SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ดนตรีพื้นบ้านอีสาน 
ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้ง เพราะพื้นดินไม่เก็บน้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้าจะท่วม แต่ชาวอีสานนั้นส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ ทานา และมีนิสัยเป็นคน ชอบสนุกสนาน จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจาวันหรือ เกิดจากประเพณีตามฤดูกาล โดยจะเห็นได้จาก การแสดงต่างๆ เช่น เซิ้งบุญบั้งไฟ เซิ้งแห่นางแมว การฟ้อน รา ต่างๆ ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะชาวอีสาน คือ ลีลาและจังหวะการก้าวท้าว มีลักษณะคล้ายเต้ย แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและสะบัดปลายเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของการเซิ้ง ดนตรีอีสาน ถือ ว่า เป็นเครื่องดนตรีประจาท้องถิ่นของชาวอีสาน มีการประดิษฐ์จากวัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ และหาได้ ตามท้องถิ่นได้ง่าย ดนตรีพื้นเมืองอีสานสามารถแบ่งออกตามลักษณะของเครื่องดนตรี ได้ 4 ประเภท คือ 1. เครื่องดีด ได้แก่ พิณ 2. เครื่องสี ได้แก่ ซออีสาน 3. เครื่องตี ได้แก่ โปงลาง กลองยาว เกราะ ฯลฯ 4. เครื่องเป่า ได้แก่ แคน หึน เป็นต้น ดนตรีอีสาน ส่วนใหญ่แล้วการบรรเลงจะเป็นลักษณะแบบชาวบ้านไม่มีแบบแผนมากนัก ใช้ในการ ประกอบการแสดง ในงานรื่นเริง สนุกสนาน หรือ ใช้ในพิธีกรรมของชาวอีสาน 
แนะนาเครื่องดนตรี 
พิณ แคน โปงลาง กลองรามะนา เบสอีสาน กลองหาง โหวด
2 
เครื่องดนตรีประเภทพิณ 
พิณ หรือ ซุง เป็นเครื่องดนตรีประเภทสายชนิดดีด ( Plucked Stringed Instrument) ตระกูลเดียวกับ ซึง กระจับปี่ จะเข้ แมนโดลิน ใช้บรรเลงดาเนินทานอง นิยม ทามาจากไม้ท่อนเดียว จึงเรียกว่า ซุง ปัจจุบัน เรียกว่า พิณ ไม้ที่ทาพิณนั้นส่วนมากใช้ไม้ ขนุน เพราะง่ายแก่การขูด เจาะ บาก ได้ง่าย เมื่อไม้แก่เต็มที่ไม้จะมีสีสดใสเป็นสีเหลือง สวยงามตามธรรมชาติพิณ มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย อ้างอิงได้จากข้อความในหนังสือไตรภูมิ พระร่วง ที่กล่าวถึงการละเล่นพื้นเมืองและการเล่นดนตรีในสมัยนั้นว่า ลางจาพวกดีดพิณและสีซอพุงตอและ กรับฉิ่ง เริงราจับระบาเต้นเล่น ซึ่งให้ความหมายว่า พิณ ใช้เล่นกับซอสามสาย ประกอบกับฉิ่ง กรับมาตั้งแต่ สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีอีกประการหนึ่ง ชาวไทยเรารู้จักคาว่าพิณมาพร้อมกับ พุทธประวัติ ตอนที่ พระ อินทราธิราชเสด็จลงมาดีดพิณสามสาย ถวายเพื่อเป็นอนุสติแก่พระพุทธเจ้าก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้ ว่าการ บาเพ็ญเพียรแสวงหาโษษกธรรมนั้นถ้าเคร่งครัดนักก็เปรียบเสือนการขึ้นสายพิณให้ตรึงเกินไปแล้วย่อมขาด ถ้าหย่อนยานนักไม่มีเสียงไพเราะ แต่ถ้าทาอยู่ในขั้น มัชฌิมาปานกลาง ก็เหมือนการขึ้นสายพิณแต่เพียงพอดี กับระดับเสียง ย่อมให้เสียงดังกังวานไพเราะ แจ่มใสดังใจความในวรรณคดีเรื่อง “พระปฐมสมโพธิกถา” พระราชนิพนธ์ ของ สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ว่า “...ขณะนั้น สมเด็จอมรินทราธิราชทราบในข้อปริวิตก ดังนั้นจึงทรง พิณพาทย์ สามสาย มาดีดถวายพระมหาสัตย์ สายหนึ่งเคร่งนักพอดีดก็ขาดออกไปเข้าก็ไม่ บันลือเสียง และสายหนึ่งนั้นไม่เคร่งไม่หย่อนปานกลาง ดีดเข้าก็บันลือศัพท์ไพเราะเจริญจิต พระมหาสัตย์ ได้สดับเสียงพิณก็ถือเอานิมิตนั้นทรงพิจารณาเห็นแจ้งว่า “..มัชฌิมาปฏิบัตินั้นเป็นหนทางพระโพธิญาณ....”
3 
ขนาดและสัดส่วนของพิณ 
เต้าพิณ มีความกว้างไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว ตามยาวจากกล่องเสียงหรือเต้าพิณถึงหย่อง 14 นิ้ว หรือจาก หย่องสุดท้ายพาดสายไปถึงหย่องหน้าประมาณ 22 นิ้ว เจาะร่องสาหรับใส่ลูกบิดประมาณ 3 นิ้ว ขั้น(เฟรท) มี ขนาดพอเหมาะไม่สั้นหรือยาวเกินไป ซึ่งจะทาให้ผู้ฝึกหัดใหม่สามารถกดนิ้วได้สะดวก 
ส่วนประกอบของพิณ 
1. ลูกบิด ปัจจุบันลูกบิดที่ใช้มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1.1 ลูกบิดไม้ มีลักษณะคล้ายกับลูกบิดซอด้วง ซออู้ ในเครื่องดนตรีไทย 1.2 ลูกบิดกีต้าร์ ใช้ลูกบิดกีต้าร์แทนเพื่อความคงทน และสะดวกในการใช้งาน 2. สายพิณ ในอดีตใช้สายเบรครถจักรยานเส้นเล็กๆ แต่สายพิณ ในปัจจุบันนิยมใช้สายกีต้าร์ไฟฟ้า 3. คอนแทรกไฟฟ้า ในกรณีที่พิณเป็นพิณไฟฟ้า คอนแทรก (contact) เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนไมโครโฟน 4. หย่องพิณ นิยมใช้หย่องที่ทาจากไม้เนื้อแข็ง 5. ขั้นพิณ (fret) ใช้ติวไม้ไผ่ติดที่คอพิณ หรือ ลวดทองเหลือง ติด
4 
การตั้งสายพิณ ลายพิณ หมายถึง กลอนของพิณ หรือเพลง เช่น ลายลาเพลิน ลายสุดสะแนน ลายกาเต้นก้อน เป็น ต้น ลักษณะการตั้งลายพิณนั้นสามารถตั้งได้หลายวิธีตามโอกาสที่จะนาไปใช้บรรเลงของแต่ละคน สามารถ แบ่งออกได้ 4 แบบใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ 1. การตั้งลายพิณแบบลายลาเพลิน การตั้งสายพิณแบบนี้เป็นที่นิยมกันมากเพราะสามารถบรรเลงได้ง่าย เสียงทุ้มให้ความสนุกสนาน เสียงที่ตั้งสามารถตั้งได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง มี สายที่ 2 เป็นเสียง ลา สายที่ 3 เป็นเสียง มี (ต่า) 
2. การตั้งลายพิณแบบเซิ้ง การตั้งลายพิณแบบนี้จะเล่นยาก และสามารถเล่นได้ทั้งลายลาเพลินและเพลงรวมทั้งการจับคอร์ด พิณได้ เสียงที่ตั้งสามารถตั้งได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง ลา สายที่ 3 เป็นเสียง มี (ต่า)
5 
3. การตั้งลายพิณแบบสายคู่ การตั้งสายพิณแบบนี้ ให้เสียง 2 เสียงเหมือนกัน สามารถตั้งสายได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง เร สายที่ 3 เป็นเสียง มี 
4. การตั้งลายพิณแบบสุดสะแนน สามารถตั้งสายพิณได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง ที สายที่3 เป็นเสียง มี (ต่า)
6 
เครื่องดนตรีประเภทแคน 
แคน เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมือง ที่เป็นมรดกภาคอีสานที่เก่าแก่ที่สุด แคนเป็นเครื่อง ดนตรีที่มีความไพเราะ มีความซับซ้อนของเสียงมาก แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าเป็น เพลง ใครเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีนี้ขึ้นมานั้น ไม่สามารถบอกได้หรือไม่มีหลักฐานที่ แน่นอนยืนยันได้ แต่มีเพียงประวัติตานานที่เล่าขานกันสืบเรื่อยต่อมา ดังนี้ครั้งก่อนนั้นมี พราหมณ์คนหนึ่งได้เข้าไปในป่าเพื่อหาล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตของชาวบ้าน และพราหมณ์นั้น ได้เดินเข้าไปในป่าลึก ก็ได้ยินเสียงแววๆ มา มีความไพเราะมาก มีทั้งเสียงสูง เสียงต่า บ้างสลับกันไป แล้วพราณห์ก็ได้เข้าไปดูว่าเสียงนั้นมาจากที่ใด ทันใดนั้น ก็มองเห็นเป็นเสียงร้องของนกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “นกการเวก” จากนั้นก็ได้เดินทางกลับบ้าน แล้วนาเรื่องที่ตนได้ยินมานั้นไปเล่าให้ชาวบ้านได้ฟัง และมีหญิงหม้ายคนหนึ่งพอได้ฟังแล้วเกิดความสนใจอย่างมาก เลยขอติดตามนายพราณห์เข้าไปในป่า เพื่อไปดูนกการเวก ว่ามีความไพเราะจริงหรือไม่ ครั้งหญิงหม้ายได้ฟังเสียงนกการเวกร้องก็เกิดความไพเราะ เพลิดเพลินและติดอกติดใจ มีความคิดอย่างเดียวว่า จะทาอย่างไรดีถ้าต้องการฟังอีก ครั้งจะติดตามนก การเวกนี้ไปฟังคงจะยากแน่นอน จึงคิดที่จะทาเครื่องแทนเสียงร้องนกการเวก ให้มีเสียงเสนาะออนซอนจับ ใจ ดุจดังเสียงนกการเวกนี้ให้จงได้ เมื่อหญิงหม้ายกลับถึงบ้าน ก็ได้คิดทาเครื่องดนตรีต่างๆ เช่น ดีด สี ตี เป่า หลายๆ อย่าง ก็ยังไม่มีเสียงดนตรีชนิดใดมีเสียงไพเราะเหมือนกับเสียงนกการเวก ในที่สุดนางก็ได้ไปตัดไม้ ชนิดหนึ่ง เอามาประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง รู้สึกว่าค่อนข้างไพเราะ จึงได้พยายามดัดแปลง แก้ไขอีกหลายๆ ครั้ง จนกระทั่งเกิดเป็นเสียงไพเราะ เหมือนเสียงร้องของนกการเวก จนในที่สุดเมื่อได้แก้ไข ครั้งสุดท้ายแล้วลองเป่ารู้สึกไพเราะ ออนซอนจับใจ ดุจดังเสียงนกการเวก นางจึงมีความรู้สึกดีใจใน ความสาเร็จของตนเป็นพ้นที่ได้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีได้เป็นคนแรก จึงคิดที่จะไปทูลเกล้าถวายพระเจ้าป เสนทิโกศล และนางยังได้ฝึกหัดเป่าลายต่างๆ จนเกิดความชานาญเป็นอย่างดี จึงนาเครื่องดนตรีไปเข้าเฝ้าฯ ถวาย แล้วนางก็ได้เป่าลายเพลงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลฟัง เมื่อฟังเพลงจบแล้วพระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมี ความพึงพอใจอย่างมากที่มีเครื่องดนตรีประเภทนี้เกิดขี้นและทรงตั้งชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “แคน” ด้วย เหตุนี้เครื่องดนตรีที่หญิงหม้ายที่ได้ประดิษฐ์ขึ้น โดยใช้ไม้ไผ้น้อยเรียงติดต่อกันใช้ปากเป่า จึงได้ชื่อ ว่า “แคน” มาตราบเท่าทุกวันนี้และ แคน ยังมีหลายท่านที่ให้ความหมายของคาว่าแคน บ้างกล่าวว่าแคนเรียก ตามเสียงของแคน โดยเวลาเป่าเสียงแคนจะดังออกมาว่า แคนแล่นแคน แล่นแคน แล่นแคน แต่บางท่านก็ให้ ความหมายว่า แคน เรียกตามไม้ที่นามาทาเต้าแคน คือ ไม้ที่ทาเต้าแคนนั้น นิยมใช้ไม้ตะเคียน หรือภาษา อีสานเรียกว่าไม้แคนจากการสันนิษฐานจากนิยายเรื่อง หญิงหม้าย แล้วยังสันนิษฐานว่าแคนได้รับอิทธิพลมี ที่มาอยู่ 2 ประการ คือ
7 
ประการที่หนึ่ง ทางด้านโบราณคดี ในประเทศจีนซึ่งเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ได้บ่งบอกว่า เคย เป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทย ได้มีการขุดพบหลุมฝังศพของหญิงสาวราชินีกุลคนหนึ่ง แถวมณฑลฮูนาน ราว 2,000 ปี ได้ค้นพบเครื่องดนตรีจานวนมากมาย เช่น ขลุ่ย และเครื่องดนตรีสาหรับเป่าที่มีรูปร่างคล้ายกับ แคน แต่มีเต้ายาวมาก เหมือนแคนชาวเขา เผ่ามูเซอ แถบภาคเหนือของไทย นั้นแสดงว่า เครื่องดนตรี ประเภทนี้เคยมีอยู่แล้วในประเทศจีน ประการที่สอง ด้านวรรณคดี จากวรรณคดีพื้นบ้านอีสานได้พบการใช้แคนอยู่หลายเรื่อง เช่น เรื่องท้าว ฮุ่งท้าวเจือง และท้าวก่ากาดา และเรื่องท้าวก่ากาดา มีตอนหนึ่งว่า กาดาใช้แคนเป่าจีบสาว ดังว่า ท้าวก็เป่าจ้อยๆ คือเสียงเสพเมืองสวรรค์ จนว่าฝูงคนเฒ่าเหงานอนหายส่วง จนว่าสาวแม่ฮ้าง คะนงโอ้อ่าวผัว ฝูงพ่อฮ้างคิดฮ่าคนึงเมีย เหลือทนทุกข์ผู้เดียวนอนแล้ว เป็นที่อัศจรรย์แท้เสียงแคนท้าวก่า ไผ่ได้ฟังม่วนแม้งในสว่างว่างเว ฝูงกินข้าวคาคอค้างอยู่ ฝูงอาบน้าป๋าผ่า แล่นมา ในปัจจุบันนี้ แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความเก่าแก่มากที่สุด เป็นเครื่องดนตรีที่มีความนิยมเป่ากัน มาก โดยเฉพาะชาวจังหวัดขอนแก่น ถือเอาแคนเป็นเอกลักษณ์ชาวขอนแก่น รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีประจา ภาคอีสานตลอดไป และในปัจจุบันนี้ชาวบ้านได้มีการประดิษฐ์ทาแคนเป็นอาชีพอย่างมากมายเช่น อ.นาหว้า จ.นครพนม จะทาแคนเป็นอาชีพทั้งหมู่บ้าน รวมทั้ง จังหวัดอื่นๆ อีกมากมาย และแคนยังเป็นเครื่องดนตรีที่ นามาเป่าประกอบการแสดงต่างๆ เช่นแคนวง วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง รวมทั้งมีการเป่าประกอบ พิธีกรรมของชาวอีสาน เช่า ราผีฟ้า ราภูไท เป็นต้น รวมทั้งเป่าประกอบหมอลากลอน ลาเพลิน ลาพื้น รวมทั้งหมอลาซิ่ง ยังขาดแคนไม่ได้
