปลามานับร้อย ส่วนหกเขยจับปลาไมไ่ด้เลยสักตัว จึงเข้ามาขอพระสังข์เพราะคิดวา่เป็นเทวดา พระสังข์ก็ยินดีให้ แตต่้องแลกกบัปลายจมูกของหกเขยด้วย ตอ่มา ท้าวสามลได้ให้เขยทั้งหมดไปหาเนื้อมาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์ก็ใช้มหาจินดามนตร์จนได้เนื้อมานับร้อย ส่วนหกเขยก็หาไมไ่ด้อีกตามเคย และได้เข้ามาขอพระสังข์ พระสังข์ก็ยินดีให้ แตต่้องแลกกบัปลายหูของหกเขยด้วย ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระอินทร์ อาสน์ที่ประทับของพระอินทร์เกิดแข็งกระด้าง อันเป็นสัญญาณวา่มีผู้มีบุญกา ลังเดือดร้อน จึงส่องทิพย์เนตรลงไปพบเหตุการณ์ในเมืองสามล จึงได้แปลงกายเป็นกษัตริย์เมืองยกทัพไปล้อมเมืองสามล ท้าให้ท้าวสามลออกมาแขง่ตีคลีกับพระองค์ หากท้าวสามลแพ้ พระองค์จะยึดเมืองสามลเสีย ท้าวสามลส่งหกเขยไปแขง่ตีคลีกับพระอินทร์ แตก่็แพ้ไมเ่ป็นทา่ จึงจา ต้องเรียกเจ้าเงาะให้มาชว่ยตีคลี ซึ่งนางรจนาได้ขอร้องให้สามีชว่ยถอดรูปเงาะมาชว่ยตีคลี เจ้าเงาะถูกขอร้องจนใจออ่น และยอมถอดรูปเงาะมาชว่ยเมืองสามลตีคลีจนชนะในที่สุด หลังจากเสร็จภารกิจที่เมืองสามลแล้ว พระอินทร์ได้ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล และเปิดโปงความชั่วของพระนางจันทาเทวี พร้อมกบัสั่งให้ท้าวยศวิมลไปรับพระนางจันท์เทวีกบัพระสังข์มาอยู่ด้วยกนัดังเดิม ท้าวยศวิมลจึงยกขบวนเสด็จไปรับพระนางจันท์เทวีกลับมา และพากนัเดินทางไปยังเมืองสามลเมอื่ตามหาพระสังข์ ท้าวยศวิมลและพระนางจันท์เทวีปลอมตัวเป็นสามญัชนเข้าไปอยูใ่นวงั โดยท้าวยศวิมลเข้าไปสมัครเป็นชา่งสานกระบุง ตะกร้า ส่วนพระนางจันท์เทวีเข้าไปสมคัรเป็นแมค่รัว และในวนัหนึ่ง พระนางจันท์เทวีก็ปรุงแกงฟักถวายพระสังข์ โดยพระนางจันท์เทวีได้แกะสลักชิ้นฟักเจ็ดชิ้นเป็นเรื่องราวของพระสังข์ตั้งแตเ่ยาว์วยั ทา ให้พระสังข์รู้วา่พระมารดาตามมาแล้ว
  • 16. จึงมาที่ห้องครัวและได้พบกับพระมารดาที่พลัดพรากจากกนัไปนานอีกครั้ง หลังจากนั้น ท้าวยศวิมล พระนางจันท์เทวี พระสังข์กบันางรจนาได้เดินทางกลับเมืองยศวิมล ท้าวยศวิมลได้สั่งประหารพระนางจันทาเทวี และสละราชสมบัติให้พระสังข์ได้ครองราชย์สืบต่อมา บรรณานุกรม สังข์ทอง:หนังสือมลัติมีเดียออนไลน์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงวฒันธรรม, พ.ศ. 2537สังข์ทอง:หนังสือมลัติมีเดียออนไลน์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงวฒันธรรม, พ.ศ. 2537 http://chainarong2533.blogspot.com/2013/10/blog-post_7422.html
