SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
บทที่2 นาฎศิลป์ ตอนละคร
ละครมีหลายประเภท ได้แก่ ละครรำา ละครร้อง และละครพูด ละครรำายัง
แบ่งเป็น ๓ แบบ คือ ละครชาตรี ละครใน และละครนอก
ละครชาตรี หรือละครโนราชาตรีเป็นละครรำาแบบดั้งเดิม มีผู้แสดงสำาคัญ ๓
คน เช่น ถ้าเล่นเรื่องมโนห์รา ก็จะมีตัวละครสำาคัญ คือ พระสุธน นางมโนห์
รา และพรานบุญ เรื่องที่แสดงนำามาจากนิทานพื้นเมือง และชาดก ในระยะ
แรกใช้การท่องจำาบท หรือการด้นกลอนสด ต่อมาจึงมีการประพันธ์
บทกลอนให้ไพเราะขึ้น เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบละครชาตรี
ได้แก่ ปี่ใน กลอง โทน ฆ้องคู่ ฉิ่ง และกรับ
ละครในเป็นละครที่แสดงในวัง ผู้แสดงเป็นหญิงล้วน มีท่ารำาที่งดงาม และ
ทำานองดนตรีที่ไพเราะยิ่งนัก ละครในจะแสดงเพียง ๓ เรื่องเท่านั้น คือ
เรื่องรามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา ละครในเป็นการแสดงในราชสำานัก จึง
มีความงดงามวิจิตรตระการตา พร้อมทั้งมีดนตรีปี่พาทย์เครื่องใหญ่
ประกอบละครในจึงถือเป็นนาฎศิลป์ชั้นสูง
ละครนอกเป็นละครที่แสดงให้ชาวบ้านชม ผู้แสดงมีทั้งชายและหญิง เรื่อง
ที่นำามาแสดงมักจะเป็นนิทานพื้นเมือง และนิทานชาดก บทละครนอกที่
สืบทอดมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา คือ เรื่องการะเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง
พิมพ์สวรรค์ พิณสุริวงศ์ นางมโนห์รา โม่งป่า มณีพิไชย สังข์ทอง สังข์ศิลป์
ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ โสวัต ส่วนบทละครนอกพระราชนิพนธ์ ใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้แก่ ไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์
สังข์ทอง และมณีพิไชย
ศิลปะการแสดงละครรำาประกอบด้วยบทขับร้อง ดุริยางคดนตรี และการ
ร่ายรำา องค์ประกอบทั้ง ๓ อย่างนี้ มีความงดงามสอดคล้องกลมกลืนกัน
อย่างยิ่ง ผู้แสดงละครรำาต้องได้รับการฝึกหัดให้มีวินัย และขยันฝึกซ้อม ท่า
รำาจึงจะงดงามตามบทร้อง และทำานองดนตรี เช่น ตัวอย่างท่ารำาในบท
ละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ ตอนพระนารายณ์
ปราบนนทุก ก็คัดท่ารำาต่างๆ ในกลอนตำารารำาไปแต่งเป็นบทนารายณ์รำา
ขณะที่ผู้ชมละครได้ชมท่ารำาที่งดงามนั้น ก็จะคอยด้วยความระทึกใจว่า
เมื่อใด นนทุกจะถูกหลอกล่อให้ใช้นิ้วกายสิทธิ์ชี้ลงที่ตัวเอง จนกระทั่งถึง
ท่ารำาพญานาคม้วนหาง นนทุกก็สิ้นฤทธิ์ ดนตรีปี่พาทย์ ก็จะบรรเลงสร้าง
บรรยากาศ ให้ตื่นเต้นเร้าใจ
ท่ารำาต่างๆ เป็นการสื่อความหมาย แสดงอารมณ์ และบอกอิริยาบถต่างๆ
ท่ารำาบางท่า เลียนแบบอากัปกิริยาของคนและสัตว์ แต่นำามาปรับปรุงให้
ประณีตงดงามขึ้น เช่น ท่าสอดสร้อยมาลา แสดงท่ากรีดกรายร้อย
ดอกไม้ ท่ารำาที่เลียนแบบกิริยาของสัตว์ เช่น นกยูงฟ้อนหาง กวางเดินดง
หงส์ลินลา กินรินเลียบถำ้า ท่ารำาที่เลียนแบบธรรมชาติ เช่น จันทร์ทรงกลด
บัวชูฝัก เป็นต้น
แม้ละครนอก จะแสดงให้ชาวบ้านดู และเล่นเรื่องพื้นๆ ไม่โอ่อ่าหรูหรา แต่
ก็มีท่ารำาที่งดงาม การดำาเนินเรื่องรวดเร็ว ดังตัวอย่าง พระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรื่องสังข์ทอง ตอนรจนาเสี่ยงพวง
มาลัย ซึ่งแสดงท่ารำาตามบทอย่างชัดเจน
เพลงปี่พาทย์ที่บรรเลงมีทั้งจังหวะเร็ว และจังหวะช้า ตามท่วงท่าและ
อารมณ์ ของตัวละคร เช่น กิริยาเดิน นอน เตรียมยกทัพ รบต่อสู้ รัก
โอ้โลม สนุกเบิกบาน แสดงฤทธิ์ใช้เพลงพระยาเดิน บาทสกุณี เสมอข้าม
สมุทร เชิดฉาน เหาะ โคมเวียน กลม เข้าม่าน การต่อสู้ใช้เพลงเชิดกลอง
เชิดฉิ่ง เชิดนอก การนอนใช้เพลงตระนอน
เป็นต้น
ละคร
ละครไทย เป็นศิลปะและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
แบ่งออกเป็น ละครรำาแบบดั้งเดิม ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละคร
ใน และ ละครรำาที่ประยุกต์ขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครดึกดำาบรรพ์ ละครพันทาง
ละครเสภา ละครสังคีต ละครร้อง ละครพุด ละครเพลง ละครหลวงวิจิตร
วาทการ
ละครที่ได้รับวัฒนธรรมตะวันตก
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ วัฒนธรรมทางนาฎศิลป์ของตะวันตกได้แพร่หลายเข้า
มาในประเทศไทย ทำาให้เกิดละครแบบต่างๆ ขึ้น เช่น ละครดึกดำาบรรพ์ ที่
กล่าวมาแล้ว แต่ละครดึกดำาบรรพ์ยังคงใช้ท่ารำาของไทยเป็นหลัก ยังถือได้
ว่า เป็นนาฎศิลป์ของไทยอย่างสมบูรณ์ ส่วนละครที่นำาแบบของตะวันตกมา
ใช้จริงๆ ก็คือ ละครที่ไม่ใช้ท่ารำาเลย ใช้แต่กิริยาท่าทางของคนธรรมดา
สามัญ ที่เราปฏิบัติกันอยู่เท่านั้น เช่น ละครร้อง ละครพูด ละครพูดสลับลำา
และละครสังคีต
ละครร้อง
ละครร้อง เป็นแบบละครที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์
ทรงปรังปรุงขึ้น เป็นละครที่แสดงบนเวที เปลี่ยนฉากไปตามเนื้อเรื่อง
ดำาเนินเรื่องด้วยการร้องเท่านั้น ถ้อยคำาที่ร้องมีทั้งบอกชื่อตัวละคร บอก
กิริยา อารมณ์ของตัวละคร และเป็นคำาพูดของตัวละคร
วิธีแสดง ในตอนแรกผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน แต่สมัยหลังๆ มา ให้มีผู้ชาย
เป็นตัวตลกได้ การแสดงบทบาทใช้ท่าของคนธรรมดาสามัญ ไม่มีการรำา
การร้อง ถ้าเป็นบท บอกชื่อตัวละคร บอกกิริยา หรืออารมณ์ของตัวละคร
ต้นเสียงกับลูกคู่เป็นผู้ร้อง ถ้าบทนั้นเป็นคำาพูดของตัวละคร ผู้แสดงตัวนั้น
จะต้องร้องเอง แต่การร้องของตัวละครนี้ ตัวละครจะร้องเฉพาะที่เป็น
ถ้อยคำาเท่านั้น ส่วนการเอื้อน ที่เป็นทำานองติดต่อนั้น ลูกคู่จะต้องร้องแทรก
เข้ามาให้
การเจรจา เป็นการเจรจาทวนบท คือ พูดเป็นใจความเดียวกับบทที่ร้องไป
แล้วโดยมาก แต่ก็มีเจรจาบทอื่นๆ บ้าง จะเป็นการเจรจา อย่างไรก็ตาม ผู้
แสดงจะต้องพูดด้วยปฏิภาณปัญญาของตนเอง
เรื่องที่แสดง เป็นเรื่องชีวิตของธรรมดาสามัญชนอย่างนวนิยาย เช่น เรื่อง
ตุ๊กตายอดร้ก ขวดแก้วเจียระไน เครือฟ้าของประเสริฐอักษร (พระเจ้าบรม
วงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์) เป็นต้น
ละครพูด
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
สยามมกุฎราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสำาเร็จ
การศึกษาจากยุโรป เสด็จกลับมาประทับ ณ พระราชวังสราญรมย์ ได้ทรง
นำาเอาแบบการแสดงละครของยุโรป มาแปลงให้เป็นการแสดงของไทย
อย่างหนึ่ง ละครแบบนี้เรียกว่า ละครพูด
ละครพูด เป็นละครที่แสดงบนเวที เปลี่ยนฉากเป็นสถานที่ตามเนื้อเรื่อง
การแต่งตัว แต่งตามสภาพเป็นจริงของเรื่อง
การดำาเนินเรื่อง ดำาเนินด้วยคำาพูด และการปฏิบัติของตัวละคร
การพูด ใช้คำาพูอย่างธรรมดาสามัญชน แต่อาจเน้นในอารมณ์บางอย่างให้
เด่นขึ้น เพื่อให้ผู้ชมเข้าใจชัดเจน
กิริยาท่าทาง ใช้กิริยาท่าทางอย่างสามัญชน
เรื่องที่แสดง เป็นเรื่องชีวิตของธรรมดาสามัญชนอย่างนวนิยาย เช่น พระ
ราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เรื่องหัวใจนักรบ ชิงนาง เห็นแก่ลูก เป็นต้น
ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงเวลาปิดฉากเท่านั้น
ละครพูดสลับลำา
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น
พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๖ แห่งพระราชวงศ์จักตรี พระองค์ก็ยังทาง
โปรดการแสดงละครพูดอยู่ เมื่อทรงว่างพระราชกิจ ก็ทรงพระราชนิพนธ์
บทละครพูดเรื่องต่างๆ และยังทรงวิวัฒนาการละครพูดให้เปลี่ยนแปรออก
ไปอีก พระบาทเสด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์
บทร้องขึ้น ให้ร้องแทรกในการแสดงละครพูดบางตอน โดยไม่ตัดบทพูด
ใดๆ ในละครของเดิมออกเลย ในครั้งแรกทรงเรียกว่า "ละครพูดแกม
ลำา" ภายหลังจึงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำา" ใจความของบทร้องไม่มีความ
สำาคัญในการดำาเนินเรื่องเลย หากตัดบทร้องออก ก็คงเป็นละครพูดอย่าง
สมบูรณ์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร
พูดจำานวนมาก
การแสดงละครพูดสลับลำาทุกอย่าง สถานที่คำาพูด ท่าทาง และการแต่งตัว
ตลอดจนลักษณะของเรื่องที่แสดง เหมือนละครพูดทั้งสิ้น
เว้นแต่บางตอน ตัวละครจะต้องร้องเพลงไทยแทรกเข้ามา และแล้วก็แสดง
เป็นละครพูดไปตามเดิม เช่น การแสดงละครพูดสลับลำาเรื่องปล่อยแก่ ของ
นายบัว วิเศษกุล บทร้องพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖
ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงนำาและคลอเวลาร้อง กับเวลาปิดฉาก
ละครสังคีต
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงปรับปรุงละครขึ้นอีกแบบ
หนึ่ง มีทั้งร้องเพลงและพูด ทั้งบทร้อง และบทพูด มีความสำาคัญในการ
ดำาเนินเรื่องด้วยกัน จะตัดอย่างหนึ่งอย่างใดออกไม่ได้ เนื้อเรื่องจะ
ขาดตอนไป ละครแบบนี้ ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต"
วิธีแสดง ฉาก กิริยาท่าทาง การพูดและร้อง เหมือนกับละครพูดสลับลำา แต่
ในการร้องอาจต้องใส่อารมณ์มากกว่าละครพูดสลับลำา และเพลงดนตรีอาจ
มีเพลงหน้าพาทย์ เช่น พญาเดิน รัวแทรกด้วย
ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงนำาและคลอเวลาร้อง กับบรรเลงเพลง
หน้าพาทย์ (ถ้ามี) และเวลาปิดฉาก
เรื่องที่แสดง เช่น พระราชนิพนธ์เรื่อง มิกาโด วั่งตี่ วิวาหพระสมุทร และ
หนามยอกเอาหนามบ่ง
ละครแบบที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำามา และ
ปรับปรุงเหล่านี้ สมัยก่อนผู้แสดงเป็นผู้ชายทั้งสิ้น ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็น
ชายจริง หญิงแท้
จะเห็นได้ว่า คำาว่า "นาฎศิลป์" ซึ่งแต่เดิมหมายถึง การแสดงต่างๆ ที่
ประกอบด้วยการรำา ไม่ว่าจะเป็นระบำา หรือละคร แบบใดนั้น ได้มีความ
หมายแผ่กว้างออกไปอีก เมื่อวัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามาในเมืองไทย
อันทำาให้เกิดมีละครที่ใช้กิริยาท่าทางอย่างสามัญชน ซึ่งไม่มีการรำาเลย ดัง
นั้น การแสดงละครร้อง ละครพูด ละครพูดสลับลำา และละครสังคีต ที่ไม่มี
การรำา แต่เป็นละครอีกแบบหนึ่ง ก็ต้องถือว่า เป็นนาฎศิลป์ด้วย
ละครนอก
เป็นละครที่พัฒนามาจากละครชาตรี แต่เดิมคงมีตัวละครเพียง ๓-๔ ตัว
อย่างละครชาตรี ต่อมามีการแสดงละครกันอย่างแพร่หลายทั่วไปในหมู่
ราษฎร มีการเล่นเรื่องต่างๆ มากขึ้น ต้องเพิ่มตัวละครขึ้นตามเนื้อเรื่อง
ผู้แสดงยังคงเป็นชายล้วน แต่การแต่งกายได้ประดิษฐ์เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง
ให้ประณีตงามขึ้น
เรื่องที่แสดง
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา นิยมเล่นกันหลายเรื่อง ล้วนแต่เป็นประเภท
จักรๆ วงศ์ๆ นิทานชาวบ้าน นิทานชาดก
มีคติสอนใจ เช่น การเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง พิมพ์สวรรค์ พิณสุริย
วงศ์ มโนราห์ โม่งป่า มณีพิชัย สังข์ทอง
สังข์ศิลป์ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ โสวัต
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีบทพระราชนิพนธ์ละครนอก ในรัชกาลที่
๒ อีก ๖ เรื่อง คือ สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ ไกรทอง
มณีพิชัย คาวี สังข์ศิลป์ชัย ทั้ง ๖ เรื่องนี้ พระราชนิพนธ์ขึ้นเพื่อให้ละครผู้
หญิงของหลวงแสดง
การแต่งกาย คงแต่งอย่างชาวบ้านธรรมดา เพราะเป็นละครชาวบ้าน
เพียงแต่ให้รัดกุมสะดวกในการทำาบท และใช้ผ้าโพกหรือห่มพอให้รู้ว่าเป็น
หญิงหรือชาย ต่อมา มีผู้ประดิษฐ์ให้งดงาม ปักดิ้นเลื่อมแพราวพราว ศีรษะ
สวมชฎาและรัดเกล้า
ทั้งรัดเกล้ายอด รัดเกล้าเปลว ตลอดจนปันจุเหร็จ กระบังหน้ารูปต่างๆ
ผู้แสดง เริ่มมีผู้หญิงแสดงละครนอก ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แต่เป็นละคร
หลวง ผู้แสดงต้องเป็นคนแคล่วคล่องว่องไว มีไหวพริบปฏิภาณชำานาญทั้ง
รำาและร้อง มีลูกคู่รับ หากเป็นบทเล่าหรือบรรยาย ลูกคู่จะร้อง และผู้แสดง
ต้องพูดเอง เล่นตลกเอง มีคนบอกบทร้องให้
การแสดง ดำาเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว แทรกตลกขบขัน ไม่เคร่งครัด
ขนบประเพณี ตลกจะเล่นกับเจ้าฟ้า เจ้าแผ่นดินและมเหสีก็ได้ การร่ายรำา
ด้วยท่าทางกระฉับกระเฉง ว่องไว
เพลงร้องและดนตรี เดิมใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลงประกอบการ
แสดง ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงตามความใหญ่โตของงาน เพลงร้องส่วนมาก
เป็นเพลงชั้นเดียว หรือสองชั้นที่มีจังหวะรวบรัด ดำาเนินเรื่องด้วยเพลงร่าย
นอก ระดับเสียงในการร้องและบรรเลงใช้ทางนอก เหมาะกับเสียงผู้ชาย
สถานที่แสดง โรงละครเป็นรูปสี่เหลี่ยมดูได้ ๓ ด้าน (เดิม) กั้นฉาก
ผืนเดียวโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงไปตามท้องเรื่อง มีประตูเข้าออก ๒ ทาง
หน้าฉากตรงกลางตั้งเตียงสำากรับตัวละครนั่ง ด้านหลังฉากเป็นส่วนสำาหรับ
ละครพักแต่งตัว
ละครใน
เป็นละครที่แสดงในวัง ได้นำาวิธีการเล่นเดินเรื่องอย่างละครนอก มาให้
เหล่าระบำาในพระราชฐานแสดง โดยนำาบทที่เคยแสดงโขนคือเรื่องรามเกีย
รตื์์ และอุณรุท มาแสดงโดยนางในราชสำานัก จึงเรียกว่าละครนางใน
หรือละครข้างใน ต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า ละครใน
เรื่องที่แสดง แสดงเฉพาะ ๓ เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา
การแต่งกาย เครื่องแต่งกายประณีตงดงาม ตามแบบของกษัตริย์
เช่น มีมงกุฎ สังวาล ทับทรวง เจียระบาด ห้อยหน้า สนับเพลา พระภูษา
ฉลองพระองค์ ฯลฯ
ผู้แสดง เดิมเป็นหญิงล้วน ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๑ มี ละครในผู้ชาย
แสดง เช่น นายทองอยู่เป็นอิเหนา
การแสดง ท่ารำา ต้องประณีตงดงามตามแบบราชสำานัก ละครในมุ่งดู
ศิลปะการร่ายรำามากกว่าเนื้อเรื่อง
ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์เหมือนละครนอก ใช้ทางในซึ่งมีระดับเสียงเหมาะ
กับผู้หญิง และมักเป็นเพลงที่มีลีลา ท่วงทำานองค่อนข้างช้า วิจิตรพิสดาร
เหมาะกับลีลาท่ารำา
เพลงร้อง ปรับปรุงให้มีทำานองและจังหวะนิ่มนวล สละสลวย ตัวละคร