8 
ประเภทของแคน 
แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทใช้ปากเป่าดูดลมเข้า-ออก ทามาจากไม้กู่แคนหรือไม้ซาง ตระกูลไม้ ไผ่ มีมากในเทือกเขาภูพวน แถบจังหวัดร้อยเอ็ด นครพนม ฝั่งประเทศลาวและภาคเหนือของไทย ลักษณะนามการเรียกชื่อแคนว่า “เต้า”
9
10
11
12 
ส่วนประกอบของแคน 1. ไม้กู่แคน 2. ไม้เต้าแคน 3. หลาบโลหะ (ลิ้นแคน) 4. ขี้สูท 5. เครือย่านาง
13 
เทคนิคการเป่าแคน การเป่าแคนจะนั่งเป่าหรือยืนเป่าก็ได้ โดยมีวิธีการเป่าแคนดังนี้ 1. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ 2. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ต้องการ 3. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก ตามเสียงที่ต้องการ 4. ขยับนิ้วตามเสียงที่ต้องการ โน้ตแคน มือซ้ายลูกที่ มือขวาลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ 1 2 โด 3 6 เร 4 7 มี 5-7 - ฟา 6 3 ซอล - 1-4 ลา 2 5 ที การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน โน้ตแคน นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ หัวแม่มือ 1 โด ชี้ 2-3 ที-เร กลาง 4-5 มี-ฟา นาง 6-7 ซอล-ฟา ก้อย 8 เสพซ้าย
14 
การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน โน้ตแคน 
นิ้วมือซ้าย 
ลูกที่ 
ระดับเสียงที่ได้ 
หัวแม่มือ 
1 
ลา 
ชี้ 
2-3 
โด-ซอล 
กลาง 
4-5 
ลา-ที 
นาง 
6-7 
เร-มี 
ก้อย 
8 
เสพขวา 
ลักษณะการวางนิ้วแคนแปด
15 
เครื่องดนตรีประเภทโปงลาง 
โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก "เกราะลอ" หรือ ขอลอ คา ว่า "โปงลาง" นี้ ใช้เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทางภาคอีสานตอนกลางและ ตอนเหนือ ความหมายของโปงลางนั้นมาจากคา ๒ คา คือ คาว่า "โปง" และ "ลาง" โปง เป็น สิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีในยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระบิณฑบาตให้ ญาติโยมเตรียมตัวตักบาตร ตีเวลาเย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะเสียง โปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคาว่า ลาง นั้น หมายถึง ลางดี ลาง ร้าย โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อเรียกว่า "เกราะลอ" ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดยย่อคือ ท้าว พรหมโคตร ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมาก่อนเป็นผู้ที่คิดทาเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ "เกราะ" ที่ใช้ตีตาม หมู่บ้านในสมัยนั้น เกราะลอทาด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สีขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียง กัน ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา เนื่องจากเกราะลอใช้สาหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ นา ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า เถียงนา) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนาจะ พักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตีนอกหมู่บ้าน เท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีในหมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็นต้น การเรียนการตีเกราะลอในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่ต้องอาศัยการจาโดยการจาทานอง ของแต่ละลาย เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลายคือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ และลายสุดสะแนน เช่นเดียวกับ ลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อนามาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก โปงลาง มีลักษณะวิธีการ บรรเลงคล้ายกับระนาดเอก คือนาท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อยติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทานองเพลง แขวนตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติดกับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปในหลาย ประเทศ สาหรับในประเทศไทยพบในแถบภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อด้วยกัน เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือหมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมี เสียงดังกังวานคล้าย ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน) ในปัจจุบัน โปงลางนอกจากจะใช้บรรเลงตามลาพังแล้ว ยังนิยมบรรเลงรวมวงกับเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น พิณ แคน โหวด กลอง ประกอบการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน รวมทั้งการแสดงร่วมกับเครื่องดนตรี สากล อีกด้วย
16 
ส่วนประกองของโปงลาง 
การเทียบเสียงโปงลาง เสียงโปงลางถ้าใช้กับวงพื้นบ้านอีสานทั่วไป จะใช้ แคน เป็นหลักในการ บันทึกเสียง แต่ถ้าจะใช้บรรเลงกับวงดนตรีสากล จะต้องใช้ คีย์บอร์ด, อิเล็คโทนในการ เทียบเสียง หรือไม่ก็ใช้เครื่องเทียบเสียงสากล ในการเทียบเสียงลูกโปงลางในแต่ละลูก เสียง ที่ได้มาจะเข้ากับเครื่องดนตรีสากลได้เป็นอย่างดี 
การปรับแต่งเสียงโปงลาง การตีโปงลางบางครั้ง ทาให้เกิดเสียงเพี้ยนได้ ถ้าหากนานไปเสียงโปงลางเพี้ยน ก็สามารถปรับให้ เป็นเสียงมาตรฐานตามต้องการได้ โดยใช้วิธีดังนี้ 1. หากเสียงต่า ให้บากด้านหัวทั้งสองข้างทีละน้อยๆ จนได้เสียงตามที่ต้องการ 2. หากเสียงสูง ให้บากตรงกลาง ทีละน้อยๆ จนได้เสียงตามที่ต้องการ
17 
เทคนิคการตีโปงลาง 
การตีโปงลางจะนั่งกับพื้นหรือยืน ในท่าที่ถนัด โดยจะอยู่ด้านซ้ายของโปงลาง ดังนี้ 1. จับไม้ตีโปงลางให้แน่น 2. ฝึกไล่เสียงจากจากเสียงต่า ไปหาเสียงสูง และจากเสียงสูงไปหาเสียงต่า ในลักษณะสลับมือซ้าย-ขวา 3. ฝีกตีกรอ รัว สะบัด 4. ฝีกบรรเลงลายที่ง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้ย ลายภูไท เป็นต้น
18 
ลักษณะเสียงโปงลาง
19 
การเคาะโปงลาง โปงลางเป็นเครื่องดนตรีที่ทามาจากไม้เนื้อแข็ง เวลาเคาะจึงมีเสียงแกร่งสั้น และห้วน ถ้าเราเคาะ โน้ต 1 หรือ 2 จังหวะ จะได้เสียงไม่ไพเราะ เพราะเสียงนั้นไม่มีกังวาล ผู้ฝึกหัดจึงสมควรที่จะฝึกปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ฝึกเคาะรัวถี่แทนตัวโน้ต หรือซอยโน้ตให้ย่อยออกเป็นตัวเขบ็จ 1 ชั้น 2 ชั้น เป็นต้น 2. ผู้ฝึกจึงจาเป็นอย่างยิ่งต้องฝึกเคาะจังหวะตามทานองหลักให้ตนเองได้ยินจนแม่นยาก่อน แล้ว จึงฝึกซอยโน้ตทีหลัง 3. โดยทั่วไป ผู้เคาะโปงลางมีอยู่ 2 คน ผู้ที่เล่นทานองนั้นจะเรียกว่า “หมอเคาะ” ส่วนอีกคนหนึ่ง จะเล่นเสียงประสาน เรียกว่า “ หมอเสิบ” หมอเสิบนั้นเป็นผู้ช่วยทาจังหวะและทาเสียงทุ้ม การเคาะลูกโปงลาง อย่าเคาะตรงลงไปหนักๆตรงๆ จะทาให้เสียงกระด้าง ให้เคาะอย่างนิ่มนวล หรือ เคาะแฉลบออกอย่างสม่าเสมอ
20 
เครื่องดนตรีประเภทโหวด 
โหวด เป็นเครื่องดนตรีของชาวอีสาน หรือ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่นเหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดัดแปลงมาเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน โหวด เกิดขึ้นในสมัยใดนั้น ยังไม่สามารถบอกได้แน่นอนหรือยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็น นิยายปรัมปรา สืบต่อกันมา ดังนี้ ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมืองหนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระโพธิสัตว์ เสวย ชาติมาเป็นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่องพระยาแถน เรื่องฝน ฟ้า อากาศ เจ็บไข้ ได้ป่วยก็ไปบนบานศาลกล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ทาให้คนและสัตย์หันไปนับถือพระยา คางคก ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้าที่เคยตกต้องตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็น เวลา 7 ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ธัญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์เดือดร้อนก็เลยทา สงครามกับพระยาแถน แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึกษากับพระยาคางคก พระยาคางคกก็รับอาสาจะไป สู้กับพระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับพระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทาสะพานดินเป็นถนน ขึ้นสู่เมืองพระยาแถน ให้พระยามดขึ้นไปสู่เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไปเจาะดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวน จะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่อง อสรพิษทั้งหลายไปดักอยู่ตามเสื้อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหารพระยาแถน ใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยาคางคกก็นาทัพขึ้นไปเจรจาขอฝนกับพระยาแถน พระยาแถนก็โกรธและไม่ ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่มปฏิบัติการ ตะขาบ แมง ป่อง ก็ออกมากัดทหารให้ล้มตาย ส่วนพระยาคางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู้กันบนหลังช้าง สู้กันไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟันพระยาคางคก ดาบก็หัก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หัก ในที่สุดพระยาคางคกได้จังหวะ ก็ใช้บ่วงศ์ (บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตกจากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตามสัญญา โดยมี เงื่อนไขกันอยู่ 3ประการ คือ ประการที่ 1 ให้พระยาแถน ประทานน้าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุษย์จะทาบั้ง ไฟ จุดขึ้นไปเป็นการบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทานฝนลงมาให้มนุษย์ ประการที่ 2 การได้ยินเสียง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้าฝนแล้ว ประการที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝนเพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ท้องฟ้าให้เกิดเสียงดังเป็นสัญญาณ ให้ พระยาแถนทราบว่าได้รับน้าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริมาณฝนลง หรือให้ฝนหยุด ปัจจุบันนี้โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมมาก และเป็นเครื่องดนตรีที่นามาบรรเลงเข้ากับเครื่อง ดนตรีอีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็นวงดนตรีพื้นเมืองอีสานดังปรากฏในปัจจุบันนี้
21 
ส่วนประกอบของโหวด 
1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลักษณะผิวบาง 2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด 3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูกโหวด
22 
เทคนิคการเป่าโหวด 
เทคนิคการเป่าโหวดมีดังนี้ 1. ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับโหวด โดยให้หัวแม่มืออยู่ที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้อยู่ในลูกที่ 4 2. นาหัว (ตรงขี้สูท) มาเป่า โดยเป่าลมออกให้เกิดเสียง และให้ขยับหาเสียงที่ชัดมาที่สุด 3. ฝึกเป่าโดยการไล่เสียงจากเสียงสูงไปหาเสียงต่าหรือ จากเสียงต่าไปหาเสียงสูง 4. ฝึกเป่าลมออกให้ยาวๆ 5. ฝีกเป่าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้น เป็นต้น