  • 17. คานา รายงานเรื่อง “วรรณคดีไทย เรื่อง สังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์” ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย เพิ่มเติม รหัสวิชา ท๓๓๒๐๓ ชั้นมธัยมศึกษาปีที่ ๖ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้เกยี่วกับวรรณคดีไทย เรื่องสังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์ ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกยี่วกบัประวตัิวรรณคดี ประวตัิผู้แตง่ ที่มาของเรื่อง คุณคา่ของวรรณคดี ที่สะท้อนความคิด ความเชื่อ และคา่นิยมของคนไทยและข้อคิดที่ได้จากการศึกษาค้นควา้วรรณคดีไทยเรื่องนี้ การศึกษาค้นควา้เรื่อง “วรรณคดีไทย เรื่อง สังข์ทอง ตอน กา เนิดพระสังข์” เลม่นี้ ข้าพเจ้าได้วางแผนการดา เนินงานการศึกษาค้นควา้เป็นระยะเวลา ๒ เดือน ศึกษาจากแหลง่ความรู้ต่าง ๆ อาทิ ตา รา หนังสือ นิทาน และแหลง่ความรู้จากเว็บไซต์ในห้องสมุดโรงเรียนนาหมนื่พิทยาคม การจัดทา รายงานฉบับนี้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณครู แพรวไพลิน ศศิทัตต์ ที่ทา่นได้ให้คา แนะนาการเขียนรายงานจนทา ให้รายงานฉบับนี้สมบูรณ์ในด้านแผนปฏิบัติศึกษาการทา รายง าน การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนบรรณานุกรมได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบพระคุณห้องสมุดโรงเรียนนาหมนื่พิทยาคมเป็นอยา่งสูงที่ให้โอกาสแกข่้าพเจ้าเข้าไปศึกษาค้นควา้เรื่ องนี้ ข้าพเจ้าหวงัวา่ เนื้อหาในรายงานฉบับนี้ที่ได้เรียบเรียงมาจะเป็นประโยชน์ตอ่ผู้สนใจเป็นอยา่งดี หากมีสิ่งใดในรายงานฉบับนี้จะต้องปรับปรุง ข้าพเจ้าขอน้อมรับในข้อชี้แนะและจะนาไปแกไ้ขหรือพัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ตอ่ไป
  • 18. ราเชนทร์ ท้าววงั สารบัญ หน้า คา นา ๑. ประวตัิวรรณคดี ๒-๕ รูปแบบคา ประพันธ์ ๖. เนื้อเรื่อง ๗-๘ เนื้อเรื่องยอ่ ๙. ข้อคิด ๑๐. ประวตัิผู้แตง่ ๑๑. ที่มาของเรื่อง ๑๒-๑๓ คุณคา่ ๑๔. บรรณานุกรม ๑๕.
  • 19. เรื่องยอ่ กาลปางกอ่น มีพระเจ้าพรหมทัต(ท้าวยศวิมล) ครองเมืองพรหมนคร(เมืองยศวิมล) พระเจ้าพรหมทัตมีมเหสีสององค์ มเหสีฝ่ายขวาชื่อพระนางจันทราเทวี (นางจันเทวี) มเหสีฝ่ายซ้ายชื่อพระนางสุวรรณจัมปากะ (นางจันทา) พระเจ้าพรหมทัตโปรดมเหสีฝ่ายซ้ายมาก ตอ่มามเหสีทั้งสองทรงครรภ์ โหรทา นายวา่บุตร ของมเหสีฝ่ายขวาเป็นชาย ส่วนมเหสีฝ่ายซ้ายเป็นหญิง พระนางสุวรรณจัมปากะรู้สึกเสียใจที่จะได้ธิดาแทนจะเป็นโอรส และเกรงวา่พระนางจันทราเทวีจะได้ดีกวา่ จึงใส่ร้ายพระนางจันทราเทวีจนพระเจ้าพรหมทัตหลงเชื่อ ขับไลพ่ระนางจันทราเทเวีออกจากพระราชวงั พระนางจันทราเทวเดินทางด้วยความยากลา บาก เมอื่ถึงชายป่านอกเมือง ยายตาสองคนสงสารจึกชวนให้พักอยูด่้วย โอรสในครรภ์ของพระนางจันทราเทวีเห็นความยากลา บากของพระมารดาจึงแปลงกายเป็นหอยสังข์เพื่อไมใ่ ห้พระมารดาต้องลา บากเลี้ยงดู เมอื่ครบกา