SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
รามเกียรติ์
  ประวัตโขน
        ิ


  กําเนิดโขน
รามเกียรติ์



นางนันทวรรณ สามคํา
                       กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
                 โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
ประวัตโขน และกําเนิดโขน
      ิ
       โขนเป็ นนาฏกรรมที่มีศิลปะเป็ นแบบฉบับของตนเอง คํา
  ว่า "โขน" ไม่ทราบแน่ชดว่ามีมาตั้งแต่สมัยใด ซึ่ งได้มีกล่าวไว้
                          ั
  ในลิลิตพระลอเล่าถึงงานมหรสพในงานพระศพของพระลอ
  และพระเพื่อนพระแพงว่า "ขยายโรงโขนโรงรํา ทําระทาราว
  เทียน" คําว่า "โขน" มีกล่าวไว้ในหนังสื อของชาวต่างประเทศ
  เป็ นการกล่าวถึงศิลปะแห่ งการเล่นของไทยในรัชสมัยสมเด็จ
  พระนารายณ์มหาราช ซึ่ งเป็ นที่นิยมและยึดถือเป็ นแบบแผน
  กันมานาน มีขอสันนิษฐานว่าโขนน่าจะมาจากคําในภาษาต่าง
                  ้
  ๆ ดังนี้
1. โขนในภาษาเบงคาลี ซึ่งมีคาว่า "โข
                                     ํ
ละ หรื อโขล" ซึ่งเป็ นชื่อของเครื่ องดนตรี
ประเภทหนัง ชนิดหนึ่งของฮินดู โดยตัว
รู ปร่ างคล้ายมฤทังคะ (ตะโพน) ส่ วนใหญ่
เป็ นเครื่ องดนตรี ที่พวกไวษณพนิกายใน
แคว้นแบงกอลนิยมใช้ประกอบการเล่น
ชนิดหนึ่งที่เรี ยกว่า "ยาตรา" ซึ่ งหมายถึง
ละครเร่ และหากเครื่ องดนตรี ชนิดนี้ได้
เคยนําเข้ามาในดินแดนไทยแล้วนํามาใช้
ประกอบการเล่นนาฏกรรมชนิดหนึ่ง เรา
จึงเรี ยกการแสดงชุดนั้นว่า "โขล" ตามชื่อ
เครื่ องดนตรี
2. โขนในภาษาทมิฬ เริ่ มจากคําว่า โขล
มีคาเพียงใกล้เคียงกับ "โกล หรื อ โกลัม"
   ํ
ในภาษาทมิฬ ซึ่งหมายถึงเพศ หรื อการ
แต่งตัวหรื อการประดับตกแต่งตัวตาม
ลักษณะของเพศงอนขึ้นก็เรี ยกว่า "โขน"
3. โขนในภาษาอิหร่ าน มาจากคําว่า "ษูรัต ควาน" (Surat khwan) ซึ่งษูรัตแปลว่า
ตุกตาหรื อหุ่น ซึ่ งผูอ่านหรื อผูขบร้องแทนตุกตาหรื อหุ่นเรี ยกว่า "ควาน"หรื อโขน
  ๊                   ้          ้ั         ๊
(Khon) ซึ่งคล้าย ๆ กับผูพากย์และผูเ้ จรจาอย่างโขน หากที่มาของโขนมาจากคํา
                          ้
ใภาษาเบงคาลี ภาษาทมิฬและภาษาอิหร่ าน ก็คงจะมาจากพวกพ่อค้าวาณิ ช และ
ศาสนาจารย์ของชาวพื้นเมืองประเทศนั้น ๆ แพร่ มาสู ดินแดนในหมู่เกาะชวา มาลายู
และแหลมอินโด
4. โขนในภาษาเขมร ในพจนานุกรมภาษาเขมร มีคาว่า "ละคร" แต่เขียนเป็ น
                                             ํ
อักษรว่า "ละโขน" ซึ่งหมายถึงมหรสพอย่างหนึ่งเล่นเรื่ องต่าง ๆ กับมีคาว่า
                                                                   ํ
"โขล" อธิบายไว้ในพจนานุกรมเขมรว่า "โขล ละคอนชายเล่นเรื่ องรามเกียรติ์"
(ธนิต อยูโพธิ์. 2511. : 23 - 29)
         ่
จากข้อสันนิษฐานต่างๆ ยังมิอาจสรุ ป
ได้แน่นอนว่า "โขน" เป็ นคํามาจากภาษาใด
แต่เมื่อเปิ ดพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึ่งใช้กนใน    ั
              ็
ยุคสมัยนี้กจะพบว่า โขน หมายถึง การเล่น
อย่างหนึ่งคล้ายละครรํา แต่เล่นเฉพาะใน
เรื่ องรามเกียรติ์ โดยผูแสดงสวมหัวจําลอง
                        ้
ต่าง ๆ ที่เรี ยกว่า หัวโขน หรื ออีกความหมาย
หนึ่งหมายถึง ไม้ที่ต่อเสริ มหัวเรื อท้ายเรื อให้
งอนเชิดขึ้นไป เรี ยกว่า "โขนเรื อ" เรี ยกเรื อ
ชนิดหนึ่งที่มีโขนว่า เรื อโขน เช่น เรื อโขน
ขนาดใหญ่นอย เหลือหลาย (ลิลิตพยุหยา
                ้
ตรา) หรื อส่ วนสุ ดทั้ง 2 ข้างของรางระนาด
หรื อฆ้องวง ที่งอนขึ้นก็เรี ยกว่า "โขน"
งานนำเสนอรามเกียรติ์