23 
ประวัติความเป็นมาของลาย ราบายศรี เป็นการราที่ใช้ในพิธีบายศรีสู่ขวัญ เมื่อมีแขกมาเยือน ส่วนใหญ่จะประกอบเพื่อเป็นสิริมงคงใน พิธีจะมีพานบายศรีและพราหมณ์ผู้ทาพิธี เนื้อร้องก็จะอธิบายถึงความสวยงาม ของบายศรี และเป็นการเรียก ขวัญ พอราเสร็จก็จะมีการผูกข้อมือแขกด้วยฝ้ายขาว ซึ่งผ่านพิธีกรรมแล้วถือว่าฝ้ายที่ใช้ผูกนั้นจะทาให้อยู่ เย็นเป็นสุข ราโคตรบูรณ์ ศรีโคตรบูรณ์ เป็นอาณาจักรหนึ่งของชาวอีสาน ในสมัยโบราณซึ่งมีศูนย์กลางในจังหวัดสกลนคร และนครพนม เป็นการร่ายราที่นิ่มนวลมาก ซึ่งจัดว่าเป็นการราโบราณคดีของภาคอีสานและท่าราแต่ละท่า จะมีลีลาเฉพาะตัว ไม่ซ้าแบบใคร เซิ้งทานา เป็นการแสดงถึงขั้นตอนการทานา โดยเริ่มตั้งแต่การไถนา หว่านกล้า ถอนต้นกล้า ปักดาเกี่ยวข้าว การนวดข้าว และจนกระทั่งสุดท้ายการเก็บข้างใส่ยุ้งฉาง ผู้แสดงประกอบไปด้วยชายหญิง ราภูไทยเรณู เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านของชาวภูไท ซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาวเรณูนคร จังหวัด นครพนม เมื่อมีแขกมาเยี่ยมเยือน ก็จะมีการบายศรีสู่ขวัญ และมีการรื่นเริงแสดงดนตรีตลอด จนมี การละเล่นระบาราฟ้อนอย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะหนุ่มสาวออกมาฟ้อนราเกี้ยวพาราสีกัน และจังหวะ ดนตรีจะมีลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ ส่วนท่าราของหญิงจะอ่อนช้อยสวยงาม ส่วนท่าราของผู้ชาย จะ แสดงออกถึงความแข็งแกร่งสนุกสนาน
24 
ราดึงครกดึงสาก ราดึงครกดึงสาก จัดว่าเป็นพิธีทางไสยศาสตร์ที่กระทาเพื่อขอฝน โดยมีครก มีสากที่ใช้สาหรับตา ข้าว เป็นอุปกรณ์สาคัญ โดยมีขั้นตอน คือ นาครกและสาก ผูกด้วยเชือกอย่างละเส้น แบ่งผู้ดึงให้เท่ากัน จับปลายเชือกคนละด้าน ตั้งจิต อธิษฐานว่า ถ้าฝนจะตกให้ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ ถ้าฝนไม่ตก ก็ขอให้อีกฝ่ายหนึ่งชนะ ส่วนท่ารานั้น ก็ ปรับปรุงตามแบบท่าราแม่ท่าของชาวอีสาน ให้ผสมผสานกับท่าที่เป็นไปตามธรรมชาติทานองเพลงมีการ ปรับเพื่อให้เกิดความกลมกลืนและเหมาะสมในรูปแบบของศิลปะ เซิ้งกะโป๋ เป็นการละเล่นของชาวอีสานใต้แถบ จังหวัดศรีษะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ เป็นต้น คา ว่า กะโป๋ หมายถึง กะลามะพร้าว ที่เอาส่วนของเปลือกออกหมดแล้ว นามาถือคนละ 2 ชิ้น แล้วก็ร่ายรา ประกอบการเต้นเข้าจังหวะและนากะลาของตนไปกระทบกับคู่เต้นขงตนเองและของคนอื่น สลับกันไป รา กะโป๋นี้เป็นแสดงออกถึงการราที่เน้นสายตา คอ ไหล่ สะโพก และเท้าของผู้หญิงและผู้ชาย ทั้งนี้ เพื่อให้เกิด ความสนใจของฝ่ายตรงกันข้าม เซิ้งครกมอง ครกมองเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตาข้าวของชาวอีสาน ที่มีความเจริญน้อยหรือที่เรียกว่า ชนบท ลักษณะของครกมอง มีขนาดใหญ่ ทาจากไม้เนื้อแข็ง มีไม้ยาว ๆ สาหรับตาข้าว หรือเรียกว่าสาก ท่า ราจะประดิษฐ์ท่าราในลีลาอ่อนช้อยและงดงามและมีการพูดผญา เกี้ยวพาราสีกันระหว่างหนุ่มสาวเป็นที่ สนุกสนาน ราเข็ญฝ้าย เป็นการราที่นามาประยุกต์ท่ารา ซึ่งแสดงถึงการประกอบอาชีพในการทอผ้าของชาวบ้าน โดยท่า ราจะออกมาในลักษณะวิธีการทอผ้า โดยเริ่มตั้งแต่การออกไปเก็บฝ้าย ตากฝ้าย ดีดฝ้าย และทอผ้า ราไทภูเขา เป็นการราของชาวภูไทกลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ตามภูเขา ในแถบเทือกเขาภูพาน การราจะแสดงให้ เห็นถึงการที่ชาวภูไท ได้เดินขึ้นภูเขาเพื่อไปหาของป่า เช่น หน่อไม้ ผักหวาน ใบย่านาง เก็บเห็ด ตัดหวาย ที่ มีอยู่ตามภูเขาเพื่อนามาประกอบอาหาร
25 
ราดังหวาย เป็นการราบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือการเพื่อขอขมาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ตนเคารพนับถือ ครั้งก่อนเรียกว่า ราถวาย และในปัจจุบันเรียกว่า ราตังหวาย ท่าราก็จะมีท่าที่เป็นแม่แบบที่มีความสวยงามตามแบบชาวอีสาน เซิ้งเซียงข้อง เป็นการสะท้อนให้เห็นในเรื่องของพิธีกรรม ศาสนา ความเชื่อของชาวอีสาน ในการแสดงจะมีการ บูชาเชิญเทวดาให้สิงอยู่ในข้อง เพื่อขับไล่ผี เมื่อเทวดามาสิงแล้ว ข้องนั้นจะสั่นหรือกระตุกเซียงข้องจะนาคน ไปยังสถานที่มีผีอยู่ และจะจับหรือไล่ผีให้ออกไปจากหมู่บ้าน จากนั้นชาวบ้านก็จะอยู่เย็นเป็นสุข เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ไข่มดแดง เป็นอาหารประจาท้องถิ่นของชาวอีสาน ที่นิยมนามาประกอบอาหารรับประทาน เช่น ก้อยไข่มดแดง ยาไข่มดแดง เป็นต้น การแหย่ไข่มดแดงนั้นค่อนข้างลาบากเนื่องจากรับมดแดงนั้นอยู่สูง ดังนั้นจึงต้องใช้ไม้ยาว ๆ ผูกติดกับตะกร้า แล้วนาไปแหย่ ดังนั้นการแสดงชุดนี้จึงเป็นการแสดงที่ต้องการ ถ่ายทอดลีลาการแหย่ไข่มดแดงประกอบเพลงพื้นบ้าน ในทานองจังหวะเซิ้ง ได้อย่างสนุกสนาน ราภูไท 3 เผ่า ชาวผู้ไท เป็นกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แต่เดิมนั้น ชาวผู้ไทตั้งบ้านเรือนอยู่แถบสิบสองจุไทย แล้วชาวผู้ไทชอบตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้ กับภูเขาเพื่อการทามาหา กินจะเป็นไปโดยเรียบง่าย การแสดงชุดนี้จะแสดงถึงชาวผู้ไทที่อยู่ในภาคอีสาน ซึ่งจะแสดงถึงเอกลักษณ์ และประเพณีในแต่ละเผ่า คือ เผ่าที่ 1 เผ่าสกลนคร ใช้ลายภูไท เผ่าที่ 2 เผ่ากาฬสินธุ์ ใช้ลายภูไทเลาตูบ เผ่าที่ 3 เผ่านครพนม ใช้ลายภูไทเรณู (ลมพัดพร้าว)
26 
รามวยโบราณ มวยเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวเป็นการต่อสู้ด้วยพละกาลัง โดยการใช้มือ เท้า ศอก หัว ซึ่งมี ประวัติความเป็นมาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์มาแล้ว ในสมัยก่อนนิยมฝึกหัดในหมู่บ้านนักมวยโบราณเป็นที่นิยม ชมชอบของทุกชนชั้น คนที่รามวยโบราณ จะมีการสักลายเต็มตัว ในสมัยก่อนจะสักด้วยว่าน น้ายาศักดิ์สิทธิ์ สักเป็นรูป สัตย์ต่าง ๆ ที่เลื่อมใส มีกาลังอานาจ นอกจากนั้นยังมีการสักเป็นลวดลายและลงอักษรโบราณที่เป็น คาถาอาคม การสักลายนี้ มีจุดมุ่งหมายเหมือนกับมีเครื่องรางของขลังติดตัวไปด้วย ทาให้อยู่คงกะพันแคล้ว คลาดและเป็นมหาเสน่ห์ สมัยก่อนการสักลงยันต์ทากันเป็นเรื่องใหญ่ เพราะต้องสักลงไปบนผิวหนัง ฝังลง ไปในเนื้อ โดยใช้เหล็กแหลมเหมือนปากกา สักด้วยหมึกดา หมึกแดง ผสมกับว่าน แต่ในปัจจุบันนี้ ไม่มีผู้ นิยมสักลาย นักแสดงมวยโบราณ จึงได้พัฒนาการการสักลายมาเป็นการเขียนลายแทน ดนตรีเป็นทาลอง จังหวะภูไท ฟ้อนแถบลานหรือเซิ้งหลวง เป็นการละเล่นของชาวตาบลบ้านติ้ว อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ ฟ้อนแถบลาน เดิมเรียกว่า ราแขน ลาน เป็นการฟ้อนในเทศกาลเข้าพรรษาและงานทาบุญบั้งไฟ มีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงเจ้าพ่อผาแดง ถ้า เจ้าพ่อมีความพึงพอใจ จะทาให้มีความอุดมสมบูรณ์ ฝนตกต้องตามฤดูกาล สีสันของชุดการแสดงนี้อยู่ที่ เสื้อผ้าที่เย็บด้วยแถบใบลานที่มีสีสันลวดลายสวยงาม เซิ้งบั้งไฟ ประเพณีชาวอีสาน มีความสาคัญต่อชีวิตของชาวอีสาน ซึ่งมีฮีต 12 คลอง 14 เป็นหลักในการดาเนิน ชีวิต บุญบั้งไฟหรือบุญเดือนหกเป็นประเพณีที่มีส่วนสร้างเสริมกาลังใจแก่ชาวบ้าน และเป็นการเตรียม ความพร้อมในการประกอบอาชีพทานา จุดประสงค์ใหญ่ คือ เพื่อการขอฝนจากพระยาแถน
27 
ราแพรวากาฬสินธุ์ แพรวากาฬสินธุ์ หมายถึงผ้าแพรวซึ่งทอด้วยชาวบ้านโพน อ.คาม่วง จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมมีเพียง สีแดงเท่านั้น ต่อมาเสด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ทรงนาเข้าในโครงการศิลปาชีพ และทรงดารัส ให้มีการพัฒนาสีสันให้หลากหลาย สวยงามมากขึ้น ต่อมาวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ได้นามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง ในปี 2534 เนื่องใน วโรกาส ครบ 60 รอบ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ โดยผู้แสดงจะห่มผ้าแพรวาสีต่าง ๆ ท่าราก็จะ ดัดแปลงมาจากวิธีการทอผ้า เซิ้งโปง เซิ้งโปง เป็นการแสดงที่ผู้แสดงใช้โปงเป็นอุปกรณ์ประกอบการแสดง โดยผู้แสดงจะถือโปงคน ละ 1 ตัว และจะเขย่าโปงเป็นลายโปงลาย จากนั้นเป็นการแสดงท่าราต่าง ๆ ซึ่งมีโปงเป็นองค์ประกอบในการ ให้จังหวะในการแสดง เซิ้งสุ่ม สุ่ม เป็นอุปกรณ์ที่ทาด้วยไม้ไผ่ใช้ในการจับปลาของชาวอีสาน ซึงมีมาตั้งสมัยโบราณแต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เจริญมากขึ้น อุปกรณ์ชิ้นนี้จึงไม่เป็นที่นิยมของชาวบ้านมากนัก จึงได้มีการคิดท่าราประกอบ อุปกรณ์ชิ้นนี้ขึ้นเพื่อที่จะได้อนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านไว้สืบต่อไป รามโนราห์เล่นน้า มโนราห์เล่นน้า คือ ตอนหนึ่งของนิทานเล่ามา ซึ่งเป็นเรื่องของทุกภาครู้กันดี แต่ตามชื่อเรื่องของ ชาวอีสานที่เล่ากันนี้ มีชื่อว่า ท้าวสีทน นางมโนราห์ ซึ่งนาเอาตอนหนึ่งในเรื่องมาแสดง คือ ตอนนาง มโนราห์อาบน้า พร้อมกับพี่ทั้งหกและนางได้ไปติดบ่วงนายพรานเข้า พวกที่ทั้งหกตกใจกลัวแต่ช่วยอะไร นางไม่ได้ จึงได้บินกลับคืนเขาไกรลาส ซึ่งเหลือแต่นางมโนราห์ คนเดียวที่ติดบ่วงของนายพราน ทานองดนตรีในชุดนี้ใช้ลายลาเพลิน ซึ่งเป็นทานองที่มีจังหวะสนุกสนาน เร้าใจ และรวดเร็ว
28 
เรือมปันโจ เป็นพิธีกรรมที่ชาวเขมรเรียกว่า “ปันโจบอนล็อด” คือพิธีประทับทรงของเทพยดาเพื่อมารักษา โรคภัยไข้เจ็บ ขณะที่ประทับทรวง จะมีการร่ายราด้วยลีลาที่งดงามและเป็นความเชื่อว่า ท่าร่าย รานั้น คือท่า กายภาพบาบัด เพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บนั้นเอง ราโปงลาง ราโปงลางเป็นราที่ใช้ประกอบการแสดงดนตรีพื้นเมืองที่เรียกว่า “โปงลาง” เพลงที่ใช้บรรเลง เรียกว่า “ลาย” ลายต่าง ๆ นามาจากการเลียนเสียงธรรมชาติ เกิดขึ้นครั้งแรกที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ลายต่าง ๆ ที่ ใช้ประกอบการราได้แก่ ลายลมพัดพร้าว ลายโปงลาง ลายช้างขึ้นภู ลายแม่ฮ้างกล่อมลูก ลายนกไทรบินข้าม ทุ่ง ลายภูไทยเลาะตูม ราคอนสวรรค์ ราคอนสวรรค์ คาว่า “คอนสวรรค์” เป็นสถานที่แห่งหนึ่งในประเทศลาวในสมัยที่ประเทศไทย และ ลาวยังเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รานี้จึงได้แพร่เข้ามาในประเทศไทย ซึ่งเป็นการร่ายราที่มีลีลาอ่อนช้อยงดงาม มาก ราศรีผไทสมันต์ เป็นการราที่ประดิษฐ์ท่าราจากอาชีพเลี้ยงไหม ทอผ้าของอีสานโดยจะเริ่มตั้งแต่ปลูกต้องหม่อน-เก็บ ใบไหมไปเลี้ยงตัวไหม การสาวไหม การเข็นไหม แล้วนาไหมนั้นทอผ้าเป็นผืนผ้าทานองเพลงที่ใช้เป็น ทานองกันตรึม ซึ่งลีล่าการร่ายราเป็นที่สนุกสนาน คณะอาจารย์โรงเรียน สิรินธร โรงเรียนอนุบาล สุรินทร์ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารา ฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ ฟ้อนภูไทเป็นการฟ้อนประกอบการราแบบภูไท ซึ่งปรับปรุงมาจากการเซิ้งบั้งไฟและการฟ้อน ท่า ดอนตาล ผู้แสดงเป็นหญิงทั้งหมด โดยนายมณฑา ดุลณี ร่วมกับกลุ่มแม่บ้านโพน เป็นผู้คิดประดิษฐ์ท่ารา ให้เป็นระเบียบ 4 ท่า ส่วนท่าอื่น ๆ คณะครูหมวดนาฏศิลป์พื้นบ้าน วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ เป็นผู้ ประดิษฐ์โดยได้ยึดเอาการฟ้อนของชาวภูไทคาม่วง เขาวงและกุฉินารายณ์ ทาการแสดงครั้งแรกที่ พระ ตาหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อปี พ.ศ. 2537