ไม่ร้องเอง มีต้นเสียงและลูกคู่ มักมีคำาว่า "ใน" อยู่ท้ายเพลง เช่น ช้าปี่ใน
โอ้โลมใน
สถานที่แสดง เดิมแสดงในพระราชฐานเท่านั้น ต่อมาแสดงไม่จำากัด
สถานที่
ละครดึกดำาบรรพ์
เป็นละครที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ กำาเนิดขึ้น ณ ที่บ้านเจ้าพระยา
เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ตั้งอยู่ระหว่างถนนอัษฎางค์กับ
ถนนบ้านหม้อ ชื่อ " โรงละครดึกดำาบรรพ์ "
เจ้าพระยาเทเวศน์วงศ์วิวัฒน์ได้เดินทางไปยุโรปในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ และมี
โอกาสได้ชมโอเปร่า ซึ่งท่านชื่นชมในการแสดงมาก เมื่อกลับมาจึงคิดทำา
ละครโอเปร่าให้เป็นแบบไทย
นอกจากท่านจะเป็นผู้สร้างโรงละครดึกดำาบรรพ์ สร้างเครื่องแต่งกายและ
อุปกรณ์การแสดงแล้ว ท่านยังได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงานที่สำาคัญ
ได้แก่
๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์
ทรงพระนิพนธ์บทเลือกสรรปรับปรุงทำานองเพลง ออกแบบฉาก และกำากับ
การแสดง
๒. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ตาด ตาตะนันทน์) เป็นผู้จัดทำานองเพลง
ควบคุมวงดนตรีและปี่พาทย์
๓ หลวงเสนาะดุริยางค์ (ทองดี ทองพรุฬห์) เป็นผู้ควบคุมและ
ฝึกสอนการขับร้อง
๔. หม่อมเข็ม กุญชร ณ อยุธยา ภรรยาของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์
วิวัฒน์ เป็นผู้ปรับปรุงและประดิษฐ์ท่ารำา และฝึกสอนให้เข้ากับบทและลำานำา
ทำานองเพลง
ละครดึกดำาบรรพ์ ได้นำาออกแสดงครั้งแรกปี พ.ศ. ๒๔๔๒ เนื่องใน
โอกาสต้อนรับเจ้าชายเฮนรี่ พระอนุชาของสมเด็จพระเจ้ากรุงปรัสเซีย ซึ่ง
เป็นพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จน
ได้รับความนิยมตลอดมา จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ เจ้าพระยาเทเวศร์
วงศ์วิวัฒน์ เกิดอาการเจ็บป่วย ถวายบังคมลาออกจากราชการ ทำาให้ต้อง
เลิกการแสดงละครดึกดำาบรรพ์ไป นับแต่เริ่มแสดงละครดึกดำาบรรพ์จนเลิก
การแสดง รวมระยะเวลา ๑๐ ปี
ละครดึกดำาบรรพ์ มีลักษณะ ดังนี้
๑. การแสดงจัดบนเวที มีฉากและเครื่องกลไกประกอบ ให้ผู้ดูรู้ว่าเป็น
สถานที่ไหน มีสภาพอย่างไร เวลาใด เกิดปรากฏการณ์ใดขึ้น โดยใช้เท
คนิคใหม่ๆ เข้าช่วย
๒. ใช้ความจริงเป็นหลัก เล่นให้สมจริง
๓. ไม่มีบทที่กล่าวถึงกิริยาอาการต่างๆ ของตัวละคร เพราะผู้ดูเห็นอยู่
แล้วว่าใครทำาอะไร มีเฉพาะบทพูดของตัวละคร
๔. มีการแทรกการอ่านทำานองเสนาะ เช่น อ่านฉันท์ เพลงเด็ก เพลง
พื้นเมือง ขับเสภา เห่เรือ ฯลฯ
๕. การฟ้อนรำามีน้อย เพราะต้องการความรวดเร็ว จึงมีการรำาใช้บท
เป็นพื้น แต่ฉากสุดท้ายต้องสวยงามกว่าฉากอื่นๆ มักมีฟ้อนรำางามๆ แบบ
ละครใน มีตัวละครมากๆ
๖. ผู้แสดงต้องรำาและพูดเอง ต้องเป็นผู้ที่มีรูปงาม รำางาม และเสียง
ไพเราะ
๗. การแต่งกาย แต่งแบบละครใน แต่ไม่นิยมสวมหัวโขน เพราะทำาให้
ดูงุ่มง่าม จะใช้การเขียนหน้าแทน
๘. ดนตรีปี่พาทย์ ใช้ปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องใหญ่ แต่ยกเว้น ไม่ใช้
เครื่องบางอย่างที่หนวกหู เช่น ระนาดทอง และฆ้องเล็ก
ละครพันทาง
มีลักษณะ ดังนี้
๑. ดำาเนินเรื่องด้วยการร้อง บางครั้งมีต้นเสียง และลูกคู่ร้องทั้งหมด
อย่างละครนอก บางครั้งต้นเสียงร้องบรรยาย ส่วนที่เป็นคำาพูดตัวละครร้อง
เอง ความสำาคัญอยู่ที่ถ้อยคำา ทั้งบทร้องและบทเจรจา
๒. นิยมเล่นเรื่องที่เกี่ยวกับต่างชาติ เช่น พระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน
พระลอ ราชาธิราช ท่ารำา เพลงร้องเลงดนตรี จึงมีลีลาของต่างภาษาตาม
ท้องเรื่อง
๓. สถานที่แสดง แสดงในโรงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง
อย่างละครดึกดำาบรรพ์
๔. การแต่งกาย แต่งแบบพันทาง คือมีลักษณะผสม แต่งตามเชื้อชาติ
และธรรมเนียมของต่างชาติตามท้องเรื่อง
๕. การขับร้องและบรรเลง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม ใช้ขลุ่ยแทนปี่ เพิ่มซอ
อู้ เพลงร้องและบรรเลงมักเป็น เพลงภาษา และมี เครื่องภาษา เข้าประสม
เช่น กลองจีน ปี่มอญ เปิงมาง ฯลฯ
ละครพันทางนี้ ถ้าเล่นดำาเนินเรื่องด้วยการขับเสภา แทนการร้องร่าย
นอก เรียกว่า ละครเสภา ได้แก่ ขุนช้างขุนแผน และไกรทอง
ละครเสภา
เสภามีกำาเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเป็นที่นิยมแพร่
หลาย ทำาให้เกิดมีการปรับปรุงแข่งขันกันขึ้น ผู้เล่าบางท่านจึงคิดแต่ง
เป็นกลอน ใส่ทำานอง มีเครื่องประกอบจังหวะ คือ "กรับ" จนกลายเป็นขับ
เสภาขึ้น
เสภามีมาแต่โบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่ามีขึ้นในสมัย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๒๐๑๑ เสภาในสมัยโบราณไม่มี
ดนตรีประกอบ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีปี่พาทย์บรรเลงประกอบ
สมัยรัชกาลที่ ๓ นิยมพลงอัตรา ๓ ชั้น เพลงที่ร้องและบรรเลงในการ
ขับเสภา ซึ่งเคยขับเพลง ๒ ชั้น ก็เปลี่ยนเป็น ๓ ชั้นบ้าง และใช้กันมาจน
ปัจจุบันนี้
สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีผู้คิดเอาตัวละครเข้าแสดงการรำาและทำาบทบาท
ตามคำาขับเสภาและร้องเพลง เรียกว่า "เสภารำา" สมัยนี้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้กวีช่วยแต่งเสภาเรื่อง นิทราชาคริต เพื่อใช้ขับเสภาใน
เวลาทรงเครื่องใหญ่ มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงคือ พวกขับเสภาสำานวน
แบบนอก คือใช้ภาษาพื้นบ้านมาสนใจสำานวนหลวง
สมัยรัชกาลที่ ๖ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำารงราชานุ
ภาพกับพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา ช่วยกันชำาระเสภาขุน
ช้างขุนแผน แก้ไขกลอนให้เชื่อมต่อกัน และพิมพ์เป็นฉบับ
หอสมุดแห่งชาติเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ เป็นแบบแผนของการแสดง
ขับเสภา ซึ่งต่อมากลายเป็นละครเสภา
ผู้แสดง นิยมใช้ผู้แสดงชายและหญิง ตามบทเสภาของเรื่อง
การแต่งกาย แต่งกายตามท้องเรื่องคล้ายกับละครพันทาง
เรื่องที่แสดง มักจะนำามาจากนิทานพื้นบ้าน เช่น เรื่องขุนช้าง
ขุนแผน ไกรทอง หรือเรื่องจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เช่น เรื่อง
พญาราชวังสัน สามัคคีเสวก
การแสดง ละครเสภาจำาแนกตามลักษณะการแสดงไว้ ดังนี้
๑. เสภาทรงเครื่อง สมัยรัชกาลที่ ๔ วงปี่พาทย์ได้ขยายตัวเป็นเครื่อง
ใหญ่ เมื่อปี่พาทย์โหมโรงจะเริ่มด้วย "เพลงรัวประลองเสภา" ต่อด้วย "เพล
งโหมโรง" เช่น เพลงไอยเรศ เพลงสะบัดสะบิ้ง หรือบรรเลงเป็นชุดสั้นๆ
เพลงครอบจักรวาล แล้วออกด้วยเพลงม้าย่องก็ได้ มีข้อความสำาคัญว่า
โหมโรงจะต้องลงด้วยเพลงวา จึงจะเป็นโหมโรงเสภา เมื่อปี่พาทย์โหมโรง
แล้ว คนขับก็ขับเสภาไหว้ครูดำาเนินเรื่อง จากนั้นร้องส่งเพลงพม่าห้าท่อน
แล้วขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงจระเข้หางยาวแล้วขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงสี่
บทแลัวขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงบุหลันแล้วขับเสภาคั่น ต่อไปไม่มีกำาหนด
เพลง คงมีสลับกันเช่นนี้ตลอดไป จนจวนหมดเวลา จึงส่งเพลงส่งท้ายอีก
เพลงหนึ่ง เดิมใช้เพลงกราวรำา ต่อมาเปลี่ยนเป็นอกทะเล เต่ากินผักบุ้ง หรือ
พระอาทิตย์ชิงดวง เดิมบรรเลงเพลง ๒ ชั้น ต่อมาประดิษฐ์เป็นเพลง ๓ ชั้น
ที่เรียกว่า เสภาทรงเครื่อง คือ การขับเสภาแล้วมีร้องส่งให้ปี่พาทย์รับ
๒. เสภารำา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ กระบวนการเล่น มีคนขับเสภา
และเครื่องปี่พาทย์ บางครั้งก็ใช้มโหรีแทน มีตัวละครออกแสดงบทตามคำา
ขับเสภา และมีเจรจาตามเนื้อร้อง เสภารำามีแบบสุภาพและแบบตลก ผู้ริเริ่ม
คือ ขุนรามเดชะ (ห่วง) บางท่านว่า ขุนราม (โพ) กำานันตำาบลบ้านสาย
จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเล่าลือกันว่าขับเสภาดี ผู้แต่งเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน
ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยา สมัยรัชกาลที่ ๖ ขุนสำาเนียงวิเวกวอน (น่วม
บุณยเกียรติ) ร่วมกับนายเกริ่นและนายพัน คิดเสภาตลกขึ้นอีกชุดหนึ่ง
เลียนแบบขุนช้างขุนแผน โดยแสดงเรื่องพระรถเสนตอนฤาษีแปลงสาร
ดนตรีี มักนิยมใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลง และมีกรับขยับ
ประกอบการขับเสภา
เพลงร้อง มีลักษณะคล้ายละครพันทาง แต่จะมีการขับเสภาซึ่งเป็น
บทกลอนสุภาพ แทรกอยู่ในเรื่องตลอดเวลา
สถานที่แสดง แสดงในโรงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง
อย่างละครดึกดำาบรรพ์
ละครสังคีต
คำาว่า "สังคีต" หมายถึง การรวมเอาการฟ้อนรำาและการละคร พร้อมทั้ง
ดนตรีทางขับร้อง และดนตรีทางเครื่องด้วย ละครสังคีตหมายถึง ละครที่มี
ทั้งบทพูดและบทร้องเป็นส่วนสำาคัญเสมอ จะตัดอย่างใดอย่างหนึ่งออกไม่
ได้
ละครสังคีตเป็นละครที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง
ริเริ่มขึ้น โดยมีวิวัฒนาการจากละครพูดสลับลำา ต่างกันที่ละครสังคีตมีบท
สำาหรับพูด และบทสำาหรับตัวละครร้องในการดำาเนินเรื่องเท่าๆ กัน
ผู้แสดง ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดงจริงตามเนื้อเรื่อง
การแต่งกาย
แต่งตามสมัยนิยม คำานึงถึงสภาพความเป็นจริงของฐานะตัวละครตามเนื้อ
เรื่อง และความงดงามของเครื่องแต่งกาย
เรื่องที่แสดง
นิยมแสดงบทพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มี
4 เรื่อง ได้แก่ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่ง ทรงเรียกว่า "ละครสลับลำา"
เรื่องวิวาหพระสมุทร ทรงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำา" เรื่องมิกาโดและวั่งตี่
ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต"
การแสดง
มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง ตัวละครจะต้องร้องเองคล้ายกับละครร้อง
แต่ต่างกันที่ละครร้องดำาเนินเรื่องด้วยบทร้อง การพูดเป็นเจรจาทวนบท
ส่วนละครสังคีตมุ่งบทร้องและบทพูดเป็นหลักสำาคัญในการดำาเนินเรื่อง เป็น
การแสดงหมู่ที่งดงาม ในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลก
ประกอบเสมอ และมุ่งไปในทางสนุกสนาน
ดนตรี บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม
เพลงร้อง ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น มีลำานำาที่ไพเราะ
ละครร้อง
ละครร้องเป็นศิลปะการแสดงแบบใหม่ ที่กำาเนิดขึ้นในตอนปลายรัช
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ปรับปรุงขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากละครต่างประเทศ ต้นกำาเนิดละครร้อง
มาจากการแสดงของชาวมลายู เรียกว่า "บังสาวัน" ได้เคยเล่นถวาย
รัชกาลที่ 5 ทอดพระเนตรครั้งแรกที่เมืองไทรบุรี และต่อมาละครบังสาวัน
ได้เข้ามาแสดงในกรุงเทพฯ โรงที่เล่นอยู่ที่ข้างวังบูรพา พระเจ้าบรมวงศ์
เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแก้ไขปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นที่โรง
ละครปรีดาลัย คณะละครนี้ต่อมาได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า "ละครหลวงนฤมิต
ร" บางครั้งคนยังนิยมเรียก "ละครปรีดาลัย" อยู่ ต่อมาเกิดคณะละครร้อง
แบบปรีดาลัยขึ้นมากมาย เช่น คณะปราโมทัย ปราโมทย์เมือง ประเทือง
ไทย วิไลกรุง ไฉวเวียง เสรีสำาเริง บันเทิงไทย นาครบันเทิง
ได้นิยมกันมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 และครั้งหลังสุด คือ
โรงละครนาคบันเทิงของแม่บุนนาค กับโรงละครเทพบันเทิงของแม่ช้อย
นอกจากนี้ได้กำาเนิดละครร้องขึ้นอีกแบบหนึ่ง โดยสมเด็จพระบรมโอ
รสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดัดแปลงละครของ
ชาวตะวันตกจากละครอุปรากรที่เรียกว่า "โอเปอเรติก ลิเบรตโต" มาเป็น
ละครในภาษาไทย และได้รับความนิยมอีกแบบหนึ่ง
ละครร้องจึงแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ละครร้องสลับพูด ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
2. ละครร้องล้วนๆ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6)
ผู้แสดง
ละครร้องสลับพูด ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ยกเว้นแต่ตัวตลก หรือจำาอวด ใช้
ผู้ชายแสดง
ละครร้องล้วนๆ ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดงจริงตามเนื้อเรื่อง
การแต่งกาย
ละครร้องสลับพูด แต่งตามฐานะของตัวละคร
ละครร้องล้วนๆ แต่งแบบละครพันทาง หรือตามลักษณะของตัวละครใน
เรื่อง
เรื่องที่แสดง
ละครร้องสลับพูด แสดงเรื่อง ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้วเจียระไน เครือณรงค์
กากี ภารตะ สาวเครือฟ้า
ละครร้องล้วนๆ แสดงเรื่อง สาวิตรี
การแสดง
ละครร้องสลับพูด มีทั้งบทร้องและบทพูด ยึดถือการร้องเป็นส่วนสำาคัญ มี
ลูกคู่คอยร้องรับอยู่ในฉาก ยกเว้นแต่ตอนที่เป็นการเกริ่นเรื่องหรือดำาเนิน
เรื่อง ลูกคู่จะเป็นผู้ร้องทั้งหมด
ละครร้องล้วนๆ ตัวละครขับร้องโต้ตอบกัน และเล่าเรื่องเป็นทำานองแทน
การพูด ดำาเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงล้วนๆ ไม่มีบทพูดแทรก มีเพลงหน้า
พาทย์ประกอบอิริยาบถของตัวละคร จัดฉากประกอบตามท้องเรื่อง ใช้
เทคนิคอุปกรณ์แสงสีเสียง เพื่อสร้างบรรยากาศให้สมจริง
ดนตรีี
ละครร้องสลับพูด บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม หรืออาจใช้วงมโหรี
ประกอบ ในกรณีที่ใช้แสดงเรื่องเกี่ยวกับชนชาติอื่นๆ
ละครร้องล้วนๆ บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม
เพลงร้อง
ละครร้องสลับพูด ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ในกรณีที่ตัวละครร้อง
ใช้ซออู้คลอตามเบาๆ เรียกว่า ร้องคลอ
ละครร้องล้วนๆ ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ที่มีลำานำาทำานองไพเราะ
สถานที่แสดง
ละครร้องสลับพูด และละครร้องล้วนๆ มักแสดงตามโรงละครทั่วไป
ละครพูด
ละครพูดเริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการแสดงละครพูดสมัครเล่นเป็นครั้งแรก