หนดคลอด พระนางจันทราเทวีก็คลอดโอรสออกมาเป็นหอยสังข์ ซึ่งพระนางก็รักใคร่ เลี้ยงดูเหมือนลูกมนุษย์ วนัหนึ่งพระนางจันทราเทวีออกจากบ้านไปช่วยตายายเก็บผักหักฟืน ลูกน้อยในหอยสังข์ก็ออกจากรูปหอยสังข์ชว่ยปัดกวาดบ้านเรือน และหุงหาอาหารไว้ พอเสร็จก็กลับเข้าไปในรูปหอยสังข์ตามเดิม พระนางจันทราเทวีเมอื่กลับมาก็แปลกใจวา่ใครมาช่วยทา งาน และเมื่อนางจันทราเทวีออกจากบ้านไป ลูกน้อยในหอยสังข์ก็จะออกมาทา งานบ้านให้เรียบร้อยทุกครั้ง
  • 20. พระนางจันทราเทวีอยากรู้วา่เป็นใคร วนัหนึ่งจึงทา ทีออกจากบ้านไปป่าเชน่เคย แตแ่ล้วก็ย้อยกลับมาที่บ้าน โอรสในหอยสังข์ก็ออกมาทางานบ้าน พระนางจันทราเทวีเห็นโอรสเป็นมนุษย์ก็ดีใจ จึงทุบหอยสังข์เสียและกอดโอรสด้วย ความยินดี และตั้งชื่อให้วา่ ” สังข์ทอง “ เมอื่พระเจ้าพรหมทัตรู้ขา่ววา่พระนางจันทราเทวีประสูติพระโอรสก็ยินดีจะรับพระนางจันทราเทวีกลับ พระนางสุวรรณจัมปากะเทวีริษยาจึงได้เท็จทูลวา่พระโอรสเดิมเป็นหอยสังข์ พระเจ้าพรหมทัตก็หลงเชื่อเกรงจะเป็นกาลกิณีต่อบ้านเมือง จึงให้อา มาตย์จับพระนางจันทราเทวีและลูกน้อยสังข์ทองใส่แพลอยไป เมอื่แพลอนออกทะเลเกิดพายุใหญแ่พแตก พระนาจันทราเทวีถูกคลื่นซัดลอยไปติดที่ชายหาดเมืองมทัราษฎร์ พระนางก็เดินทาซัดเซพเนจรไปอาศัยบ้านเศรษฐีเมืองมัทราษฎร์ชื่อ ธนัญชัยเศรษฐี และทา หน้าที่เป็นแมค่รัว ฝ่ายพระสังข์ทองนั้นจมน้าลงไปยังนาคพิภพ พระยานาคมีจิตสงสารจึงเนรมิตเรือทอง แล้วอุ้มพระสังข์ทองใส่ไวใ้นเรือ เรือทองลอยไปถึงเมืองยักษ์ซึ่งนางยักษ์พันธุรัตปกครองอยู่ นางยักษ์เห็นพระสังข์ทองในเรือทองเกิดความรักใคร่เอ็นดู จึงนาพระสังข์ทองมาเลี้ยงดูในปราสาท และให้พี่เลี้ยงนางนมแปลงร่างเป็นคนเพื่อมิให้พระสังข์ทองหวาดกลัว พระสังข์ทองก็เติบโตอยูก่บันางยักษ์พันธุรัต นางยักษ์พันธุรัตปกติจะต้องออกไปหาสัตว์ป่ากินเป็นอาหาร เมื่อนางออกไปป่าก็จะไปครั้งละสามวนัหรือเจ็ดวนั ทุกครั้งที่ไปก็จะสั่งพระสังข์ทองวา่อย่าขึ้นไปเลน่บนปราสาทชั้นบน และในสวน พระสังข์ทองก็เชื่อฟัง แตเ่มื่อโตขึ้นก็เกิดความสงสัยอยากรู้ วนัหนึ่งเมื่อนางยักษ์พันธุรัตไปป่า พระสังข์ทองก็แอบไปในสวนส่วนที่ห้ามไว้ เห็นกระดูกสัตว์และคนเป็นจา นวนมากที่นางยักษ์กินเนื้อแล้วทิ้งกระดูกไวเ้ป็นจา นวนมาก พระสังข์ทองเห็นเชน่นั้นก็ตกใจ นึกรู้วา่มารดาเลี้ยงเป็นยักษ์ก็รู้สึกหวาดกลัว และเมื่อเดิตอ่ไปเห็นบอ่เงินบอ่ทองสวยงามพอพระสังทองเอานิ้วก้อยจุ่มลงไปนิ้วก็กลายเป็นสีทอง