29 
ลักษณะเครื่องแต่งกาย เสื้อแขนยาวสีดา คอตั้งคอเสื้อใช้ผ้าขิด ขลิบริมสาบเสื้อด้วยผ้าสีขาว ริมคอเสื้อด้านบนใช้ลูกปัด เล็ก ๆ ร้อยประดับโดยรอบกระดุมใช้เหรียญเงินเก่า ๆ เจาะรูแล้วเอากระดาษสีต่าง ๆ ร้อยทับเหรียญอีกที หนึ่ง เย็บเป็นแถวลงมาเกือบถึงชายเสื้อ ผ้าถุงใช้ผ้าซิ่นไหมทอเป็นลวดลายต่าง ๆ สวยงาม หรือใช้ไหม มัดหมี่ริมผ้าซิ่นทดลวดลายเป็นเชิงลวดลายนั้นเป็นเอกลักษณ์ของภูไทบ้านโพนโดยเฉพาะ สไบใช้ผ้าแพร วาพาดเฉียงห่มทับไหล่ซ้ายปล่อยชายทิ้งไว้ด้านหลังหรือห่มเฉียงจากไหล่ซ้าย มาติดเข็มกลัดที่เอวขวาหรือผู้ ทิ้งชายยาว ผมเกล้าสูงและมีผ้าฝ้ายทาเป็นชายอุบะห้อยทิ้งชายลงด้านใดด้านหนึ่งแล้วแต่ความงาม ไทภูเขา หมายถึงชาวไทภูเขากลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ตามแถบภูเขา ในเขตอาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ การ ร่ายราจะแสดงให้เห็นถึงการที่ชาวภูไท ขึ้นไปเก็บหน่อไม้ เก็บผักหวาน เก็บใบย่านาง บนภูเขา เพื่อนามา ประกอบอาหารในชีวิตประจาวัน ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงจะมีจังหวะตื่นเต้นเร้าใจ ลักษณะการแต่งกาย หญิง สวมเสื้อแขนกระบอกสีแดง นุ่งผ้าถุง ลายมัดหมี่สีดา ผ้าแพรวาพาดบ่า ศรีษะใช้ผ้าแพวา โพกหัว ใช้สีผ้าคาดเอว ชาย สวมชุดหม้อฮ่อมใช้ผ้าขาวม้าโพกหัวและคาดเอว สะพายย่าม
30 
เนื้อเพลงประกอบการแสดง บายศรีสู่ขวัญ 
(ท่อน1) มาเถิดเย้อ มาเยอขวัญเอย มาเย้อขวัญเอย หมู่ชาวเมืองมาเบื้องขวานั่งส่ายราย เบื้องซ้ายนั่งเป็นแถว ยอพาขวัญไม้จันทร์เพลิดแพร้ว ขวัญมาแล้ว มาสู่คิงกลม เกศแก้วหอมลอยลมทั้งเอื้อนชวนชมเก็บเอาไว้บูชา ยามฝนพร่าเจ้าอย่าคลาย ยามแดดสายเจ้าอย่าคลา อยู่ที่ไหนจงมา รัดด้วยชัยยามาคล้องผ้าแพรกระเจา (ท่อน2) อย่าเพลินเผลอ มาเยอขวัญเอย มาเย้อขวัญเอย อยู่แดนดินใดหรือฟ้าฟากไกลขอให้มาเฮือนเฮ้า เผืออย่าคิดอะไรสู้เก่า ขออย่าเว้าขวัญเจ้าจะตรม หมอกน้าค้างพร่างพรมขวัญอย่าเพลินชมป่าเขาลาเนาไพร เชิญมาทัดพวงพยอม ทาน้าหอมให้ชื่นใจ เหล่าข้าน้อยแต่งไว้ร้อยพวงมาลัยจะคล้องให้สวยรวย
31 
ราภูไท 3 เผ่า เผ่าที่ 1 (เผ่าสกลนคร) ไปเย้อไปไปโห่เอาชัยเอ้าสอง (ซ้า) ไปโฮมพี่โฮมน้องไปช่วยแซ่ซ้องอวยชัย เชิงเขาแสนจนหนทางก็ลาบาก (ซ้า) ตัวข้อยสู้ทนยากมาฟ้อนราให้ท่านชม เผ่าที่ 2 (เผ่ากาฬสินธุ์) โอ้ยน้อ… ละบ่าวภูไทเอย ชายเอยอ้ายได้ยินบ่อเสียงน้อง คองน้าตาเอ้นมาใส่ สาวภูไทไห้สะอื้น มายืนเอิ้นใส่พี่ชายอ้ายเอ้ย…..อ้ายเอย ชายเอยเห็นว่าสาวภูไทน้อง อยู่บ้านป่านาดอน หากินหมูกินแลน หมู่กระแตดอกเหนอ้ม ซางมาตั๋วให้นางล้ม โคมหนามแล้วถิ่มปล่อย ทาสัญญากันเรียบร้อย ซ้างมาฮ้างดอกห่างกัน อ้ายเอ้ย.อ้าย
32 
ราไทพวน 
โอ้น้อ..มื้อนี้แม้ เลิศล้า มือประเสริฐ ดีงาม เฮาจึงมีเวลาพบกัน คราวนี้ โอกาสดีนาได้ เดินทางมา ต่านกล่าว ถามขาวข่าวพี่น้องทางพี่ผู้สู่คน พี่น้องเอย โอ้น้อ..ยามเมือมาพบพ้อ แสนชื่นสมใจ พี่น้องเอย พอสร้างไขวาจาสิ่งใดมาเว้า เฮือมขอเอามือ น้อมประนมกรละต้านต่อ ขอขอบใจพี่น้องทางพี่ผู้สู้คน พี่น้องเอย โอ้นอ..เฮานี่แม้ ชาติเชื้อสาวเผ่าไทพวน พี่น้องเอยเนาอยู่เมืองเชียงขวางประเทศลาว ทางโพ้นกับ ทางโขงพันเกือบบงบานพะนาหย้า พากันเนาคึกส่างทางพู้นสู่คน พี่น้องเอย โอ้น้อ..เฮานี่แม้ ชาติเชื้อสายเลือดเดียวกัน พี่น้องเอย มีหลายอันคือกันจ่อต่างกันบ่อน้อย คอยล่าแล สีหน้าอาภรณ์ ทุกสิ่งอย่างทุกข้าวทางปากเว้าเสมอด้ามดั้งเดียวกันนั่นแหล่ว โอ้น้อ..ที่มีกาลหาบตอน ยังก้มเกียรติจบงาม การอยู่กินไปมาสะดวกดีทันด้านสมว่าเป็นเมืองบ้าน เฮือนเคียงของน้องพี่ เฮียบได๋เนาที่นี่เสมอบ้านแคบตน พี่น้องเอย โอ้น้อ..มาถึงตอนชายนี้ เนี่ยมก็กล่าวอวยพร ขอวิงวอนคุณครู พระธรรมองค์เจ้า ขอให้มานาเข้า บันดาล และอยู่ส่ง ขอให้บ่งพี่น้อง อายุหมั่นหมื่นปี เว้ามาฮอนบอนนี้นางขออวยลาลง ขอขอบใจโคงสายโง้ง ลุง อ่าว ป้า ที่ได้อดสาเยินฟังเฮา น้องต้านกล่าว หวังว่าคราวหน้าพ้นคงสิได้พบกันพี่น้องเอย ลา..ลงท้อนั้น.. แหล่ว
33 
ฟ้อนแคน (เกริ่น) ได้ยินเสียงแคนอ้าย คืนเดือนหงายคิดฮอดพี่ เสียงลมพัดวี่วี่ พัดแฮงคิดฮอดอ้าย โอยหลาย มื้อ แต่คิดนา จักแมนกรรมหยังน้อง จั่งหมองใจได้ไห้จ่ม พี่เอ๋ย..พี่บ่อสมความมาดแม้นแลงเซ้าดูเป่าดาย ซ่างบ่อกายมาบ้าน ให้นงครวญได้เหลียวพอ พอให้ใจอีน้อง ๆได้มองอ้ายให้ชื่นใจ…โอ้เด้นอ (ร้อง) เสียงแคนดัง ฟังตุแลแล่นแต้ ตุแลแล่นแต้ ไผนอมาเป่าๆ เสียงเหมือนดังเรียกสาว ถามว่าบ้านอยู่ใส น้องได้ฟังเสียงแคนดังหวนไห้ แคนบาดดวงใจ เหมือนอ้ายเคย เป่าให้ฟังๆ * โอ้..ฮักเอ๋ย ก่อนอ้ายเคยเว้าสั่ง ฮักอ้ายบ่จืดบ่จาง เหมือนแคนอ้ายสั่งดังแล้แล่นแต ๆ บ่ลืมเลือน ยามเมื่อเดือนส่องหล้า สองเราเคยเว้าว่า บ่ลืมสัญญา ฮักใต้ร่มไทร ยามน้องจาก มาอ้ายจ๋า อย่าห่วงอาลัย เสียงแคนคราวใด ยังคิดฮอดอ้ายอยู่ทุกเวลาๆ (ซ้า *)
34 
สาวกาฬสินธุ์ลาเพลิน (เกริ่น) ละจั่งว่าเปิดผ้าม่านกั้ง แจ้งส่วางสีขาว ขาว….. ละสาวกาฬสินธุ์มาหา อย่าท่าทางหลาย เด้ออ้ายๆ (ลา) โอยเดชาย มามาอ้ายมาไปชมถิ่น มามาอ้ายมาไปชมถิ่น ทางกาฬสินธุ์บ้านน้องสิลองเว้าสู่ ฟัง บ่ต้องตั้งใจต่อรอฝนถึงฤดูปักดาสิหลั่งลงทางน้า ตามคลองน้อย ซอยมาจากเขื่อน คือจั่งเดือนส่องแจ้งบ่มี เศร้าเก่าหมอง (ร้อง) ตาเหลียวมองจ้องเขื่อนลาปาว ตาเหลียวมองจ้องเขื่อนลาปาว นั่งภูสิงห์สูงยาวเป็น ทิวทัศน์งามตา ถึงเดือนห้าสงกรานต์เดือนม่วน จนคานวณบ่ได้ โอยไหลเข้าอั่งโฮม สุขสมชมแดนสีสด จังหวัดงามหมดจดเหมือนดั่งเมืองแมน ได้ชมสมใจสุขแสน บ่มี ยากแค้นกาฬสินธุ์โสภา เอ้ามามามา เอ้ามาพี่มากราบ ให้ท่านได้ทราบว่าพี่มาเยือน เก็บดอกไม้จุดธูปจุดเทือน เก็บดอกไม้จุดธูปจุดเทือน ยกมือเหนือเศียรให้ท่านช่วยคุ้มครอง รูปจาลองพระโสมพระมิตร รูปจาลองพระ โสมพระมิตร เหมือนดังดวงจิตของชาวน้าดา กราบกรานทุกวันเย็นค่า เพราะเป็นผู้นากาฬสินธุ์ถิ่นงาม (ลา) หันมาเว้าเมืองงามนามแก่น หันมาเว้าเมืองงามนามแก่น แฟนพูไปอาจฮู้ ดูแล้วเที่ยวมา งามฟ้าเกินม่วนหัวใจ แฟนพุไปเที่ยวชม สิบ่ลืมเมืองน้อง สิบ่ลืมเมืองน้อง…… ราตังหวาย บัดนี้ ข้าขอยอนอแมนมือน้อม ชูลีกรนอแมนก้มกราบ ชูสลอนนอนบ่นอมนิ้วถวายไท้ ดอกผู้อยู่ เทิ้ง คนงามของน้องนี่น่า คนงามเอย… ชายเอย จุดประสงค์ นอเพื่อหมายแม้น เผือไปซินนอผืนบ้านเก่า ของไทเฮานอตั้งแต่ครั้ง โบราณ พื้นให้เฟืองให้ฟู คนงามของน้องนี้นา คนงามเอย… ชายเอย หาเอาตังร้อแมนหวายเซิ้ง ลาแตเถิงน้อบ้านเกียรติกอ สืบแต่กอน้อสุมผู้เฒ่าโบราณ ผืน ดอกกะพื้นกะฮ้าย ๆๆ คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… ชายเอย ปูเป็นทางน้อเผือเหลือแปลง คลองอีสานน้อบ่ให้หลุดล้น นาฎศิลป์น้อแมนคิดค้น นามา ร้องออโษษณา อ้ายพี่คนงามนี่นา คนงามเอย…
35 
สาวกาฬสินธุ์ลาเพลิน (ต่อ) ชายเอย คิดฮอดคราวน้อยามเฮาเว้า ในเถียงนานั้นบ่มีฟ้า แม้สิฟาดน้อแมนไม้คอน แม้สิย้อนน้อ แมนไม้แซ ตีน้องนั่นแต่ผู้เดียว แต่ผู้เดียว แต่ผู้เดียว คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… ชายเอย คนจบๆน้อแมนจังอ้าย งามๆ น้อแมนจังเจ้า ซางบ่ไปน้อแม่นกินข้าวหัวมองน้อเจ้านาไก่ คนขี่ลายน้อแมนจังน้อง กินข้าวน้อแม่นบายปลา อ้ายพี่คนงามนั่นนา คนงามเอย… ชายเอย ไปบ่เมือน้อแม่นนาน้อง เมือนาน้องแม่นนาบ่อ ค่ารถน้องบ่ให้เสีย ค่าเฮือน้องบ่ให้จ้าง น้องสิตายน้อแม่นเป็นช้าง เอรวัณน้อให้อ้ายขี่ ตายเป็นรถกะน้อแท็กซี่ให้อ้ายน้อแม่นขี่เมือ อ้ายพี่คนงามนี่ นา คนงามเอย… ชายเอย ย้านบ่จริงน้อแมนจังเว้า สีชมพูน้อเจ้าจังว่า ย้านคือตอก น้อแม่นมัดกล้า ดานาแล้วละ เหยียบใส่ตมๆ คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… บัดนี่ ขอสมพรน้อแม่นไปไฮ ผองเจ้าไทน้อทุกๆท่านสุขสราญ น้อทุกถ้วนหน้า ละสดชื่น ทุกคืน ทุกวัน ๆคนงามของน้องนี่หนา น้องขอลาแล้ว
36 
เต้ยหัวโนนตาล ชาย โอเดพระนางเอย…พระนางเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางแคว้นๆ แดนใด๋ละน้องพี่ ปู ปลา มีบ่ละน้อง ทางบ้านหม่อมพระนาง หญิง โอเดพี่ชายเอย… พี่ชายเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางก้าๆ กะสินคาดานาห่าง โอเดพี่ชายเอย ปู ปลา เต็ม อยู่น้า ชวนอ้ายไปเที่ยวชม ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายมีจุดประสงค์แน่น หาแฟนเมืองน่าก่า เมืองดินดานี้ละน้อง ทางอ้ายจะเกี่ยวดอง กะจั่งว่าแก้มอ่องต่อง ไสยองยองเอย หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย เขาซ่าว่านกเขาตู้ บ้านอ้ายมันขันหอง เขาซ่าว่านกเขาทองบ้านอ้าย มันขันม่วน โอเอพี่ชายเอย บัดเทือมาฮ้อดแล้ว คู่ค้างซ่าง บ่โตน คันบ่โตนเจ้าคอนใต้ โอซ่างว่า โตนว่า คอนต่า โอเดพี่ชายเอย ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย คันว่าสิบแหนงไม้ คันว่าซาวแหนงไม้ บ่อคือแหนงดอกไม้ไผ่ โอ เดพระนางเอย อยากเป็นเขยบ้านน้องทางอ้ายจังต่าวมา หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย อ้ายอย่าตั๋วอีนางให้เซไซบ้าป่วง อย่ามาตั๋วให้น้องนางน้อยล่ะ จ่อยโซ ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายบ่ตั๋วพระนางน้อง คานางดอกน้องพี่ ฮักอีหลีตั๋วละน้อง ทาง อ้ายจั่งด่วนมา หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย คันบ่จริงอ้ายอย่าเว้า คันบ่เอาอ้ายอย่าว่า ทางปู่ย่าเพิ่นบ่พร้อมยอมเอาน้อง ขึ้นสู่เฮือน ชาย โอเดพระนางเอย…พระนางเอ้ย คันว่าเฮือนซานอ้าย น่อซานอ้ายดีหลายได้อุ่น นับเป็นบุญพี่อ้าย คันน้องเข้าฮ่วมเฮือน หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย น้องนี้คิดฮอดอ้ายๆ คืนเดือนหงายสิแนมเบิ่งๆ โอเดพี่ชายเอยใจซิเถิง หม่อมอ้ายคืนนั้นให้พี่คอย ชาย โอเดพนะนางเอย…พระนางเอ้ย อ้ายสิขอราเกี้ยวๆ คานางให้มันม่วน อ้ายซิชวนหมู่เพื่อนลา เกี้ยวเข้าใส่กัน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)naruephak
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อtassanee chaicharoen
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์Nuttapol Time
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
หู
หูหู
หู
 

Viewers also liked

หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนหน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนnongklongdondaeng school khonkaen 3
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยleemeanshun minzstar
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์nongklongdondaeng school khonkaen 3
 
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขโน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขbawtho
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีbawtho
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Viewers also liked (11)

หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนหน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
 
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขโน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 

Similar to ดนตรีพื้นบ้าน

การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองleemeanshun minzstar
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียงpatnid
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองleemeanxun
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางtonsocial
 

Similar to ดนตรีพื้นบ้าน (20)

การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 

ดนตรีพื้นบ้าน

  • 1. ดนตรีพื้นบ้านอีสาน ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้ง เพราะพื้นดินไม่เก็บน้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้าจะท่วม แต่ชาวอีสานนั้นส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ ทานา และมีนิสัยเป็นคน ชอบสนุกสนาน จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจาวันหรือ เกิดจากประเพณีตามฤดูกาล โดยจะเห็นได้จาก การแสดงต่างๆ เช่น เซิ้งบุญบั้งไฟ เซิ้งแห่นางแมว การฟ้อน รา ต่างๆ ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะชาวอีสาน คือ ลีลาและจังหวะการก้าวท้าว มีลักษณะคล้ายเต้ย แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและสะบัดปลายเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของการเซิ้ง ดนตรีอีสาน ถือ ว่า เป็นเครื่องดนตรีประจาท้องถิ่นของชาวอีสาน มีการประดิษฐ์จากวัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ และหาได้ ตามท้องถิ่นได้ง่าย ดนตรีพื้นเมืองอีสานสามารถแบ่งออกตามลักษณะของเครื่องดนตรี ได้ 4 ประเภท คือ 1. เครื่องดีด ได้แก่ พิณ 2. เครื่องสี ได้แก่ ซออีสาน 3. เครื่องตี ได้แก่ โปงลาง กลองยาว เกราะ ฯลฯ 4. เครื่องเป่า ได้แก่ แคน หึน เป็นต้น ดนตรีอีสาน ส่วนใหญ่แล้วการบรรเลงจะเป็นลักษณะแบบชาวบ้านไม่มีแบบแผนมากนัก ใช้ในการ ประกอบการแสดง ในงานรื่นเริง สนุกสนาน หรือ ใช้ในพิธีกรรมของชาวอีสาน แนะนาเครื่องดนตรี พิณ แคน โปงลาง กลองรามะนา เบสอีสาน กลองหาง โหวด
  • 2. 2 เครื่องดนตรีประเภทพิณ พิณ หรือ ซุง เป็นเครื่องดนตรีประเภทสายชนิดดีด ( Plucked Stringed Instrument) ตระกูลเดียวกับ ซึง กระจับปี่ จะเข้ แมนโดลิน ใช้บรรเลงดาเนินทานอง นิยม ทามาจากไม้ท่อนเดียว จึงเรียกว่า ซุง ปัจจุบัน เรียกว่า พิณ ไม้ที่ทาพิณนั้นส่วนมากใช้ไม้ ขนุน เพราะง่ายแก่การขูด เจาะ บาก ได้ง่าย เมื่อไม้แก่เต็มที่ไม้จะมีสีสดใสเป็นสีเหลือง สวยงามตามธรรมชาติพิณ มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย อ้างอิงได้จากข้อความในหนังสือไตรภูมิ พระร่วง ที่กล่าวถึงการละเล่นพื้นเมืองและการเล่นดนตรีในสมัยนั้นว่า ลางจาพวกดีดพิณและสีซอพุงตอและ กรับฉิ่ง เริงราจับระบาเต้นเล่น ซึ่งให้ความหมายว่า พิณ ใช้เล่นกับซอสามสาย ประกอบกับฉิ่ง กรับมาตั้งแต่ สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีอีกประการหนึ่ง ชาวไทยเรารู้จักคาว่าพิณมาพร้อมกับ พุทธประวัติ ตอนที่ พระ อินทราธิราชเสด็จลงมาดีดพิณสามสาย ถวายเพื่อเป็นอนุสติแก่พระพุทธเจ้าก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้ ว่าการ บาเพ็ญเพียรแสวงหาโษษกธรรมนั้นถ้าเคร่งครัดนักก็เปรียบเสือนการขึ้นสายพิณให้ตรึงเกินไปแล้วย่อมขาด ถ้าหย่อนยานนักไม่มีเสียงไพเราะ แต่ถ้าทาอยู่ในขั้น มัชฌิมาปานกลาง ก็เหมือนการขึ้นสายพิณแต่เพียงพอดี กับระดับเสียง ย่อมให้เสียงดังกังวานไพเราะ แจ่มใสดังใจความในวรรณคดีเรื่อง “พระปฐมสมโพธิกถา” พระราชนิพนธ์ ของ สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ว่า “...ขณะนั้น สมเด็จอมรินทราธิราชทราบในข้อปริวิตก ดังนั้นจึงทรง พิณพาทย์ สามสาย มาดีดถวายพระมหาสัตย์ สายหนึ่งเคร่งนักพอดีดก็ขาดออกไปเข้าก็ไม่ บันลือเสียง และสายหนึ่งนั้นไม่เคร่งไม่หย่อนปานกลาง ดีดเข้าก็บันลือศัพท์ไพเราะเจริญจิต พระมหาสัตย์ ได้สดับเสียงพิณก็ถือเอานิมิตนั้นทรงพิจารณาเห็นแจ้งว่า “..มัชฌิมาปฏิบัตินั้นเป็นหนทางพระโพธิญาณ....”
  • 3. 3 ขนาดและสัดส่วนของพิณ เต้าพิณ มีความกว้างไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว ตามยาวจากกล่องเสียงหรือเต้าพิณถึงหย่อง 14 นิ้ว หรือจาก หย่องสุดท้ายพาดสายไปถึงหย่องหน้าประมาณ 22 นิ้ว เจาะร่องสาหรับใส่ลูกบิดประมาณ 3 นิ้ว ขั้น(เฟรท) มี ขนาดพอเหมาะไม่สั้นหรือยาวเกินไป ซึ่งจะทาให้ผู้ฝึกหัดใหม่สามารถกดนิ้วได้สะดวก ส่วนประกอบของพิณ 1. ลูกบิด ปัจจุบันลูกบิดที่ใช้มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1.1 ลูกบิดไม้ มีลักษณะคล้ายกับลูกบิดซอด้วง ซออู้ ในเครื่องดนตรีไทย 1.2 ลูกบิดกีต้าร์ ใช้ลูกบิดกีต้าร์แทนเพื่อความคงทน และสะดวกในการใช้งาน 2. สายพิณ ในอดีตใช้สายเบรครถจักรยานเส้นเล็กๆ แต่สายพิณ ในปัจจุบันนิยมใช้สายกีต้าร์ไฟฟ้า 3. คอนแทรกไฟฟ้า ในกรณีที่พิณเป็นพิณไฟฟ้า คอนแทรก (contact) เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนไมโครโฟน 4. หย่องพิณ นิยมใช้หย่องที่ทาจากไม้เนื้อแข็ง 5. ขั้นพิณ (fret) ใช้ติวไม้ไผ่ติดที่คอพิณ หรือ ลวดทองเหลือง ติด
  • 4. 4 การตั้งสายพิณ ลายพิณ หมายถึง กลอนของพิณ หรือเพลง เช่น ลายลาเพลิน ลายสุดสะแนน ลายกาเต้นก้อน เป็น ต้น ลักษณะการตั้งลายพิณนั้นสามารถตั้งได้หลายวิธีตามโอกาสที่จะนาไปใช้บรรเลงของแต่ละคน สามารถ แบ่งออกได้ 4 แบบใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ 1. การตั้งลายพิณแบบลายลาเพลิน การตั้งสายพิณแบบนี้เป็นที่นิยมกันมากเพราะสามารถบรรเลงได้ง่าย เสียงทุ้มให้ความสนุกสนาน เสียงที่ตั้งสามารถตั้งได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง มี สายที่ 2 เป็นเสียง ลา สายที่ 3 เป็นเสียง มี (ต่า) 2. การตั้งลายพิณแบบเซิ้ง การตั้งลายพิณแบบนี้จะเล่นยาก และสามารถเล่นได้ทั้งลายลาเพลินและเพลงรวมทั้งการจับคอร์ด พิณได้ เสียงที่ตั้งสามารถตั้งได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง ลา สายที่ 3 เป็นเสียง มี (ต่า)
  • 5. 5 3. การตั้งลายพิณแบบสายคู่ การตั้งสายพิณแบบนี้ ให้เสียง 2 เสียงเหมือนกัน สามารถตั้งสายได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง เร สายที่ 3 เป็นเสียง มี 4. การตั้งลายพิณแบบสุดสะแนน สามารถตั้งสายพิณได้ดังนี้ สายที่ 1 เป็นเสียง เร สายที่ 2 เป็นเสียง ที สายที่3 เป็นเสียง มี (ต่า)
  • 6. 6 เครื่องดนตรีประเภทแคน แคน เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมือง ที่เป็นมรดกภาคอีสานที่เก่าแก่ที่สุด แคนเป็นเครื่อง ดนตรีที่มีความไพเราะ มีความซับซ้อนของเสียงมาก แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าเป็น เพลง ใครเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีนี้ขึ้นมานั้น ไม่สามารถบอกได้หรือไม่มีหลักฐานที่ แน่นอนยืนยันได้ แต่มีเพียงประวัติตานานที่เล่าขานกันสืบเรื่อยต่อมา ดังนี้ครั้งก่อนนั้นมี พราหมณ์คนหนึ่งได้เข้าไปในป่าเพื่อหาล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตของชาวบ้าน และพราหมณ์นั้น ได้เดินเข้าไปในป่าลึก ก็ได้ยินเสียงแววๆ มา มีความไพเราะมาก มีทั้งเสียงสูง เสียงต่า บ้างสลับกันไป แล้วพราณห์ก็ได้เข้าไปดูว่าเสียงนั้นมาจากที่ใด ทันใดนั้น ก็มองเห็นเป็นเสียงร้องของนกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “นกการเวก” จากนั้นก็ได้เดินทางกลับบ้าน แล้วนาเรื่องที่ตนได้ยินมานั้นไปเล่าให้ชาวบ้านได้ฟัง และมีหญิงหม้ายคนหนึ่งพอได้ฟังแล้วเกิดความสนใจอย่างมาก เลยขอติดตามนายพราณห์เข้าไปในป่า เพื่อไปดูนกการเวก ว่ามีความไพเราะจริงหรือไม่ ครั้งหญิงหม้ายได้ฟังเสียงนกการเวกร้องก็เกิดความไพเราะ เพลิดเพลินและติดอกติดใจ มีความคิดอย่างเดียวว่า จะทาอย่างไรดีถ้าต้องการฟังอีก ครั้งจะติดตามนก การเวกนี้ไปฟังคงจะยากแน่นอน จึงคิดที่จะทาเครื่องแทนเสียงร้องนกการเวก ให้มีเสียงเสนาะออนซอนจับ ใจ ดุจดังเสียงนกการเวกนี้ให้จงได้ เมื่อหญิงหม้ายกลับถึงบ้าน ก็ได้คิดทาเครื่องดนตรีต่างๆ เช่น ดีด สี ตี เป่า หลายๆ อย่าง ก็ยังไม่มีเสียงดนตรีชนิดใดมีเสียงไพเราะเหมือนกับเสียงนกการเวก ในที่สุดนางก็ได้ไปตัดไม้ ชนิดหนึ่ง เอามาประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง รู้สึกว่าค่อนข้างไพเราะ จึงได้พยายามดัดแปลง แก้ไขอีกหลายๆ ครั้ง จนกระทั่งเกิดเป็นเสียงไพเราะ เหมือนเสียงร้องของนกการเวก จนในที่สุดเมื่อได้แก้ไข ครั้งสุดท้ายแล้วลองเป่ารู้สึกไพเราะ ออนซอนจับใจ ดุจดังเสียงนกการเวก นางจึงมีความรู้สึกดีใจใน ความสาเร็จของตนเป็นพ้นที่ได้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีได้เป็นคนแรก จึงคิดที่จะไปทูลเกล้าถวายพระเจ้าป เสนทิโกศล และนางยังได้ฝึกหัดเป่าลายต่างๆ จนเกิดความชานาญเป็นอย่างดี จึงนาเครื่องดนตรีไปเข้าเฝ้าฯ ถวาย แล้วนางก็ได้เป่าลายเพลงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลฟัง เมื่อฟังเพลงจบแล้วพระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมี ความพึงพอใจอย่างมากที่มีเครื่องดนตรีประเภทนี้เกิดขี้นและทรงตั้งชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “แคน” ด้วย เหตุนี้เครื่องดนตรีที่หญิงหม้ายที่ได้ประดิษฐ์ขึ้น โดยใช้ไม้ไผ้น้อยเรียงติดต่อกันใช้ปากเป่า จึงได้ชื่อ ว่า “แคน” มาตราบเท่าทุกวันนี้และ แคน ยังมีหลายท่านที่ให้ความหมายของคาว่าแคน บ้างกล่าวว่าแคนเรียก ตามเสียงของแคน โดยเวลาเป่าเสียงแคนจะดังออกมาว่า แคนแล่นแคน แล่นแคน แล่นแคน แต่บางท่านก็ให้ ความหมายว่า แคน เรียกตามไม้ที่นามาทาเต้าแคน คือ ไม้ที่ทาเต้าแคนนั้น นิยมใช้ไม้ตะเคียน หรือภาษา อีสานเรียกว่าไม้แคนจากการสันนิษฐานจากนิยายเรื่อง หญิงหม้าย แล้วยังสันนิษฐานว่าแคนได้รับอิทธิพลมี ที่มาอยู่ 2 ประการ คือ
  • 7. 7 ประการที่หนึ่ง ทางด้านโบราณคดี ในประเทศจีนซึ่งเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ได้บ่งบอกว่า เคย เป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทย ได้มีการขุดพบหลุมฝังศพของหญิงสาวราชินีกุลคนหนึ่ง แถวมณฑลฮูนาน ราว 2,000 ปี ได้ค้นพบเครื่องดนตรีจานวนมากมาย เช่น ขลุ่ย และเครื่องดนตรีสาหรับเป่าที่มีรูปร่างคล้ายกับ แคน แต่มีเต้ายาวมาก เหมือนแคนชาวเขา เผ่ามูเซอ แถบภาคเหนือของไทย นั้นแสดงว่า เครื่องดนตรี ประเภทนี้เคยมีอยู่แล้วในประเทศจีน ประการที่สอง ด้านวรรณคดี จากวรรณคดีพื้นบ้านอีสานได้พบการใช้แคนอยู่หลายเรื่อง เช่น เรื่องท้าว ฮุ่งท้าวเจือง และท้าวก่ากาดา และเรื่องท้าวก่ากาดา มีตอนหนึ่งว่า กาดาใช้แคนเป่าจีบสาว ดังว่า ท้าวก็เป่าจ้อยๆ คือเสียงเสพเมืองสวรรค์ จนว่าฝูงคนเฒ่าเหงานอนหายส่วง จนว่าสาวแม่ฮ้าง คะนงโอ้อ่าวผัว ฝูงพ่อฮ้างคิดฮ่าคนึงเมีย เหลือทนทุกข์ผู้เดียวนอนแล้ว เป็นที่อัศจรรย์แท้เสียงแคนท้าวก่า ไผ่ได้ฟังม่วนแม้งในสว่างว่างเว ฝูงกินข้าวคาคอค้างอยู่ ฝูงอาบน้าป๋าผ่า แล่นมา ในปัจจุบันนี้ แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความเก่าแก่มากที่สุด เป็นเครื่องดนตรีที่มีความนิยมเป่ากัน มาก โดยเฉพาะชาวจังหวัดขอนแก่น ถือเอาแคนเป็นเอกลักษณ์ชาวขอนแก่น รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีประจา ภาคอีสานตลอดไป และในปัจจุบันนี้ชาวบ้านได้มีการประดิษฐ์ทาแคนเป็นอาชีพอย่างมากมายเช่น อ.นาหว้า จ.นครพนม จะทาแคนเป็นอาชีพทั้งหมู่บ้าน รวมทั้ง จังหวัดอื่นๆ อีกมากมาย และแคนยังเป็นเครื่องดนตรีที่ นามาเป่าประกอบการแสดงต่างๆ เช่นแคนวง วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง รวมทั้งมีการเป่าประกอบ พิธีกรรมของชาวอีสาน เช่า ราผีฟ้า ราภูไท เป็นต้น รวมทั้งเป่าประกอบหมอลากลอน ลาเพลิน ลาพื้น รวมทั้งหมอลาซิ่ง ยังขาดแคนไม่ได้