เนื้อเรื่องละครพูดที่แสดงในสมัยนี้ ดัดแปลงมาจากบทละครรำาที่รู้จักกัน
อย่างแพร่หลาย
พ.ศ. 2422 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
พระราชนิพนธ์ลิลิตนิทราชาคริต จบบริบูรณ์แล้ว ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ ให้สมาคม "แมจิกัลโซไซเอตี" โดยมีสมเด็จฯ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่าง
วงศ์ เป็นนายกสมาคมจัดการแสดงละครเรื่องนี้ขึ้น ทรงเป็นผู้กำาหนดตัว
ละครเอง โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นทิวากรวงษ์ประวัติ
เป็นอาบูหะซัน พระองค์เจ้าจิตรเจริญ คือ สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา
นุวัตติวงศ์ เป็นตัวนางนอซาตอล
พ.ศ. 2425 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้จัดการแสดงละครเรื่องอิเหนาในงานเฉลิมพระราชมนเทียร
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ละครที่แสดงในครั้งนี้เป็นละครรำา แต่มีบท
เจรจาที่ทรงพระราชนิพนธ์เองบ้าง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า
น้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากรและเจ้านายพระองค์อื่นๆ แต่งถวาย
บ้าง
พ.ศ. 2447 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยาม
มกุฎราชกุมาร ทรงสำาเร็จการศึกษา และเสด็จนิวัติประเทศไทยแล้ว ทรงตั้ง
"ทวีปัญญาสโมสร" ขึ้นในพระราชอุทยานสราญรมย์ แต่ในสมัยเดียวกันนี้
ได้มีการตั้ง "สามัคยาจารย์สโมสร" ซึ่งมีเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเป็น
ประธานอยู่ก่อนแล้ว กิจกรรมของ 2 สโมสรที่คล้ายคลึงกัน คือการแสดง
ละครพูดแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากละครตะวันตก สมเด็จพระบรมโอ
รสาธิราชฯ ทรงมีส่วนร่วมในกิจการการแสดงละครพูดของทั้ง 2 สโมสรนี้
จึงได้ถวายพระเกียรติว่าทรงเป็นผู้ให้กำาเนิดละครพูด
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคทองของละคร
พูด ประชาชนให้ความสนใจต่อละครประเภทนี้มาก เพราะเห็นว่าเป็นของ
แปลกและแสดงได้ง่าย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
สนับสนุนละครพูดอย่างดียิ่ง ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดที่ดีเด่นเป็น
จำานวนมาก และทรงร่วมในการแสดงด้วยหลายครั้ง
ละครพูดแบ่งได้เป็นประเภทใหญ่ๆ คือ
1. ละครพูดล้วนๆ หรือละครพูดแบบร้อยแก้ว
2. ละครพูดแบบร้อยกรอง
3. ละครพูดสลับลำา
ผู้แสดง
ละครพูดล้วนๆ ในสมัยโบราณใช้ผู้ชายแสดงล้วน ต่อมานิยมใช้ผู้
แสดงเป็นชายล้วน ต่อมานิยมใช้ผู้แสดงชายจริงหญิงแท้
ละครพูดแบบร้อยกรอง ใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิง มีบุคคลิกและการ
แสดงเหมาะสมตามลักษณะที่บ่งไว้ในบทละคร นำ้าเสียงแจ่มใสชัดเจนดี
เสียงกังวาน พูดฉะฉาน ไหวพริบดี
ละครพูดสลับลำา ใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิง เหมือนละครพูดแบบร้อย
กรอง
การแต่งกาย
ละครพูดล้วนๆ แต่งกายตามสมัยนิยม ตามเนื้อเรื่องโดยคำานึงถึงสภาพ
ความเป็นจริงของตัวละคร
ละครพูดแบบร้อยกรอง แต่งให้เหมาะสมถูกต้องตามบุคคลิกของตัว
ละคร และยุคสมัยที่บ่งบอกไว้ในบทละคร
ละครพูดสลับลำา การแต่งกายเหมือนละครพูดล้วนๆ หรือแต่งกายตาม
เนื้อเรื่อง
เรื่องที่แสดง
ละครพูดล้วนๆ เรื่องที่แสดงเรื่องแรก คือ เรือง"โพงพาง" เมื่อ พ.ศ.
2463 เรื่องต่อมาคือ "เจ้าข้าสารวัด" ทั้งสองเรื่อง เป็นพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ละครพูดแบบร้อยกรอง จำาแนกตามลักษณะคำาประพันธ์ดังนี้ คือ
1. ละครพูดคำากลอน จากบทประพันธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น เรื่องเวนิสวาณิช ทรงแปลเมื่อ พ.ศ. 2459
เรื่องพระร่วง ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2460
2. ละครพูดคำาฉันท์ ได้แก่ เรื่องมัทนะพาธา พระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ.
2466
3. ละครพูดคำาโคลง ได้แก่ เรื่องสี่นาฬิกา ของอัจฉรา
พรรณ(อาจารย์มนตรี ตราโมท) ประพันธ์เมือปี พ.ศ. 2469
ละครพูดสลับลำา ได้แก่ เรื่องชิงนาง และปล่อยแก่ ซึ่งเป็นของนายบัว
ทองอิน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์
บทร้องแทรก โดยใช้พระนามแฝงว่า "ศรีอยุธยา" และทรงแสดงเป็นหลวง
เกียรติคุณ เมื่อ พ.ศ. 2449
การแสดง
ละครพูดล้วนๆ การแสดงจะดำาเนินเรื่องด้วยวิธีพูดใช้ท่าทางแบบ
สามัญชนประกอบ การพูดที่เป็นธรรมชาติ ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของ
ละครชนิดนี้คือ ในขณะที่ตัวละครคิดอะไรอยู่ในใจ มักจะใช้วิธีป้องปาก
พูดกับผู้ดุ ถึงแม้จะมีตัวละครอื่นๆ อยู่ใกล้ๆ ก็สมมติว่าไม่ได้ยิน
ละครพูดแบบร้อยกรอง การแสดงจะดำาเนินเรื่องด้วยวิธีพูดที่เป็นคำา
ประพันธ์ชนิด คำากลอน คำาฉันท์ คำาโคลง
ละครพูดสลับลำา ยึดถือบทพูดมีความสำาคัญในการดำาเนินเรื่องแต่เพียง
อย่างเดียว บทร้องเป็นเพียงสอดแทรกเพื่อเสริมความ ยำ้าความ
ดนตรีี
ละครพูดล้วนๆ บรรเลงโดยวงดนตรีสกลหรือวงปี่พาทย์ไม้นวม แต่จะ
บรรเลงประกอบเฉพาะเวลาปิดฉากเท่านั้น
ละครพูดแบบร้อยกรอง บรรเลงดนตรีคล้ายกับละครพูดล้วนๆ
ละครพูดสลับลำา บรรเลงดนตรีคล้ายกับละครพูดล้วนๆ แต่บางครั้งใน
ช่วงดำาเนินเรื่อง ถ้ามีบทร้อง ดนตรีก็จะบรรเลงร่วมไปด้วย
เพลงร้อง
ละครพูดล้วนๆ เพลงร้องไม่มี ผู้แสดงดำาเนินเรื่องโดยการพูด
ละครพูดแบบร้อยกรอง เพลงร้องไม่มี ผู้แสดงดำาเนินเรื่องโดยการพูด
เป็นคำาประพันธ์ชนิดนั้นๆ
ละครพูดสลับลำา มีเพลงร้องเป็นบางส่วน โดยทำานองเพลงขึ้นอยู่กับผู้
ประพันธ์ที่จะแต่งเสริมเข้ามาในเรื่อง
ละครเพลง
เป็นละครของเอกชนที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ. ๒๔๗๕ ละครที่มีชื่อเสียงนี้ คือ ละครจันทโรภาส เป็นละครของนาย
จวงจันทน์ จันทร์คณา (พรานบูรณ์) สิ่งหนึ่งที่พรานบูรณ์ทำาเป็นหลัก คือ
ปรับปรุงจากเพลงไทยเดิมที่มีทำานองเอื้อน มาเป็นเพลงไทยสากลที่ไม่มี
ทำานองเอื้อน นับเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงเพลงไทยเดิมมาก
ทีเดียว
ผู้แสดง จะใช้ผู้แสดงที่เป็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง แสดงจริงตามบทบาท
ในเรื่อง
การแต่งกาย แต่งกายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อเรื่อง
เรื่องที่แสดง ได้แก่ จันทร์เจ้าขา โจ๊ะโจ้ซัง ฝนสั่งฟ้า คืนหนึ่งยังจำาได้
ดนตรี นิยมบรรเลงด้วยวงดนตรีสากล
เพลงร้อง จะเป็นเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ โดยประยุกต์จากเพลงไทยเดิมมาเป็นเพลงไทยสากล
ตามจังหวะและทำานอง ที่ผู้ประพันธ์กำาหนดขึ้นให้กับผู้แสดงได้ขับร้องในระหว่างแสดง
สถานที่แสดง แสดงบนเวที มีการจัดฉากเหมือนละครหลวงวิจิตรวาทการ
ละครหลวงวิจิตรวาทการ
หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ ๒๔๗๕ กรมศิลปากรได้รวบรวมศิลปิน โขน