  • 21. พระสังข์ทองจึงลงไปอาบทั้งตัว ร่างกายก็กลายเป็นสีทองงดงาม แล้วพระสังข์ทองก็ขึ้นไปบนปราสาทชั้นบน เห็นเกราะรูปเงาะป่า เกือกทองและพระขรรค์ พระสังข์ทองเอาเกราะเงาะป่ามาสวมก็กลายร่างเป็นเงาะป่าพอใส่เกือกทองก็รู้สึกวา่ลอยได้ พระสังข์ทองจึงหยิบพระขรรค์แล้วเหาะหนีออกจากเมืองยักษ์ และข้ามแมน่้าไปยังเมืองตักศิลา ตกเย็นจึงพักอยูที่่ศาลาริมน้า ฝ่ายนางยักษ์กลับมาไมเ่ห็นลูก และขึ้นไปที่ปราสาทชั้นบนเห็นเกราะรูปเงาะป่า เกือกทองและพระขรรค์หายไป ก็รู้ทันทีวา่พระสังข์ทองรู้วา่ตนเป็นยักษ์แล้วหลบหนีไป นางจึงเหาะตามไป เมื่อถึงฝั่งน้าเห็นพระสังข์ทองพักอยู่นางไมส่ามารถเหาะข้ามไปได้ จึงร้องไห้อ้อนวอนให้พระสังข์ทองกลับไป พระสังข์ทองยังหวาดกลัวจึงไมย่อมกลับ นางพันธุรัตเสียใจจนหัวใจแตกสลาย แตก่อ่นตายนางก็สอนมนต์หาเนื้อหาปลาให้พระสังข์ทองแล้วนางก็สิ้นใจตาย พระสังข์ทองรู้สึกเสียใจมาก หลังจากได้จัดเผาศพนางยักษ์แล้ว พระสังข์ทองก็เหาะเดินทางไปเมืองพาราณสี และได้ไปอาศัชาวบ้านชว่ยเลี้ยงโค พระสังข์ทองตอนนี้รูปร่างเป็นเงาะป่า พวกเด็กเลี้ยงโคก็มาเลน่สนิทสนมกับพระสังข์ทอง พระสังข์ ตอนหนีนางพันธุรัต บทนา บทละครเรื่องสังข์ทอง เดิมเป็นนิทานและนามาแตง่เป็นบทละคร เพื่อใช้เลน่ละครนอกตั้งแตค่รั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีตอ่มาในรัชสมยัพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหน้า นภาลัย (รัชกาลที่ 2) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องสังข์ทองขึ้นใหม่ เพื่อใช้เลน่ละครนอกของหลว พระราชประวตัิผู้แตง่ บทละครเรื่องสังข์ทองตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัตเป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ซึ่งเป็นราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1)
  • 22. และสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี มีพระนามเดิมวา่ “ฉิม” ทรงพระราชสมภพเมอื่วนัที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 ณ ตา บลอัมพวา จังหวดัสมุทรสาคร เมอื่ทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาเลา่เรียนกับสมเด็จพระวนัรัต (ทองอยู)่ แห่งวดัระฆังโฆสิตาราม เมอื่พระชนม์ได้ 16 พรรษา ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิสรสุนทร พระชมมายุ 19 พรรษา พระองค์ทรงผนวชและจา พรรษาอยูที่่วดัสมอราย (วดัราชาธิวาส) และเมอื่พระชมมายุได้ 41 พรรษา ได้อุปราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวงับวรสถานมงคล 2 ปี ตอ่มาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคร พระองค์จึงได้เสด็จเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี เมอื่วนัที่ 7 กนัยายน พ.