  • 8. 8 ประเภทของแคน แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทใช้ปากเป่าดูดลมเข้า-ออก ทามาจากไม้กู่แคนหรือไม้ซาง ตระกูลไม้ ไผ่ มีมากในเทือกเขาภูพวน แถบจังหวัดร้อยเอ็ด นครพนม ฝั่งประเทศลาวและภาคเหนือของไทย ลักษณะนามการเรียกชื่อแคนว่า “เต้า”
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12 ส่วนประกอบของแคน 1. ไม้กู่แคน 2. ไม้เต้าแคน 3. หลาบโลหะ (ลิ้นแคน) 4. ขี้สูท 5. เครือย่านาง
  • 13. 13 เทคนิคการเป่าแคน การเป่าแคนจะนั่งเป่าหรือยืนเป่าก็ได้ โดยมีวิธีการเป่าแคนดังนี้ 1. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ 2. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ต้องการ 3. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก ตามเสียงที่ต้องการ 4. ขยับนิ้วตามเสียงที่ต้องการ โน้ตแคน มือซ้ายลูกที่ มือขวาลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ 1 2 โด 3 6 เร 4 7 มี 5-7 - ฟา 6 3 ซอล - 1-4 ลา 2 5 ที การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน โน้ตแคน นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ หัวแม่มือ 1 โด ชี้ 2-3 ที-เร กลาง 4-5 มี-ฟา นาง 6-7 ซอล-ฟา ก้อย 8 เสพซ้าย
  • 14. 14 การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน โน้ตแคน นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ หัวแม่มือ 1 ลา ชี้ 2-3 โด-ซอล กลาง 4-5 ลา-ที นาง 6-7 เร-มี ก้อย 8 เสพขวา ลักษณะการวางนิ้วแคนแปด
  • 15. 15 เครื่องดนตรีประเภทโปงลาง โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก "เกราะลอ" หรือ ขอลอ คา ว่า "โปงลาง" นี้ ใช้เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทางภาคอีสานตอนกลางและ ตอนเหนือ ความหมายของโปงลางนั้นมาจากคา ๒ คา คือ คาว่า "โปง" และ "ลาง" โปง เป็น สิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีในยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระบิณฑบาตให้ ญาติโยมเตรียมตัวตักบาตร ตีเวลาเย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะเสียง โปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคาว่า ลาง นั้น หมายถึง ลางดี ลาง ร้าย โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อเรียกว่า "เกราะลอ" ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดยย่อคือ ท้าว พรหมโคตร ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมาก่อนเป็นผู้ที่คิดทาเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ "เกราะ" ที่ใช้ตีตาม หมู่บ้านในสมัยนั้น เกราะลอทาด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สีขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียง กัน ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา เนื่องจากเกราะลอใช้สาหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ นา ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า เถียงนา) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนาจะ พักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตีนอกหมู่บ้าน เท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีในหมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็นต้น การเรียนการตีเกราะลอในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่ต้องอาศัยการจาโดยการจาทานอง ของแต่ละลาย เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลายคือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ และลายสุดสะแนน เช่นเดียวกับ ลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อนามาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก โปงลาง มีลักษณะวิธีการ บรรเลงคล้ายกับระนาดเอก คือนาท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อยติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทานองเพลง แขวนตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติดกับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปในหลาย ประเทศ สาหรับในประเทศไทยพบในแถบภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อด้วยกัน เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือหมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมี เสียงดังกังวานคล้าย ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน) ในปัจจุบัน โปงลางนอกจากจะใช้บรรเลงตามลาพังแล้ว ยังนิยมบรรเลงรวมวงกับเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น พิณ แคน โหวด กลอง ประกอบการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน รวมทั้งการแสดงร่วมกับเครื่องดนตรี สากล อีกด้วย
  • 16. 16 ส่วนประกองของโปงลาง การเทียบเสียงโปงลาง เสียงโปงลางถ้าใช้กับวงพื้นบ้านอีสานทั่วไป จะใช้ แคน เป็นหลักในการ บันทึกเสียง แต่ถ้าจะใช้บรรเลงกับวงดนตรีสากล จะต้องใช้ คีย์บอร์ด, อิเล็คโทนในการ เทียบเสียง หรือไม่ก็ใช้เครื่องเทียบเสียงสากล ในการเทียบเสียงลูกโปงลางในแต่ละลูก เสียง ที่ได้มาจะเข้ากับเครื่องดนตรีสากลได้เป็นอย่างดี การปรับแต่งเสียงโปงลาง การตีโปงลางบางครั้ง ทาให้เกิดเสียงเพี้ยนได้ ถ้าหากนานไปเสียงโปงลางเพี้ยน ก็สามารถปรับให้ เป็นเสียงมาตรฐานตามต้องการได้ โดยใช้วิธีดังนี้ 1. หากเสียงต่า ให้บากด้านหัวทั้งสองข้างทีละน้อยๆ จนได้เสียงตามที่ต้องการ 2. หากเสียงสูง ให้บากตรงกลาง ทีละน้อยๆ จนได้เสียงตามที่ต้องการ
  • 17. 17 เทคนิคการตีโปงลาง การตีโปงลางจะนั่งกับพื้นหรือยืน ในท่าที่ถนัด โดยจะอยู่ด้านซ้ายของโปงลาง ดังนี้ 1. จับไม้ตีโปงลางให้แน่น 2. ฝึกไล่เสียงจากจากเสียงต่า ไปหาเสียงสูง และจากเสียงสูงไปหาเสียงต่า ในลักษณะสลับมือซ้าย-ขวา 3. ฝีกตีกรอ รัว สะบัด 4. ฝีกบรรเลงลายที่ง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้ย ลายภูไท เป็นต้น
  • 19. 19 การเคาะโปงลาง โปงลางเป็นเครื่องดนตรีที่ทามาจากไม้เนื้อแข็ง เวลาเคาะจึงมีเสียงแกร่งสั้น และห้วน ถ้าเราเคาะ โน้ต 1 หรือ 2 จังหวะ จะได้เสียงไม่ไพเราะ เพราะเสียงนั้นไม่มีกังวาล ผู้ฝึกหัดจึงสมควรที่จะฝึกปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ฝึกเคาะรัวถี่แทนตัวโน้ต หรือซอยโน้ตให้ย่อยออกเป็นตัวเขบ็จ 1 ชั้น 2 ชั้น เป็นต้น 2. ผู้ฝึกจึงจาเป็นอย่างยิ่งต้องฝึกเคาะจังหวะตามทานองหลักให้ตนเองได้ยินจนแม่นยาก่อน แล้ว จึงฝึกซอยโน้ตทีหลัง 3. โดยทั่วไป ผู้เคาะโปงลางมีอยู่ 2 คน ผู้ที่เล่นทานองนั้นจะเรียกว่า “หมอเคาะ” ส่วนอีกคนหนึ่ง จะเล่นเสียงประสาน เรียกว่า “ หมอเสิบ” หมอเสิบนั้นเป็นผู้ช่วยทาจังหวะและทาเสียงทุ้ม การเคาะลูกโปงลาง อย่าเคาะตรงลงไปหนักๆตรงๆ จะทาให้เสียงกระด้าง ให้เคาะอย่างนิ่มนวล หรือ เคาะแฉลบออกอย่างสม่าเสมอ
  • 20. 20 เครื่องดนตรีประเภทโหวด โหวด เป็นเครื่องดนตรีของชาวอีสาน หรือ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่นเหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดัดแปลงมาเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน โหวด เกิดขึ้นในสมัยใดนั้น ยังไม่สามารถบอกได้แน่นอนหรือยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็น นิยายปรัมปรา สืบต่อกันมา ดังนี้ ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมืองหนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระโพธิสัตว์ เสวย ชาติมาเป็นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่องพระยาแถน เรื่องฝน ฟ้า อากาศ เจ็บไข้ ได้ป่วยก็ไปบนบานศาลกล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ทาให้คนและสัตย์หันไปนับถือพระยา คางคก ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้าที่เคยตกต้องตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็น เวลา 7 ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ธัญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์เดือดร้อนก็เลยทา สงครามกับพระยาแถน แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึกษากับพระยาคางคก พระยาคางคกก็รับอาสาจะไป สู้กับพระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับพระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทาสะพานดินเป็นถนน ขึ้นสู่เมืองพระยาแถน ให้พระยามดขึ้นไปสู่เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไปเจาะดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวน จะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่อง อสรพิษทั้งหลายไปดักอยู่ตามเสื้อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหารพระยาแถน ใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยาคางคกก็นาทัพขึ้นไปเจรจาขอฝนกับพระยาแถน พระยาแถนก็โกรธและไม่ ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่มปฏิบัติการ ตะขาบ แมง ป่อง ก็ออกมากัดทหารให้ล้มตาย ส่วนพระยาคางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู้กันบนหลังช้าง สู้กันไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟันพระยาคางคก ดาบก็หัก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หัก ในที่สุดพระยาคางคกได้จังหวะ ก็ใช้บ่วงศ์ (บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตกจากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตามสัญญา โดยมี เงื่อนไขกันอยู่ 3ประการ คือ ประการที่ 1 ให้พระยาแถน ประทานน้าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุษย์จะทาบั้ง ไฟ จุดขึ้นไปเป็นการบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทานฝนลงมาให้มนุษย์ ประการที่ 2 การได้ยินเสียง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้าฝนแล้ว ประการที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝนเพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ท้องฟ้าให้เกิดเสียงดังเป็นสัญญาณ ให้ พระยาแถนทราบว่าได้รับน้าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริมาณฝนลง หรือให้ฝนหยุด ปัจจุบันนี้โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมมาก และเป็นเครื่องดนตรีที่นามาบรรเลงเข้ากับเครื่อง ดนตรีอีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็นวงดนตรีพื้นเมืองอีสานดังปรากฏในปัจจุบันนี้