More Related Content

Similar to งานนำเสนอรามเกียรติ์

นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลปpeter dontoom
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมAttaporn Saranoppakun
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกItt Bandhudhara
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257CUPress
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
หุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกหุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกleemeanxun
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นFaRung Pumm
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

Similar to งานนำเสนอรามเกียรติ์ (20)

นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลป
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
หุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกหุ่นกระบอก
หุ่นกระบอก
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
01
0101
01
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

งานนำเสนอรามเกียรติ์

  • 2. รามเกียรติ์ นางนันทวรรณ สามคํา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 3. ประวัตโขน และกําเนิดโขน ิ โขนเป็ นนาฏกรรมที่มีศิลปะเป็ นแบบฉบับของตนเอง คํา ว่า "โขน" ไม่ทราบแน่ชดว่ามีมาตั้งแต่สมัยใด ซึ่ งได้มีกล่าวไว้ ั ในลิลิตพระลอเล่าถึงงานมหรสพในงานพระศพของพระลอ และพระเพื่อนพระแพงว่า "ขยายโรงโขนโรงรํา ทําระทาราว เทียน" คําว่า "โขน" มีกล่าวไว้ในหนังสื อของชาวต่างประเทศ เป็ นการกล่าวถึงศิลปะแห่ งการเล่นของไทยในรัชสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ซึ่ งเป็ นที่นิยมและยึดถือเป็ นแบบแผน กันมานาน มีขอสันนิษฐานว่าโขนน่าจะมาจากคําในภาษาต่าง ้ ๆ ดังนี้
  • 4. 1. โขนในภาษาเบงคาลี ซึ่งมีคาว่า "โข ํ ละ หรื อโขล" ซึ่งเป็ นชื่อของเครื่ องดนตรี ประเภทหนัง ชนิดหนึ่งของฮินดู โดยตัว รู ปร่ างคล้ายมฤทังคะ (ตะโพน) ส่ วนใหญ่ เป็ นเครื่ องดนตรี ที่พวกไวษณพนิกายใน แคว้นแบงกอลนิยมใช้ประกอบการเล่น ชนิดหนึ่งที่เรี ยกว่า "ยาตรา" ซึ่ งหมายถึง ละครเร่ และหากเครื่ องดนตรี ชนิดนี้ได้ เคยนําเข้ามาในดินแดนไทยแล้วนํามาใช้ ประกอบการเล่นนาฏกรรมชนิดหนึ่ง เรา จึงเรี ยกการแสดงชุดนั้นว่า "โขล" ตามชื่อ เครื่ องดนตรี
  • 5. 2. โขนในภาษาทมิฬ เริ่ มจากคําว่า โขล มีคาเพียงใกล้เคียงกับ "โกล หรื อ โกลัม" ํ ในภาษาทมิฬ ซึ่งหมายถึงเพศ หรื อการ แต่งตัวหรื อการประดับตกแต่งตัวตาม ลักษณะของเพศงอนขึ้นก็เรี ยกว่า "โขน"
  • 6. 3. โขนในภาษาอิหร่ าน มาจากคําว่า "ษูรัต ควาน" (Surat khwan) ซึ่งษูรัตแปลว่า ตุกตาหรื อหุ่น ซึ่ งผูอ่านหรื อผูขบร้องแทนตุกตาหรื อหุ่นเรี ยกว่า "ควาน"หรื อโขน ๊ ้ ้ั ๊ (Khon) ซึ่งคล้าย ๆ กับผูพากย์และผูเ้ จรจาอย่างโขน หากที่มาของโขนมาจากคํา ้ ใภาษาเบงคาลี ภาษาทมิฬและภาษาอิหร่ าน ก็คงจะมาจากพวกพ่อค้าวาณิ ช และ ศาสนาจารย์ของชาวพื้นเมืองประเทศนั้น ๆ แพร่ มาสู ดินแดนในหมู่เกาะชวา มาลายู และแหลมอินโด
  • 7. 4. โขนในภาษาเขมร ในพจนานุกรมภาษาเขมร มีคาว่า "ละคร" แต่เขียนเป็ น ํ อักษรว่า "ละโขน" ซึ่งหมายถึงมหรสพอย่างหนึ่งเล่นเรื่ องต่าง ๆ กับมีคาว่า ํ "โขล" อธิบายไว้ในพจนานุกรมเขมรว่า "โขล ละคอนชายเล่นเรื่ องรามเกียรติ์" (ธนิต อยูโพธิ์. 2511. : 23 - 29) ่
  • 8. จากข้อสันนิษฐานต่างๆ ยังมิอาจสรุ ป ได้แน่นอนว่า "โขน" เป็ นคํามาจากภาษาใด แต่เมื่อเปิ ดพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึ่งใช้กนใน ั ็ ยุคสมัยนี้กจะพบว่า โขน หมายถึง การเล่น อย่างหนึ่งคล้ายละครรํา แต่เล่นเฉพาะใน เรื่ องรามเกียรติ์ โดยผูแสดงสวมหัวจําลอง ้ ต่าง ๆ ที่เรี ยกว่า หัวโขน หรื ออีกความหมาย หนึ่งหมายถึง ไม้ที่ต่อเสริ มหัวเรื อท้ายเรื อให้ งอนเชิดขึ้นไป เรี ยกว่า "โขนเรื อ" เรี ยกเรื อ ชนิดหนึ่งที่มีโขนว่า เรื อโขน เช่น เรื อโขน ขนาดใหญ่นอย เหลือหลาย (ลิลิตพยุหยา ้ ตรา) หรื อส่ วนสุ ดทั้ง 2 ข้างของรางระนาด หรื อฆ้องวง ที่งอนขึ้นก็เรี ยกว่า "โขน"