ละคร และนักดนตรี ขึ้นมารวมกันใหม่อีกครั้งหนึ่งตั้งเป็นกองขึ้นในกรมศิลปากร ทั้งได้ตั้งโรงเรียน
นาฏดุริยางคศาสตร์ ขึ้นฝึกฝนนักเรียนด้วยเพื่อรักษาศิลปะของชาติไว้มิให้เสื่อมสูญ ในระยะนี้
หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) ดำารงตำาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร เป็นทั้งนักการทูต
และนักประวัติศาสตร์ ท่านจึงมองเห็นคุณค่าทางการละครที่จะใช้เป็นสื่อปลุกใจ ให้ประชานเกิด
ความรักชาติ เนื้อหาจะนำามาจากประวัติศาสตร์ตอนใดตอนหนึ่ง บทละครจะมีทั้งรัก รบ อารมณ์
สะเทือนใจ ความรักที่มีต่อคู่รัก ถึงแม้จะมากมายเพียงไร ก็ไม่เท่ากับความรักชาติ ตัวเอกของเรื่อง
เสียสละชีวิต พลีชีพเพื่อชาติ ด้วยเหตุที่ละครของท่านไม่เหมือนการแสดงละครที่มีอยู่ก่อน คนทั้ง
หลายจึงเรียกละครของท่านว่า "ละครหลวงวิจิตรวาทการ"
ผู้แสดง จะใช้ผู้แสดงที่เป็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง แสดงจริงตามบทบาทในเรื่อง
การแต่งกาย แต่งกายตามเนื้อเรื่องและให้ถูกต้องตามประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ
เรื่องที่แสดง ได้แก่ ราชมนู พระเจ้ากรุงธน ศึกถลาง เจ้าหญิงแสนหวี พระมหาเทวี
เบญจเพส น่านเจ้า
อนุสาวรีย์ไทย พ่อขุนผาเมือง ดาบแสนเมือง ชนะมาร เจ้าหญิงกรรณิการ์ สีหราชเดโช ตาย
ดาบหน้า ลานเลือดลานรัก เพชรรัตน์-พัชรา ลูกพระคเณศ ครุฑดำา โชคชีวิต อานุภาพ พ่อขุน
รามคำาแหง อานุภาพแห่งความเสียสละ
อานุภาพแห่งความรัก อานุภาพแห่งศีลสัตย์ และเลือดสุพรรณ
ดนตรี บรรเลงด้วยวงดนตรีไทยและวงดนตรีสากลประกอบกัน
เพลงร้อง มีทั้งเพลงไทยเดิมและเพลงไทยสากล ซึ่งการใช้เพลงไทยสากลจะมี ๓ ลักษณะ คือ
๑. เพลงไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องโต้ตอบกัน มักเป็นเพลงรัก เช่น เพลงดวงจันทร์ ในบท
ละครเรื่องเลือดสุพรรณ
๒. เพลงไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องประกอบการแสดง เนื้อร้องและท่วงทำานองมักสอดคล้องกับ
บรรยากาศในท้องเรื่อง เช่น เพลงยากเย็น ในบทละครเรื่องเลือดสุพรรณ
๓. เพลงไทยสากลอีกประเภท คือ เพลงปลุกใจ ซึ่งมักแทรกอยู่ในบทละครประวัติศาสตร์ของ
ท่านแทบทุกเรื่อง เช่น เพลงเลือดสุพรรณ ในบทละครเรื่องเลือดสุพรรณ
สถานที่แสดง แสดงได้ทุกสถานที่ และจะมีการจัดฉากที่วิจิตรบรรจงประกอบการแสดง

More Related Content

What's hot

เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาน้อง มัดไหม
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
Mole
MoleMole
Mole
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 

Similar to ละคร

ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxpinglada1
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกItt Bandhudhara
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19ssuser4d3eb6
 

Similar to ละคร (20)

Khone
KhoneKhone
Khone
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19
รพีพรรณ์ นวลสิงห์ 5-8 เลขที่19
 

More from leemeanxun

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบleemeanxun
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนleemeanxun
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาleemeanxun
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธleemeanxun
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทยleemeanxun
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศleemeanxun
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanxun
 

More from leemeanxun (20)

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
 

ละคร

  • 1. บทที่2 นาฎศิลป์ ตอนละคร ละครมีหลายประเภท ได้แก่ ละครรำา ละครร้อง และละครพูด ละครรำายัง แบ่งเป็น ๓ แบบ คือ ละครชาตรี ละครใน และละครนอก ละครชาตรี หรือละครโนราชาตรีเป็นละครรำาแบบดั้งเดิม มีผู้แสดงสำาคัญ ๓ คน เช่น ถ้าเล่นเรื่องมโนห์รา ก็จะมีตัวละครสำาคัญ คือ พระสุธน นางมโนห์ รา และพรานบุญ เรื่องที่แสดงนำามาจากนิทานพื้นเมือง และชาดก ในระยะ แรกใช้การท่องจำาบท หรือการด้นกลอนสด ต่อมาจึงมีการประพันธ์ บทกลอนให้ไพเราะขึ้น เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบละครชาตรี ได้แก่ ปี่ใน กลอง โทน ฆ้องคู่ ฉิ่ง และกรับ ละครในเป็นละครที่แสดงในวัง ผู้แสดงเป็นหญิงล้วน มีท่ารำาที่งดงาม และ ทำานองดนตรีที่ไพเราะยิ่งนัก ละครในจะแสดงเพียง ๓ เรื่องเท่านั้น คือ เรื่องรามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา ละครในเป็นการแสดงในราชสำานัก จึง มีความงดงามวิจิตรตระการตา พร้อมทั้งมีดนตรีปี่พาทย์เครื่องใหญ่ ประกอบละครในจึงถือเป็นนาฎศิลป์ชั้นสูง ละครนอกเป็นละครที่แสดงให้ชาวบ้านชม ผู้แสดงมีทั้งชายและหญิง เรื่อง ที่นำามาแสดงมักจะเป็นนิทานพื้นเมือง และนิทานชาดก บทละครนอกที่ สืบทอดมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา คือ เรื่องการะเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง พิมพ์สวรรค์ พิณสุริวงศ์ นางมโนห์รา โม่งป่า มณีพิไชย สังข์ทอง สังข์ศิลป์ ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ โสวัต ส่วนบทละครนอกพระราชนิพนธ์ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้แก่ ไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง และมณีพิไชย
  • 2. ศิลปะการแสดงละครรำาประกอบด้วยบทขับร้อง ดุริยางคดนตรี และการ ร่ายรำา องค์ประกอบทั้ง ๓ อย่างนี้ มีความงดงามสอดคล้องกลมกลืนกัน อย่างยิ่ง ผู้แสดงละครรำาต้องได้รับการฝึกหัดให้มีวินัย และขยันฝึกซ้อม ท่า รำาจึงจะงดงามตามบทร้อง และทำานองดนตรี เช่น ตัวอย่างท่ารำาในบท ละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ ตอนพระนารายณ์ ปราบนนทุก ก็คัดท่ารำาต่างๆ ในกลอนตำารารำาไปแต่งเป็นบทนารายณ์รำา ขณะที่ผู้ชมละครได้ชมท่ารำาที่งดงามนั้น ก็จะคอยด้วยความระทึกใจว่า เมื่อใด นนทุกจะถูกหลอกล่อให้ใช้นิ้วกายสิทธิ์ชี้ลงที่ตัวเอง จนกระทั่งถึง ท่ารำาพญานาคม้วนหาง นนทุกก็สิ้นฤทธิ์ ดนตรีปี่พาทย์ ก็จะบรรเลงสร้าง บรรยากาศ ให้ตื่นเต้นเร้าใจ ท่ารำาต่างๆ เป็นการสื่อความหมาย แสดงอารมณ์ และบอกอิริยาบถต่างๆ ท่ารำาบางท่า เลียนแบบอากัปกิริยาของคนและสัตว์ แต่นำามาปรับปรุงให้ ประณีตงดงามขึ้น เช่น ท่าสอดสร้อยมาลา แสดงท่ากรีดกรายร้อย ดอกไม้ ท่ารำาที่เลียนแบบกิริยาของสัตว์ เช่น นกยูงฟ้อนหาง กวางเดินดง หงส์ลินลา กินรินเลียบถำ้า ท่ารำาที่เลียนแบบธรรมชาติ เช่น จันทร์ทรงกลด บัวชูฝัก เป็นต้น แม้ละครนอก จะแสดงให้ชาวบ้านดู และเล่นเรื่องพื้นๆ ไม่โอ่อ่าหรูหรา แต่ ก็มีท่ารำาที่งดงาม การดำาเนินเรื่องรวดเร็ว ดังตัวอย่าง พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรื่องสังข์ทอง ตอนรจนาเสี่ยงพวง มาลัย ซึ่งแสดงท่ารำาตามบทอย่างชัดเจน