  • 21. 21 ส่วนประกอบของโหวด 1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลักษณะผิวบาง 2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด 3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูกโหวด
  • 22. 22 เทคนิคการเป่าโหวด เทคนิคการเป่าโหวดมีดังนี้ 1. ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับโหวด โดยให้หัวแม่มืออยู่ที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้อยู่ในลูกที่ 4 2. นาหัว (ตรงขี้สูท) มาเป่า โดยเป่าลมออกให้เกิดเสียง และให้ขยับหาเสียงที่ชัดมาที่สุด 3. ฝึกเป่าโดยการไล่เสียงจากเสียงสูงไปหาเสียงต่าหรือ จากเสียงต่าไปหาเสียงสูง 4. ฝึกเป่าลมออกให้ยาวๆ 5. ฝีกเป่าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้น เป็นต้น
  • 23. 23 ประวัติความเป็นมาของลาย ราบายศรี เป็นการราที่ใช้ในพิธีบายศรีสู่ขวัญ เมื่อมีแขกมาเยือน ส่วนใหญ่จะประกอบเพื่อเป็นสิริมงคงใน พิธีจะมีพานบายศรีและพราหมณ์ผู้ทาพิธี เนื้อร้องก็จะอธิบายถึงความสวยงาม ของบายศรี และเป็นการเรียก ขวัญ พอราเสร็จก็จะมีการผูกข้อมือแขกด้วยฝ้ายขาว ซึ่งผ่านพิธีกรรมแล้วถือว่าฝ้ายที่ใช้ผูกนั้นจะทาให้อยู่ เย็นเป็นสุข ราโคตรบูรณ์ ศรีโคตรบูรณ์ เป็นอาณาจักรหนึ่งของชาวอีสาน ในสมัยโบราณซึ่งมีศูนย์กลางในจังหวัดสกลนคร และนครพนม เป็นการร่ายราที่นิ่มนวลมาก ซึ่งจัดว่าเป็นการราโบราณคดีของภาคอีสานและท่าราแต่ละท่า จะมีลีลาเฉพาะตัว ไม่ซ้าแบบใคร เซิ้งทานา เป็นการแสดงถึงขั้นตอนการทานา โดยเริ่มตั้งแต่การไถนา หว่านกล้า ถอนต้นกล้า ปักดาเกี่ยวข้าว การนวดข้าว และจนกระทั่งสุดท้ายการเก็บข้างใส่ยุ้งฉาง ผู้แสดงประกอบไปด้วยชายหญิง ราภูไทยเรณู เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านของชาวภูไท ซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาวเรณูนคร จังหวัด นครพนม เมื่อมีแขกมาเยี่ยมเยือน ก็จะมีการบายศรีสู่ขวัญ และมีการรื่นเริงแสดงดนตรีตลอด จนมี การละเล่นระบาราฟ้อนอย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะหนุ่มสาวออกมาฟ้อนราเกี้ยวพาราสีกัน และจังหวะ ดนตรีจะมีลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ ส่วนท่าราของหญิงจะอ่อนช้อยสวยงาม ส่วนท่าราของผู้ชาย จะ แสดงออกถึงความแข็งแกร่งสนุกสนาน
  • 24. 24 ราดึงครกดึงสาก ราดึงครกดึงสาก จัดว่าเป็นพิธีทางไสยศาสตร์ที่กระทาเพื่อขอฝน โดยมีครก มีสากที่ใช้สาหรับตา ข้าว เป็นอุปกรณ์สาคัญ โดยมีขั้นตอน คือ นาครกและสาก ผูกด้วยเชือกอย่างละเส้น แบ่งผู้ดึงให้เท่ากัน จับปลายเชือกคนละด้าน ตั้งจิต อธิษฐานว่า ถ้าฝนจะตกให้ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ ถ้าฝนไม่ตก ก็ขอให้อีกฝ่ายหนึ่งชนะ ส่วนท่ารานั้น ก็ ปรับปรุงตามแบบท่าราแม่ท่าของชาวอีสาน ให้ผสมผสานกับท่าที่เป็นไปตามธรรมชาติทานองเพลงมีการ ปรับเพื่อให้เกิดความกลมกลืนและเหมาะสมในรูปแบบของศิลปะ เซิ้งกะโป๋ เป็นการละเล่นของชาวอีสานใต้แถบ จังหวัดศรีษะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ เป็นต้น คา ว่า กะโป๋ หมายถึง กะลามะพร้าว ที่เอาส่วนของเปลือกออกหมดแล้ว นามาถือคนละ 2 ชิ้น แล้วก็ร่ายรา ประกอบการเต้นเข้าจังหวะและนากะลาของตนไปกระทบกับคู่เต้นขงตนเองและของคนอื่น สลับกันไป รา กะโป๋นี้เป็นแสดงออกถึงการราที่เน้นสายตา คอ ไหล่ สะโพก และเท้าของผู้หญิงและผู้ชาย ทั้งนี้ เพื่อให้เกิด ความสนใจของฝ่ายตรงกันข้าม เซิ้งครกมอง ครกมองเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตาข้าวของชาวอีสาน ที่มีความเจริญน้อยหรือที่เรียกว่า ชนบท ลักษณะของครกมอง มีขนาดใหญ่ ทาจากไม้เนื้อแข็ง มีไม้ยาว ๆ สาหรับตาข้าว หรือเรียกว่าสาก ท่า ราจะประดิษฐ์ท่าราในลีลาอ่อนช้อยและงดงามและมีการพูดผญา เกี้ยวพาราสีกันระหว่างหนุ่มสาวเป็นที่ สนุกสนาน ราเข็ญฝ้าย เป็นการราที่นามาประยุกต์ท่ารา ซึ่งแสดงถึงการประกอบอาชีพในการทอผ้าของชาวบ้าน โดยท่า ราจะออกมาในลักษณะวิธีการทอผ้า โดยเริ่มตั้งแต่การออกไปเก็บฝ้าย ตากฝ้าย ดีดฝ้าย และทอผ้า ราไทภูเขา เป็นการราของชาวภูไทกลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ตามภูเขา ในแถบเทือกเขาภูพาน การราจะแสดงให้ เห็นถึงการที่ชาวภูไท ได้เดินขึ้นภูเขาเพื่อไปหาของป่า เช่น หน่อไม้ ผักหวาน ใบย่านาง เก็บเห็ด ตัดหวาย ที่ มีอยู่ตามภูเขาเพื่อนามาประกอบอาหาร
  • 25. 25 ราดังหวาย เป็นการราบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือการเพื่อขอขมาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ตนเคารพนับถือ ครั้งก่อนเรียกว่า ราถวาย และในปัจจุบันเรียกว่า ราตังหวาย ท่าราก็จะมีท่าที่เป็นแม่แบบที่มีความสวยงามตามแบบชาวอีสาน เซิ้งเซียงข้อง เป็นการสะท้อนให้เห็นในเรื่องของพิธีกรรม ศาสนา ความเชื่อของชาวอีสาน ในการแสดงจะมีการ บูชาเชิญเทวดาให้สิงอยู่ในข้อง เพื่อขับไล่ผี เมื่อเทวดามาสิงแล้ว ข้องนั้นจะสั่นหรือกระตุกเซียงข้องจะนาคน ไปยังสถานที่มีผีอยู่ และจะจับหรือไล่ผีให้ออกไปจากหมู่บ้าน จากนั้นชาวบ้านก็จะอยู่เย็นเป็นสุข เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ไข่มดแดง เป็นอาหารประจาท้องถิ่นของชาวอีสาน ที่นิยมนามาประกอบอาหารรับประทาน เช่น ก้อยไข่มดแดง ยาไข่มดแดง เป็นต้น การแหย่ไข่มดแดงนั้นค่อนข้างลาบากเนื่องจากรับมดแดงนั้นอยู่สูง ดังนั้นจึงต้องใช้ไม้ยาว ๆ ผูกติดกับตะกร้า แล้วนาไปแหย่ ดังนั้นการแสดงชุดนี้จึงเป็นการแสดงที่ต้องการ ถ่ายทอดลีลาการแหย่ไข่มดแดงประกอบเพลงพื้นบ้าน ในทานองจังหวะเซิ้ง ได้อย่างสนุกสนาน ราภูไท 3 เผ่า ชาวผู้ไท เป็นกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แต่เดิมนั้น ชาวผู้ไทตั้งบ้านเรือนอยู่แถบสิบสองจุไทย แล้วชาวผู้ไทชอบตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้ กับภูเขาเพื่อการทามาหา กินจะเป็นไปโดยเรียบง่าย การแสดงชุดนี้จะแสดงถึงชาวผู้ไทที่อยู่ในภาคอีสาน ซึ่งจะแสดงถึงเอกลักษณ์ และประเพณีในแต่ละเผ่า คือ เผ่าที่ 1 เผ่าสกลนคร ใช้ลายภูไท เผ่าที่ 2 เผ่ากาฬสินธุ์ ใช้ลายภูไทเลาตูบ เผ่าที่ 3 เผ่านครพนม ใช้ลายภูไทเรณู (ลมพัดพร้าว)
  • 26. 26 รามวยโบราณ มวยเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวเป็นการต่อสู้ด้วยพละกาลัง โดยการใช้มือ เท้า ศอก หัว ซึ่งมี ประวัติความเป็นมาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์มาแล้ว ในสมัยก่อนนิยมฝึกหัดในหมู่บ้านนักมวยโบราณเป็นที่นิยม ชมชอบของทุกชนชั้น คนที่รามวยโบราณ จะมีการสักลายเต็มตัว ในสมัยก่อนจะสักด้วยว่าน น้ายาศักดิ์สิทธิ์ สักเป็นรูป สัตย์ต่าง ๆ ที่เลื่อมใส มีกาลังอานาจ นอกจากนั้นยังมีการสักเป็นลวดลายและลงอักษรโบราณที่เป็น คาถาอาคม การสักลายนี้ มีจุดมุ่งหมายเหมือนกับมีเครื่องรางของขลังติดตัวไปด้วย ทาให้อยู่คงกะพันแคล้ว คลาดและเป็นมหาเสน่ห์ สมัยก่อนการสักลงยันต์ทากันเป็นเรื่องใหญ่ เพราะต้องสักลงไปบนผิวหนัง ฝังลง ไปในเนื้อ โดยใช้เหล็กแหลมเหมือนปากกา สักด้วยหมึกดา หมึกแดง ผสมกับว่าน แต่ในปัจจุบันนี้ ไม่มีผู้ นิยมสักลาย นักแสดงมวยโบราณ จึงได้พัฒนาการการสักลายมาเป็นการเขียนลายแทน ดนตรีเป็นทาลอง จังหวะภูไท ฟ้อนแถบลานหรือเซิ้งหลวง เป็นการละเล่นของชาวตาบลบ้านติ้ว อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ ฟ้อนแถบลาน เดิมเรียกว่า ราแขน ลาน เป็นการฟ้อนในเทศกาลเข้าพรรษาและงานทาบุญบั้งไฟ มีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงเจ้าพ่อผาแดง ถ้า เจ้าพ่อมีความพึงพอใจ จะทาให้มีความอุดมสมบูรณ์ ฝนตกต้องตามฤดูกาล สีสันของชุดการแสดงนี้อยู่ที่ เสื้อผ้าที่เย็บด้วยแถบใบลานที่มีสีสันลวดลายสวยงาม เซิ้งบั้งไฟ ประเพณีชาวอีสาน มีความสาคัญต่อชีวิตของชาวอีสาน ซึ่งมีฮีต 12 คลอง 14 เป็นหลักในการดาเนิน ชีวิต บุญบั้งไฟหรือบุญเดือนหกเป็นประเพณีที่มีส่วนสร้างเสริมกาลังใจแก่ชาวบ้าน และเป็นการเตรียม ความพร้อมในการประกอบอาชีพทานา จุดประสงค์ใหญ่ คือ เพื่อการขอฝนจากพระยาแถน
  • 27. 27 ราแพรวากาฬสินธุ์ แพรวากาฬสินธุ์ หมายถึงผ้าแพรวซึ่งทอด้วยชาวบ้านโพน อ.คาม่วง จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมมีเพียง สีแดงเท่านั้น ต่อมาเสด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ทรงนาเข้าในโครงการศิลปาชีพ และทรงดารัส ให้มีการพัฒนาสีสันให้หลากหลาย สวยงามมากขึ้น ต่อมาวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ได้นามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง ในปี 2534 เนื่องใน วโรกาส ครบ 60 รอบ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ โดยผู้แสดงจะห่มผ้าแพรวาสีต่าง ๆ ท่าราก็จะ ดัดแปลงมาจากวิธีการทอผ้า เซิ้งโปง เซิ้งโปง เป็นการแสดงที่ผู้แสดงใช้โปงเป็นอุปกรณ์ประกอบการแสดง โดยผู้แสดงจะถือโปงคน ละ 1 ตัว และจะเขย่าโปงเป็นลายโปงลาย จากนั้นเป็นการแสดงท่าราต่าง ๆ ซึ่งมีโปงเป็นองค์ประกอบในการ ให้จังหวะในการแสดง เซิ้งสุ่ม สุ่ม เป็นอุปกรณ์ที่ทาด้วยไม้ไผ่ใช้ในการจับปลาของชาวอีสาน ซึงมีมาตั้งสมัยโบราณแต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เจริญมากขึ้น อุปกรณ์ชิ้นนี้จึงไม่เป็นที่นิยมของชาวบ้านมากนัก จึงได้มีการคิดท่าราประกอบ อุปกรณ์ชิ้นนี้ขึ้นเพื่อที่จะได้อนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านไว้สืบต่อไป รามโนราห์เล่นน้า มโนราห์เล่นน้า คือ ตอนหนึ่งของนิทานเล่ามา ซึ่งเป็นเรื่องของทุกภาครู้กันดี แต่ตามชื่อเรื่องของ ชาวอีสานที่เล่ากันนี้ มีชื่อว่า ท้าวสีทน นางมโนราห์ ซึ่งนาเอาตอนหนึ่งในเรื่องมาแสดง คือ ตอนนาง มโนราห์อาบน้า พร้อมกับพี่ทั้งหกและนางได้ไปติดบ่วงนายพรานเข้า พวกที่ทั้งหกตกใจกลัวแต่ช่วยอะไร นางไม่ได้ จึงได้บินกลับคืนเขาไกรลาส ซึ่งเหลือแต่นางมโนราห์ คนเดียวที่ติดบ่วงของนายพราน ทานองดนตรีในชุดนี้ใช้ลายลาเพลิน ซึ่งเป็นทานองที่มีจังหวะสนุกสนาน เร้าใจ และรวดเร็ว