ศ. 2352 ในรัชสมยัของพระองค์ทา่นถือได้วา่เป็นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ละครรารุ่งเรืองถึงขีดสุด พระองค์ทรงเป็นกวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรคดีร้อยกรองไวห้ลายเรื่อง และเป็นที่นิยมแพร่หลายมาจนถึงทุกวนันี้ ตัวละคร ท้าวยศวิมล เจ้าเมืองยศวิมล มีพระมเหสีสององค์ ชื่อนางจันท์เทวีและนางจันทาเทวี นางจันท์เทวี มเหสีของท้าวยศวิมล เป็นมารดาของสังข์ทอง นางจันทาเทวี มเหสีของท้าวยศวิมล มีนิสัยริษยา พระสังข์ โอรสของท้าวยศวิมลกับนางจันท์เทวี คลอดออกมาอยูใ่นหอยสังข์ ตา ยาย ชาวป่าที่นางจันท์เทวีพาหอยสังข์มาอาศัยอยูด่้วย
  • 23. พญานาค เจ้าแห่งท้องทะเลได้ชว่ยพระสังข์ที่ถูกถว่งน้าไว้ นางพันธุรัต นางยักษ์หมา้ย ที่พญานาคส่งพระสังข์ให้นางเลี้ยงดู โดยแปลงร่างเป็นหญิงงามเลี้ยงดูพระสังข์ดังลูกแท้ ๆ ของนาง เจ้าเงาะ พระสังข์ที่สวมรูปเงาะไว้ ท้าวสามล เจ้าเมืองสามล มีมเหสีชื่อนางมณฑาเทวี มีธิดาทั้งหมดเจ็ดองค์ นางมณฑาเทวี มเหสีของท้าวสามล นางรจนา พระราชธิดาองค์สุดท้ายของท้าวสามลและมเหสีมณฑาเทวี พระอินทร์ เจ้าแห่งสวรรค์ แปลงกายลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อท้าพนันตีคลีเอาเมืองสามลเพื่อชว่ยพระสังข์และนางรจนา ของวิเศษ เรื่องยอ่ ท้าวยศวิมลครองเมืองยศวิมล มีพระมเหสีสององค์ชื่อนางจันท์เทวีและนางจันทาเทวี แตไ่มมี่โอรสไว้สืบราชสมบัติ ท้าวยศวิมลและพระมเหสีจึงได้บา เพ็ญศีลเพื่อขอโอรส ตอ่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์โหรหลวงทา นายวา่จะมีโอรสที่มีบุญญาธิการมาก เมอื่นางจันท์เทวีคลอดโอรสเป็นหอยสังข์นางจันทาเทวีคิดริษยาจึงสมคบกบัโหรหลวงทา นายวา่เป็นกาลกิณี ตอ่บ้านเมือง ท้าวยศวิมลจึงขับไลน่างจันท์เทวีและหอยสังข์ออกจากเมือง
  • 24. นางไปขออาศัยอยูก่บัตายายที่ในป่า นางจันท์เทวีได้รับความลา บาก ต้องตักน้าตา ข้าว เข้าป่าเก็บผักหาฝืนเลี้ยงชีวิต พระสังข์เห็นพระมารดาได้รับความยากลา บาก จึงออกจากหอยสังข์มาหุงข้าวหุงปลาดูแลบ้านชอ่ง นางจันท์เทวีสงสัยจึงทา ทีออกไปเก็บผักหาฟีนแล้วซอ่นตัวอยู่เมอื่เห็นพระสังข์ออกจาหอยสังข์ นางจันท์เทวีก็แอบกลับเข้าไปในกระทอ่มใช้ไมทุ้บหอยสังข์แตก พระสังข์จึงกลับเข้าไปในหอยสังข์ไมไ่ด้อีกตอ่ไปนางจันทาเทวีทราบข่าววา่นางจันท์กบัพระสังข์ไปอยูกั่บต ายายในป่า จึงทูลยุยงท้าวยศวิมลให้เสนาอา มาตย์จับพระสังข์ไปฆา่ด้วยวิธีตา่ง ๆ แตไ่มส่ามารถฆา่พระสังข์ได้ท้าวยศวิมลจึงให้นาพระสังข์ไปถ่วงน้าที่ท้องทะเล พญานาคที่อยูใ่ต้ท้องทะเลได้ชว่ยพระสังข์ไว้และส่งพระสังข์ไปอยูก่บันางพันธุรัตซึ่งเป็นยักษ์ พระสังข์อยูก่บันางพันธุรัตซึ่งแปลงกายเป็นมนุษย์จนอายุได้ 15 ปี วนัหนึ่งพระสังข์ลอบไปที่ครัวไฟ พบซากมนุษย์ซากสัตว์และโครงกระดูกมากมาย จึงรู้วา่นางพันธุรัตเป็นยักษ์ พระสังข์ไปพบบอ่เงิน บอ่ทอง ลองจุม่นิ้วลงไปจึงรู้วา่ชุปตัวได้จากนั้นก็พบรูปเงาะ เกือกแกว้ และไมเ้ท้า