  • 3. เพลงปี่พาทย์ที่บรรเลงมีทั้งจังหวะเร็ว และจังหวะช้า ตามท่วงท่าและ อารมณ์ ของตัวละคร เช่น กิริยาเดิน นอน เตรียมยกทัพ รบต่อสู้ รัก โอ้โลม สนุกเบิกบาน แสดงฤทธิ์ใช้เพลงพระยาเดิน บาทสกุณี เสมอข้าม สมุทร เชิดฉาน เหาะ โคมเวียน กลม เข้าม่าน การต่อสู้ใช้เพลงเชิดกลอง เชิดฉิ่ง เชิดนอก การนอนใช้เพลงตระนอน เป็นต้น ละคร ละครไทย เป็นศิลปะและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ แบ่งออกเป็น ละครรำาแบบดั้งเดิม ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละคร ใน และ ละครรำาที่ประยุกต์ขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครดึกดำาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา ละครสังคีต ละครร้อง ละครพุด ละครเพลง ละครหลวงวิจิตร วาทการ ละครที่ได้รับวัฒนธรรมตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ ๕ วัฒนธรรมทางนาฎศิลป์ของตะวันตกได้แพร่หลายเข้า มาในประเทศไทย ทำาให้เกิดละครแบบต่างๆ ขึ้น เช่น ละครดึกดำาบรรพ์ ที่ กล่าวมาแล้ว แต่ละครดึกดำาบรรพ์ยังคงใช้ท่ารำาของไทยเป็นหลัก ยังถือได้ ว่า เป็นนาฎศิลป์ของไทยอย่างสมบูรณ์ ส่วนละครที่นำาแบบของตะวันตกมา ใช้จริงๆ ก็คือ ละครที่ไม่ใช้ท่ารำาเลย ใช้แต่กิริยาท่าทางของคนธรรมดา
  • 4. สามัญ ที่เราปฏิบัติกันอยู่เท่านั้น เช่น ละครร้อง ละครพูด ละครพูดสลับลำา และละครสังคีต ละครร้อง ละครร้อง เป็นแบบละครที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์ ทรงปรังปรุงขึ้น เป็นละครที่แสดงบนเวที เปลี่ยนฉากไปตามเนื้อเรื่อง ดำาเนินเรื่องด้วยการร้องเท่านั้น ถ้อยคำาที่ร้องมีทั้งบอกชื่อตัวละคร บอก กิริยา อารมณ์ของตัวละคร และเป็นคำาพูดของตัวละคร วิธีแสดง ในตอนแรกผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน แต่สมัยหลังๆ มา ให้มีผู้ชาย เป็นตัวตลกได้ การแสดงบทบาทใช้ท่าของคนธรรมดาสามัญ ไม่มีการรำา การร้อง ถ้าเป็นบท บอกชื่อตัวละคร บอกกิริยา หรืออารมณ์ของตัวละคร ต้นเสียงกับลูกคู่เป็นผู้ร้อง ถ้าบทนั้นเป็นคำาพูดของตัวละคร ผู้แสดงตัวนั้น จะต้องร้องเอง แต่การร้องของตัวละครนี้ ตัวละครจะร้องเฉพาะที่เป็น ถ้อยคำาเท่านั้น ส่วนการเอื้อน ที่เป็นทำานองติดต่อนั้น ลูกคู่จะต้องร้องแทรก เข้ามาให้ การเจรจา เป็นการเจรจาทวนบท คือ พูดเป็นใจความเดียวกับบทที่ร้องไป แล้วโดยมาก แต่ก็มีเจรจาบทอื่นๆ บ้าง จะเป็นการเจรจา อย่างไรก็ตาม ผู้ แสดงจะต้องพูดด้วยปฏิภาณปัญญาของตนเอง เรื่องที่แสดง เป็นเรื่องชีวิตของธรรมดาสามัญชนอย่างนวนิยาย เช่น เรื่อง ตุ๊กตายอดร้ก ขวดแก้วเจียระไน เครือฟ้าของประเสริฐอักษร (พระเจ้าบรม วงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์) เป็นต้น
  • 5. ละครพูด ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสำาเร็จ การศึกษาจากยุโรป เสด็จกลับมาประทับ ณ พระราชวังสราญรมย์ ได้ทรง นำาเอาแบบการแสดงละครของยุโรป มาแปลงให้เป็นการแสดงของไทย อย่างหนึ่ง ละครแบบนี้เรียกว่า ละครพูด ละครพูด เป็นละครที่แสดงบนเวที เปลี่ยนฉากเป็นสถานที่ตามเนื้อเรื่อง การแต่งตัว แต่งตามสภาพเป็นจริงของเรื่อง การดำาเนินเรื่อง ดำาเนินด้วยคำาพูด และการปฏิบัติของตัวละคร การพูด ใช้คำาพูอย่างธรรมดาสามัญชน แต่อาจเน้นในอารมณ์บางอย่างให้ เด่นขึ้น เพื่อให้ผู้ชมเข้าใจชัดเจน กิริยาท่าทาง ใช้กิริยาท่าทางอย่างสามัญชน เรื่องที่แสดง เป็นเรื่องชีวิตของธรรมดาสามัญชนอย่างนวนิยาย เช่น พระ
  • 6. ราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เรื่องหัวใจนักรบ ชิงนาง เห็นแก่ลูก เป็นต้น ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงเวลาปิดฉากเท่านั้น ละครพูดสลับลำา เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๖ แห่งพระราชวงศ์จักตรี พระองค์ก็ยังทาง โปรดการแสดงละครพูดอยู่ เมื่อทรงว่างพระราชกิจ ก็ทรงพระราชนิพนธ์ บทละครพูดเรื่องต่างๆ และยังทรงวิวัฒนาการละครพูดให้เปลี่ยนแปรออก ไปอีก พระบาทเสด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์ บทร้องขึ้น ให้ร้องแทรกในการแสดงละครพูดบางตอน โดยไม่ตัดบทพูด ใดๆ ในละครของเดิมออกเลย ในครั้งแรกทรงเรียกว่า "ละครพูดแกม ลำา" ภายหลังจึงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำา" ใจความของบทร้องไม่มีความ สำาคัญในการดำาเนินเรื่องเลย หากตัดบทร้องออก ก็คงเป็นละครพูดอย่าง สมบูรณ์
  • 7. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร พูดจำานวนมาก การแสดงละครพูดสลับลำาทุกอย่าง สถานที่คำาพูด ท่าทาง และการแต่งตัว ตลอดจนลักษณะของเรื่องที่แสดง เหมือนละครพูดทั้งสิ้น เว้นแต่บางตอน ตัวละครจะต้องร้องเพลงไทยแทรกเข้ามา และแล้วก็แสดง เป็นละครพูดไปตามเดิม เช่น การแสดงละครพูดสลับลำาเรื่องปล่อยแก่ ของ นายบัว วิเศษกุล บทร้องพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงนำาและคลอเวลาร้อง กับเวลาปิดฉาก ละครสังคีต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงปรับปรุงละครขึ้นอีกแบบ หนึ่ง มีทั้งร้องเพลงและพูด ทั้งบทร้อง และบทพูด มีความสำาคัญในการ ดำาเนินเรื่องด้วยกัน จะตัดอย่างหนึ่งอย่างใดออกไม่ได้ เนื้อเรื่องจะ ขาดตอนไป ละครแบบนี้ ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต" วิธีแสดง ฉาก กิริยาท่าทาง การพูดและร้อง เหมือนกับละครพูดสลับลำา แต่
  • 8. ในการร้องอาจต้องใส่อารมณ์มากกว่าละครพูดสลับลำา และเพลงดนตรีอาจ มีเพลงหน้าพาทย์ เช่น พญาเดิน รัวแทรกด้วย ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงนำาและคลอเวลาร้อง กับบรรเลงเพลง หน้าพาทย์ (ถ้ามี) และเวลาปิดฉาก เรื่องที่แสดง เช่น พระราชนิพนธ์เรื่อง มิกาโด วั่งตี่ วิวาหพระสมุทร และ หนามยอกเอาหนามบ่ง ละครแบบที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำามา และ ปรับปรุงเหล่านี้ สมัยก่อนผู้แสดงเป็นผู้ชายทั้งสิ้น ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็น ชายจริง หญิงแท้ จะเห็นได้ว่า คำาว่า "นาฎศิลป์" ซึ่งแต่เดิมหมายถึง การแสดงต่างๆ ที่ ประกอบด้วยการรำา ไม่ว่าจะเป็นระบำา หรือละคร แบบใดนั้น ได้มีความ หมายแผ่กว้างออกไปอีก เมื่อวัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามาในเมืองไทย อันทำาให้เกิดมีละครที่ใช้กิริยาท่าทางอย่างสามัญชน ซึ่งไม่มีการรำาเลย ดัง นั้น การแสดงละครร้อง ละครพูด ละครพูดสลับลำา และละครสังคีต ที่ไม่มี การรำา แต่เป็นละครอีกแบบหนึ่ง ก็ต้องถือว่า เป็นนาฎศิลป์ด้วย ละครนอก