  • 28. 28 เรือมปันโจ เป็นพิธีกรรมที่ชาวเขมรเรียกว่า “ปันโจบอนล็อด” คือพิธีประทับทรงของเทพยดาเพื่อมารักษา โรคภัยไข้เจ็บ ขณะที่ประทับทรวง จะมีการร่ายราด้วยลีลาที่งดงามและเป็นความเชื่อว่า ท่าร่าย รานั้น คือท่า กายภาพบาบัด เพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บนั้นเอง ราโปงลาง ราโปงลางเป็นราที่ใช้ประกอบการแสดงดนตรีพื้นเมืองที่เรียกว่า “โปงลาง” เพลงที่ใช้บรรเลง เรียกว่า “ลาย” ลายต่าง ๆ นามาจากการเลียนเสียงธรรมชาติ เกิดขึ้นครั้งแรกที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ลายต่าง ๆ ที่ ใช้ประกอบการราได้แก่ ลายลมพัดพร้าว ลายโปงลาง ลายช้างขึ้นภู ลายแม่ฮ้างกล่อมลูก ลายนกไทรบินข้าม ทุ่ง ลายภูไทยเลาะตูม ราคอนสวรรค์ ราคอนสวรรค์ คาว่า “คอนสวรรค์” เป็นสถานที่แห่งหนึ่งในประเทศลาวในสมัยที่ประเทศไทย และ ลาวยังเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รานี้จึงได้แพร่เข้ามาในประเทศไทย ซึ่งเป็นการร่ายราที่มีลีลาอ่อนช้อยงดงาม มาก ราศรีผไทสมันต์ เป็นการราที่ประดิษฐ์ท่าราจากอาชีพเลี้ยงไหม ทอผ้าของอีสานโดยจะเริ่มตั้งแต่ปลูกต้องหม่อน-เก็บ ใบไหมไปเลี้ยงตัวไหม การสาวไหม การเข็นไหม แล้วนาไหมนั้นทอผ้าเป็นผืนผ้าทานองเพลงที่ใช้เป็น ทานองกันตรึม ซึ่งลีล่าการร่ายราเป็นที่สนุกสนาน คณะอาจารย์โรงเรียน สิรินธร โรงเรียนอนุบาล สุรินทร์ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารา ฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ ฟ้อนภูไทเป็นการฟ้อนประกอบการราแบบภูไท ซึ่งปรับปรุงมาจากการเซิ้งบั้งไฟและการฟ้อน ท่า ดอนตาล ผู้แสดงเป็นหญิงทั้งหมด โดยนายมณฑา ดุลณี ร่วมกับกลุ่มแม่บ้านโพน เป็นผู้คิดประดิษฐ์ท่ารา ให้เป็นระเบียบ 4 ท่า ส่วนท่าอื่น ๆ คณะครูหมวดนาฏศิลป์พื้นบ้าน วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ เป็นผู้ ประดิษฐ์โดยได้ยึดเอาการฟ้อนของชาวภูไทคาม่วง เขาวงและกุฉินารายณ์ ทาการแสดงครั้งแรกที่ พระ ตาหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อปี พ.ศ. 2537
  • 29. 29 ลักษณะเครื่องแต่งกาย เสื้อแขนยาวสีดา คอตั้งคอเสื้อใช้ผ้าขิด ขลิบริมสาบเสื้อด้วยผ้าสีขาว ริมคอเสื้อด้านบนใช้ลูกปัด เล็ก ๆ ร้อยประดับโดยรอบกระดุมใช้เหรียญเงินเก่า ๆ เจาะรูแล้วเอากระดาษสีต่าง ๆ ร้อยทับเหรียญอีกที หนึ่ง เย็บเป็นแถวลงมาเกือบถึงชายเสื้อ ผ้าถุงใช้ผ้าซิ่นไหมทอเป็นลวดลายต่าง ๆ สวยงาม หรือใช้ไหม มัดหมี่ริมผ้าซิ่นทดลวดลายเป็นเชิงลวดลายนั้นเป็นเอกลักษณ์ของภูไทบ้านโพนโดยเฉพาะ สไบใช้ผ้าแพร วาพาดเฉียงห่มทับไหล่ซ้ายปล่อยชายทิ้งไว้ด้านหลังหรือห่มเฉียงจากไหล่ซ้าย มาติดเข็มกลัดที่เอวขวาหรือผู้ ทิ้งชายยาว ผมเกล้าสูงและมีผ้าฝ้ายทาเป็นชายอุบะห้อยทิ้งชายลงด้านใดด้านหนึ่งแล้วแต่ความงาม ไทภูเขา หมายถึงชาวไทภูเขากลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ตามแถบภูเขา ในเขตอาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ การ ร่ายราจะแสดงให้เห็นถึงการที่ชาวภูไท ขึ้นไปเก็บหน่อไม้ เก็บผักหวาน เก็บใบย่านาง บนภูเขา เพื่อนามา ประกอบอาหารในชีวิตประจาวัน ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงจะมีจังหวะตื่นเต้นเร้าใจ ลักษณะการแต่งกาย หญิง สวมเสื้อแขนกระบอกสีแดง นุ่งผ้าถุง ลายมัดหมี่สีดา ผ้าแพรวาพาดบ่า ศรีษะใช้ผ้าแพวา โพกหัว ใช้สีผ้าคาดเอว ชาย สวมชุดหม้อฮ่อมใช้ผ้าขาวม้าโพกหัวและคาดเอว สะพายย่าม
  • 30. 30 เนื้อเพลงประกอบการแสดง บายศรีสู่ขวัญ (ท่อน1) มาเถิดเย้อ มาเยอขวัญเอย มาเย้อขวัญเอย หมู่ชาวเมืองมาเบื้องขวานั่งส่ายราย เบื้องซ้ายนั่งเป็นแถว ยอพาขวัญไม้จันทร์เพลิดแพร้ว ขวัญมาแล้ว มาสู่คิงกลม เกศแก้วหอมลอยลมทั้งเอื้อนชวนชมเก็บเอาไว้บูชา ยามฝนพร่าเจ้าอย่าคลาย ยามแดดสายเจ้าอย่าคลา อยู่ที่ไหนจงมา รัดด้วยชัยยามาคล้องผ้าแพรกระเจา (ท่อน2) อย่าเพลินเผลอ มาเยอขวัญเอย มาเย้อขวัญเอย อยู่แดนดินใดหรือฟ้าฟากไกลขอให้มาเฮือนเฮ้า เผืออย่าคิดอะไรสู้เก่า ขออย่าเว้าขวัญเจ้าจะตรม หมอกน้าค้างพร่างพรมขวัญอย่าเพลินชมป่าเขาลาเนาไพร เชิญมาทัดพวงพยอม ทาน้าหอมให้ชื่นใจ เหล่าข้าน้อยแต่งไว้ร้อยพวงมาลัยจะคล้องให้สวยรวย
  • 31. 31 ราภูไท 3 เผ่า เผ่าที่ 1 (เผ่าสกลนคร) ไปเย้อไปไปโห่เอาชัยเอ้าสอง (ซ้า) ไปโฮมพี่โฮมน้องไปช่วยแซ่ซ้องอวยชัย เชิงเขาแสนจนหนทางก็ลาบาก (ซ้า) ตัวข้อยสู้ทนยากมาฟ้อนราให้ท่านชม เผ่าที่ 2 (เผ่ากาฬสินธุ์) โอ้ยน้อ… ละบ่าวภูไทเอย ชายเอยอ้ายได้ยินบ่อเสียงน้อง คองน้าตาเอ้นมาใส่ สาวภูไทไห้สะอื้น มายืนเอิ้นใส่พี่ชายอ้ายเอ้ย…..อ้ายเอย ชายเอยเห็นว่าสาวภูไทน้อง อยู่บ้านป่านาดอน หากินหมูกินแลน หมู่กระแตดอกเหนอ้ม ซางมาตั๋วให้นางล้ม โคมหนามแล้วถิ่มปล่อย ทาสัญญากันเรียบร้อย ซ้างมาฮ้างดอกห่างกัน อ้ายเอ้ย.อ้าย
  • 32. 32 ราไทพวน โอ้น้อ..มื้อนี้แม้ เลิศล้า มือประเสริฐ ดีงาม เฮาจึงมีเวลาพบกัน คราวนี้ โอกาสดีนาได้ เดินทางมา ต่านกล่าว ถามขาวข่าวพี่น้องทางพี่ผู้สู่คน พี่น้องเอย โอ้น้อ..ยามเมือมาพบพ้อ แสนชื่นสมใจ พี่น้องเอย พอสร้างไขวาจาสิ่งใดมาเว้า เฮือมขอเอามือ น้อมประนมกรละต้านต่อ ขอขอบใจพี่น้องทางพี่ผู้สู้คน พี่น้องเอย โอ้นอ..เฮานี่แม้ ชาติเชื้อสาวเผ่าไทพวน พี่น้องเอยเนาอยู่เมืองเชียงขวางประเทศลาว ทางโพ้นกับ ทางโขงพันเกือบบงบานพะนาหย้า พากันเนาคึกส่างทางพู้นสู่คน พี่น้องเอย โอ้น้อ..เฮานี่แม้ ชาติเชื้อสายเลือดเดียวกัน พี่น้องเอย มีหลายอันคือกันจ่อต่างกันบ่อน้อย คอยล่าแล สีหน้าอาภรณ์ ทุกสิ่งอย่างทุกข้าวทางปากเว้าเสมอด้ามดั้งเดียวกันนั่นแหล่ว โอ้น้อ..ที่มีกาลหาบตอน ยังก้มเกียรติจบงาม การอยู่กินไปมาสะดวกดีทันด้านสมว่าเป็นเมืองบ้าน เฮือนเคียงของน้องพี่ เฮียบได๋เนาที่นี่เสมอบ้านแคบตน พี่น้องเอย โอ้น้อ..มาถึงตอนชายนี้ เนี่ยมก็กล่าวอวยพร ขอวิงวอนคุณครู พระธรรมองค์เจ้า ขอให้มานาเข้า บันดาล และอยู่ส่ง ขอให้บ่งพี่น้อง อายุหมั่นหมื่นปี เว้ามาฮอนบอนนี้นางขออวยลาลง ขอขอบใจโคงสายโง้ง ลุง อ่าว ป้า ที่ได้อดสาเยินฟังเฮา น้องต้านกล่าว หวังว่าคราวหน้าพ้นคงสิได้พบกันพี่น้องเอย ลา..ลงท้อนั้น.. แหล่ว
  • 33. 33 ฟ้อนแคน (เกริ่น) ได้ยินเสียงแคนอ้าย คืนเดือนหงายคิดฮอดพี่ เสียงลมพัดวี่วี่ พัดแฮงคิดฮอดอ้าย โอยหลาย มื้อ แต่คิดนา จักแมนกรรมหยังน้อง จั่งหมองใจได้ไห้จ่ม พี่เอ๋ย..พี่บ่อสมความมาดแม้นแลงเซ้าดูเป่าดาย ซ่างบ่อกายมาบ้าน ให้นงครวญได้เหลียวพอ พอให้ใจอีน้อง ๆได้มองอ้ายให้ชื่นใจ…โอ้เด้นอ (ร้อง) เสียงแคนดัง ฟังตุแลแล่นแต้ ตุแลแล่นแต้ ไผนอมาเป่าๆ เสียงเหมือนดังเรียกสาว ถามว่าบ้านอยู่ใส น้องได้ฟังเสียงแคนดังหวนไห้ แคนบาดดวงใจ เหมือนอ้ายเคย เป่าให้ฟังๆ * โอ้..ฮักเอ๋ย ก่อนอ้ายเคยเว้าสั่ง ฮักอ้ายบ่จืดบ่จาง เหมือนแคนอ้ายสั่งดังแล้แล่นแต ๆ บ่ลืมเลือน ยามเมื่อเดือนส่องหล้า สองเราเคยเว้าว่า บ่ลืมสัญญา ฮักใต้ร่มไทร ยามน้องจาก มาอ้ายจ๋า อย่าห่วงอาลัย เสียงแคนคราวใด ยังคิดฮอดอ้ายอยู่ทุกเวลาๆ (ซ้า *)
  • 34. 34 สาวกาฬสินธุ์ลาเพลิน (เกริ่น) ละจั่งว่าเปิดผ้าม่านกั้ง แจ้งส่วางสีขาว ขาว….. ละสาวกาฬสินธุ์มาหา อย่าท่าทางหลาย เด้ออ้ายๆ (ลา) โอยเดชาย มามาอ้ายมาไปชมถิ่น มามาอ้ายมาไปชมถิ่น ทางกาฬสินธุ์บ้านน้องสิลองเว้าสู่ ฟัง บ่ต้องตั้งใจต่อรอฝนถึงฤดูปักดาสิหลั่งลงทางน้า ตามคลองน้อย ซอยมาจากเขื่อน คือจั่งเดือนส่องแจ้งบ่มี เศร้าเก่าหมอง (ร้อง) ตาเหลียวมองจ้องเขื่อนลาปาว ตาเหลียวมองจ้องเขื่อนลาปาว นั่งภูสิงห์สูงยาวเป็น ทิวทัศน์งามตา ถึงเดือนห้าสงกรานต์เดือนม่วน จนคานวณบ่ได้ โอยไหลเข้าอั่งโฮม สุขสมชมแดนสีสด จังหวัดงามหมดจดเหมือนดั่งเมืองแมน ได้ชมสมใจสุขแสน บ่มี ยากแค้นกาฬสินธุ์โสภา เอ้ามามามา เอ้ามาพี่มากราบ ให้ท่านได้ทราบว่าพี่มาเยือน เก็บดอกไม้จุดธูปจุดเทือน เก็บดอกไม้จุดธูปจุดเทือน ยกมือเหนือเศียรให้ท่านช่วยคุ้มครอง รูปจาลองพระโสมพระมิตร รูปจาลองพระ โสมพระมิตร เหมือนดังดวงจิตของชาวน้าดา กราบกรานทุกวันเย็นค่า เพราะเป็นผู้นากาฬสินธุ์ถิ่นงาม (ลา) หันมาเว้าเมืองงามนามแก่น หันมาเว้าเมืองงามนามแก่น แฟนพูไปอาจฮู้ ดูแล้วเที่ยวมา งามฟ้าเกินม่วนหัวใจ แฟนพุไปเที่ยวชม สิบ่ลืมเมืองน้อง สิบ่ลืมเมืองน้อง…… ราตังหวาย บัดนี้ ข้าขอยอนอแมนมือน้อม ชูลีกรนอแมนก้มกราบ ชูสลอนนอนบ่นอมนิ้วถวายไท้ ดอกผู้อยู่ เทิ้ง คนงามของน้องนี่น่า คนงามเอย… ชายเอย จุดประสงค์ นอเพื่อหมายแม้น เผือไปซินนอผืนบ้านเก่า ของไทเฮานอตั้งแต่ครั้ง โบราณ พื้นให้เฟืองให้ฟู คนงามของน้องนี้นา คนงามเอย… ชายเอย หาเอาตังร้อแมนหวายเซิ้ง ลาแตเถิงน้อบ้านเกียรติกอ สืบแต่กอน้อสุมผู้เฒ่าโบราณ ผืน ดอกกะพื้นกะฮ้าย ๆๆ คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… ชายเอย ปูเป็นทางน้อเผือเหลือแปลง คลองอีสานน้อบ่ให้หลุดล้น นาฎศิลป์น้อแมนคิดค้น นามา ร้องออโษษณา อ้ายพี่คนงามนี่นา คนงามเอย…
  • 35. 35 สาวกาฬสินธุ์ลาเพลิน (ต่อ) ชายเอย คิดฮอดคราวน้อยามเฮาเว้า ในเถียงนานั้นบ่มีฟ้า แม้สิฟาดน้อแมนไม้คอน แม้สิย้อนน้อ แมนไม้แซ ตีน้องนั่นแต่ผู้เดียว แต่ผู้เดียว แต่ผู้เดียว คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… ชายเอย คนจบๆน้อแมนจังอ้าย งามๆ น้อแมนจังเจ้า ซางบ่ไปน้อแม่นกินข้าวหัวมองน้อเจ้านาไก่ คนขี่ลายน้อแมนจังน้อง กินข้าวน้อแม่นบายปลา อ้ายพี่คนงามนั่นนา คนงามเอย… ชายเอย ไปบ่เมือน้อแม่นนาน้อง เมือนาน้องแม่นนาบ่อ ค่ารถน้องบ่ให้เสีย ค่าเฮือน้องบ่ให้จ้าง น้องสิตายน้อแม่นเป็นช้าง เอรวัณน้อให้อ้ายขี่ ตายเป็นรถกะน้อแท็กซี่ให้อ้ายน้อแม่นขี่เมือ อ้ายพี่คนงามนี่ นา คนงามเอย… ชายเอย ย้านบ่จริงน้อแมนจังเว้า สีชมพูน้อเจ้าจังว่า ย้านคือตอก น้อแม่นมัดกล้า ดานาแล้วละ เหยียบใส่ตมๆ คนงามของน้องนี่หนา คนงามเอย… บัดนี่ ขอสมพรน้อแม่นไปไฮ ผองเจ้าไทน้อทุกๆท่านสุขสราญ น้อทุกถ้วนหน้า ละสดชื่น ทุกคืน ทุกวัน ๆคนงามของน้องนี่หนา น้องขอลาแล้ว
  • 36. 36 เต้ยหัวโนนตาล ชาย โอเดพระนางเอย…พระนางเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางแคว้นๆ แดนใด๋ละน้องพี่ ปู ปลา มีบ่ละน้อง ทางบ้านหม่อมพระนาง หญิง โอเดพี่ชายเอย… พี่ชายเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางก้าๆ กะสินคาดานาห่าง โอเดพี่ชายเอย ปู ปลา เต็ม อยู่น้า ชวนอ้ายไปเที่ยวชม ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายมีจุดประสงค์แน่น หาแฟนเมืองน่าก่า เมืองดินดานี้ละน้อง ทางอ้ายจะเกี่ยวดอง กะจั่งว่าแก้มอ่องต่อง ไสยองยองเอย หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย เขาซ่าว่านกเขาตู้ บ้านอ้ายมันขันหอง เขาซ่าว่านกเขาทองบ้านอ้าย มันขันม่วน โอเอพี่ชายเอย บัดเทือมาฮ้อดแล้ว คู่ค้างซ่าง บ่โตน คันบ่โตนเจ้าคอนใต้ โอซ่างว่า โตนว่า คอนต่า โอเดพี่ชายเอย ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย คันว่าสิบแหนงไม้ คันว่าซาวแหนงไม้ บ่อคือแหนงดอกไม้ไผ่ โอ เดพระนางเอย อยากเป็นเขยบ้านน้องทางอ้ายจังต่าวมา หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย อ้ายอย่าตั๋วอีนางให้เซไซบ้าป่วง อย่ามาตั๋วให้น้องนางน้อยล่ะ จ่อยโซ ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายบ่ตั๋วพระนางน้อง คานางดอกน้องพี่ ฮักอีหลีตั๋วละน้อง ทาง อ้ายจั่งด่วนมา หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย คันบ่จริงอ้ายอย่าเว้า คันบ่เอาอ้ายอย่าว่า ทางปู่ย่าเพิ่นบ่พร้อมยอมเอาน้อง ขึ้นสู่เฮือน ชาย โอเดพระนางเอย…พระนางเอ้ย คันว่าเฮือนซานอ้าย น่อซานอ้ายดีหลายได้อุ่น นับเป็นบุญพี่อ้าย คันน้องเข้าฮ่วมเฮือน หญิง โอเดพี่ชายเอย…พี่ชายเอ้ย น้องนี้คิดฮอดอ้ายๆ คืนเดือนหงายสิแนมเบิ่งๆ โอเดพี่ชายเอยใจซิเถิง หม่อมอ้ายคืนนั้นให้พี่คอย ชาย โอเดพนะนางเอย…พระนางเอ้ย อ้ายสิขอราเกี้ยวๆ คานางให้มันม่วน อ้ายซิชวนหมู่เพื่อนลา เกี้ยวเข้าใส่กัน