จึงลองสวมรูปเงาะ สวมเกือกแกว้ และถือไมเ้ท้า ปรากฎวา่สามารถเหาะได้ พระสังข์ถอดรูปเงาะเก็บไวต้ามเดิม และคิดจะหนีนางพันธุรัตเพื่อสืบหานางจันท์เทวีตอ่ไป ตอ่ไปนี้เป็นบทละครเรื่อง สังข์ทอง ตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัต นางพันธุรัตได้ออกไปในป่า จับววัควายกินเป็นอาหารอยูจ่นเย็นและพักผอ่นนอนหลับอยูก่ลางป่า ส่วนพี่เลี้ยงนางนม ตื่นนอนขึ้นมาไมเ่ห็นพระสังข์ ตา่งตกใจเที่ยวตามหาพระสังข์ยังที่ตา่ง ๆ แตก่็ไมพ่บ นางพันธุรัตเที่ยวเลน่ในป่าเป็นเวลาหลายวนัก็ได้เดินทางกลับเข้ามาในเมือง
  • 25. นางรีบตรงไปยังปราสาทของพระสังข์ รู้วา่พระสังข์ได้ชุบตัวในบอ่ทอง และลักรูปเงาะพร้อมไมเ้ท้าและเกือกแกว้หนีออกจากเมือง จึงตีกลองสัญญาณเรียกยักษ์และภูตผีทั้งหลายให้มาชุมชุมกนัฝ่ายพวกยักษ์และภูตผีทั้งหลายได้ยินเสียงกลอง ตา่งก็มาเฝ้านางพันธุรัต นางพันธุรัตจึงเตรียมพลโยธาออกติดตามพระสังข์มาจนพบพระสังข์บนยอดเขา พระสังข์เกรงวา่นางพันธุรัตจะติดตามขึ้นมาบนยอดเขา จึงอธิษฐานอยา่ให้นางพันธุรัตขึ้นบนยอดเขาได้เพื่อจะได้ติดตามหาพระมารดาของตน พระสังข์สวมรูปเงาะเหาะมาถึงเมืองสามล มาอาศัยอยูที่่ชายทุม่ มีพวกเด็กเลี้ยงควายเป็นเพื่อนเลน่ ท้าวสามลมีพระมเหสีชื่อ นางมณฑาเทวี มีพระธิดาเจ็ดองค์แตห่ามีพระโอรสไม่ ท้าวสามลจึงให้พระธิดาทั้งเจ็ดองค์เลือกคู่ครองพระธิดาผู้พี่เลือกคูค่รองเป็นผู้มีรูปร่างงดงาม แตน่างรจนาพระธิดาองค์สุดท้องเลือกได้เจ้าเงาะ ท้าวสามลโกรธจึงไลน่างรจนากับเจ้าเงาะไปอยูที่่กระท่อมปลายนา ทั้งสองคนได้รับความลา บากมาก ฝ่ายพระอินทร์เห็นวา่นางรจนากบัเจ้าเงาะเป็นคนดี ได้รับความลา บาก จึงแปลงกายลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ยกทัพมาท้าพนันตีคลีเอาบ้านเอาเมืองเพื่อชว่ยเจ้าเงาะกบันางรจนาหกเขยออกตีคลีแพ้ ท้าวสามลอ้อนวอนให้เจ้าเงาะชว่ย เจ้าเงาะถอดรูปเป็นพระสังข์ ตีคลีชนะพระอินทร์ ทา ให้เมืองสามลไมถู่กพระอินทร์ริบ ท้าวสามลจึงได้พระสังข์ครองเมืองสามล พระอินทร์เห็นวา่นางจันท์เทวีได้รับความลา บาก หวงัที่จะชว่ยเหลือคนดี จึงสั่งให้ท้าวยศวิมลออกติดตามหานางจันท์ทวีและพระสังข์ ท้าวยศวิมลจึงให้เสนาอา มาตย์สืบหานางจันท์เทวีจนพบและพระองค์ออกไปรับนางกลับคืนพระนคร ท้าวยศวิมลและนางจันท์เทวีได้ปลอมตนเป็นชาวบ้านเดินทางไปยังเมือสามล นางจันท์เทวีได้เข้าไปอยูก่บัคนทา อาหารในวงั นางสลักชิ้นฟักเป็นเรื่องราวของพระสังข์ เมอื่พระสังข์จะเสวยชิ้นฟักได้สังเกตเห็นเรื่องราวของตนก็ทราบวา่พระมารดาเป็นคนครัว จึงออกไปรับพระมารดาเข้าวงั และให้เสนาอา มาตย์ไปรับพระบิดาเข้าวงัด้วยพระสังข์ พระบิดาและพระมารดาได้ลาท้าวสามลและนางมณฑาเทวีเดินทางกลับเมืองของตนพร้อมด้วยรจนา