  • 9. เป็นละครที่พัฒนามาจากละครชาตรี แต่เดิมคงมีตัวละครเพียง ๓-๔ ตัว อย่างละครชาตรี ต่อมามีการแสดงละครกันอย่างแพร่หลายทั่วไปในหมู่ ราษฎร มีการเล่นเรื่องต่างๆ มากขึ้น ต้องเพิ่มตัวละครขึ้นตามเนื้อเรื่อง ผู้แสดงยังคงเป็นชายล้วน แต่การแต่งกายได้ประดิษฐ์เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ให้ประณีตงามขึ้น เรื่องที่แสดง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา นิยมเล่นกันหลายเรื่อง ล้วนแต่เป็นประเภท จักรๆ วงศ์ๆ นิทานชาวบ้าน นิทานชาดก มีคติสอนใจ เช่น การเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง พิมพ์สวรรค์ พิณสุริย วงศ์ มโนราห์ โม่งป่า มณีพิชัย สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ โสวัต
  • 10. ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีบทพระราชนิพนธ์ละครนอก ในรัชกาลที่ ๒ อีก ๖ เรื่อง คือ สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ ไกรทอง มณีพิชัย คาวี สังข์ศิลป์ชัย ทั้ง ๖ เรื่องนี้ พระราชนิพนธ์ขึ้นเพื่อให้ละครผู้ หญิงของหลวงแสดง การแต่งกาย คงแต่งอย่างชาวบ้านธรรมดา เพราะเป็นละครชาวบ้าน เพียงแต่ให้รัดกุมสะดวกในการทำาบท และใช้ผ้าโพกหรือห่มพอให้รู้ว่าเป็น หญิงหรือชาย ต่อมา มีผู้ประดิษฐ์ให้งดงาม ปักดิ้นเลื่อมแพราวพราว ศีรษะ สวมชฎาและรัดเกล้า ทั้งรัดเกล้ายอด รัดเกล้าเปลว ตลอดจนปันจุเหร็จ กระบังหน้ารูปต่างๆ
  • 11. ผู้แสดง เริ่มมีผู้หญิงแสดงละครนอก ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แต่เป็นละคร หลวง ผู้แสดงต้องเป็นคนแคล่วคล่องว่องไว มีไหวพริบปฏิภาณชำานาญทั้ง รำาและร้อง มีลูกคู่รับ หากเป็นบทเล่าหรือบรรยาย ลูกคู่จะร้อง และผู้แสดง ต้องพูดเอง เล่นตลกเอง มีคนบอกบทร้องให้ การแสดง ดำาเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว แทรกตลกขบขัน ไม่เคร่งครัด ขนบประเพณี ตลกจะเล่นกับเจ้าฟ้า เจ้าแผ่นดินและมเหสีก็ได้ การร่ายรำา ด้วยท่าทางกระฉับกระเฉง ว่องไว เพลงร้องและดนตรี เดิมใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลงประกอบการ แสดง ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงตามความใหญ่โตของงาน เพลงร้องส่วนมาก เป็นเพลงชั้นเดียว หรือสองชั้นที่มีจังหวะรวบรัด ดำาเนินเรื่องด้วยเพลงร่าย นอก ระดับเสียงในการร้องและบรรเลงใช้ทางนอก เหมาะกับเสียงผู้ชาย
  • 12. สถานที่แสดง โรงละครเป็นรูปสี่เหลี่ยมดูได้ ๓ ด้าน (เดิม) กั้นฉาก ผืนเดียวโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงไปตามท้องเรื่อง มีประตูเข้าออก ๒ ทาง หน้าฉากตรงกลางตั้งเตียงสำากรับตัวละครนั่ง ด้านหลังฉากเป็นส่วนสำาหรับ ละครพักแต่งตัว ละครใน เป็นละครที่แสดงในวัง ได้นำาวิธีการเล่นเดินเรื่องอย่างละครนอก มาให้ เหล่าระบำาในพระราชฐานแสดง โดยนำาบทที่เคยแสดงโขนคือเรื่องรามเกีย รตื์์ และอุณรุท มาแสดงโดยนางในราชสำานัก จึงเรียกว่าละครนางใน หรือละครข้างใน ต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า ละครใน เรื่องที่แสดง แสดงเฉพาะ ๓ เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา การแต่งกาย เครื่องแต่งกายประณีตงดงาม ตามแบบของกษัตริย์ เช่น มีมงกุฎ สังวาล ทับทรวง เจียระบาด ห้อยหน้า สนับเพลา พระภูษา ฉลองพระองค์ ฯลฯ
  • 13. ผู้แสดง เดิมเป็นหญิงล้วน ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๑ มี ละครในผู้ชาย แสดง เช่น นายทองอยู่เป็นอิเหนา การแสดง ท่ารำา ต้องประณีตงดงามตามแบบราชสำานัก ละครในมุ่งดู ศิลปะการร่ายรำามากกว่าเนื้อเรื่อง ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์เหมือนละครนอก ใช้ทางในซึ่งมีระดับเสียงเหมาะ กับผู้หญิง และมักเป็นเพลงที่มีลีลา ท่วงทำานองค่อนข้างช้า วิจิตรพิสดาร เหมาะกับลีลาท่ารำา เพลงร้อง ปรับปรุงให้มีทำานองและจังหวะนิ่มนวล สละสลวย ตัวละคร ไม่ร้องเอง มีต้นเสียงและลูกคู่ มักมีคำาว่า "ใน" อยู่ท้ายเพลง เช่น ช้าปี่ใน โอ้โลมใน
  • 14. สถานที่แสดง เดิมแสดงในพระราชฐานเท่านั้น ต่อมาแสดงไม่จำากัด สถานที่ ละครดึกดำาบรรพ์ เป็นละครที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ กำาเนิดขึ้น ณ ที่บ้านเจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ตั้งอยู่ระหว่างถนนอัษฎางค์กับ ถนนบ้านหม้อ ชื่อ " โรงละครดึกดำาบรรพ์ " เจ้าพระยาเทเวศน์วงศ์วิวัฒน์ได้เดินทางไปยุโรปในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ และมี โอกาสได้ชมโอเปร่า ซึ่งท่านชื่นชมในการแสดงมาก เมื่อกลับมาจึงคิดทำา ละครโอเปร่าให้เป็นแบบไทย นอกจากท่านจะเป็นผู้สร้างโรงละครดึกดำาบรรพ์ สร้างเครื่องแต่งกายและ อุปกรณ์การแสดงแล้ว ท่านยังได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงานที่สำาคัญ ได้แก่ ๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ทรงพระนิพนธ์บทเลือกสรรปรับปรุงทำานองเพลง ออกแบบฉาก และกำากับ การแสดง ๒. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ตาด ตาตะนันทน์) เป็นผู้จัดทำานองเพลง ควบคุมวงดนตรีและปี่พาทย์
  • 15. ๓ หลวงเสนาะดุริยางค์ (ทองดี ทองพรุฬห์) เป็นผู้ควบคุมและ ฝึกสอนการขับร้อง ๔. หม่อมเข็ม กุญชร ณ อยุธยา ภรรยาของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ วิวัฒน์ เป็นผู้ปรับปรุงและประดิษฐ์ท่ารำา และฝึกสอนให้เข้ากับบทและลำานำา ทำานองเพลง ละครดึกดำาบรรพ์ ได้นำาออกแสดงครั้งแรกปี พ.ศ. ๒๔๔๒ เนื่องใน โอกาสต้อนรับเจ้าชายเฮนรี่ พระอนุชาของสมเด็จพระเจ้ากรุงปรัสเซีย ซึ่ง เป็นพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จน ได้รับความนิยมตลอดมา จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ เจ้าพระยาเทเวศร์ วงศ์วิวัฒน์ เกิดอาการเจ็บป่วย ถวายบังคมลาออกจากราชการ ทำาให้ต้อง เลิกการแสดงละครดึกดำาบรรพ์ไป นับแต่เริ่มแสดงละครดึกดำาบรรพ์จนเลิก การแสดง รวมระยะเวลา ๑๐ ปี ละครดึกดำาบรรพ์ มีลักษณะ ดังนี้ ๑. การแสดงจัดบนเวที มีฉากและเครื่องกลไกประกอบ ให้ผู้ดูรู้ว่าเป็น สถานที่ไหน มีสภาพอย่างไร เวลาใด เกิดปรากฏการณ์ใดขึ้น โดยใช้เท คนิคใหม่ๆ เข้าช่วย ๒. ใช้ความจริงเป็นหลัก เล่นให้สมจริง ๓. ไม่มีบทที่กล่าวถึงกิริยาอาการต่างๆ ของตัวละคร เพราะผู้ดูเห็นอยู่ แล้วว่าใครทำาอะไร มีเฉพาะบทพูดของตัวละคร ๔. มีการแทรกการอ่านทำานองเสนาะ เช่น อ่านฉันท์ เพลงเด็ก เพลง
  • 16. พื้นเมือง ขับเสภา เห่เรือ ฯลฯ ๕. การฟ้อนรำามีน้อย เพราะต้องการความรวดเร็ว จึงมีการรำาใช้บท เป็นพื้น แต่ฉากสุดท้ายต้องสวยงามกว่าฉากอื่นๆ มักมีฟ้อนรำางามๆ แบบ ละครใน มีตัวละครมากๆ ๖. ผู้แสดงต้องรำาและพูดเอง ต้องเป็นผู้ที่มีรูปงาม รำางาม และเสียง ไพเราะ ๗. การแต่งกาย แต่งแบบละครใน แต่ไม่นิยมสวมหัวโขน เพราะทำาให้ ดูงุ่มง่าม จะใช้การเขียนหน้าแทน ๘. ดนตรีปี่พาทย์ ใช้ปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องใหญ่ แต่ยกเว้น ไม่ใช้ เครื่องบางอย่างที่หนวกหู เช่น ระนาดทอง และฆ้องเล็ก ละครพันทาง มีลักษณะ ดังนี้ ๑. ดำาเนินเรื่องด้วยการร้อง บางครั้งมีต้นเสียง และลูกคู่ร้องทั้งหมด อย่างละครนอก บางครั้งต้นเสียงร้องบรรยาย ส่วนที่เป็นคำาพูดตัวละครร้อง เอง ความสำาคัญอยู่ที่ถ้อยคำา ทั้งบทร้องและบทเจรจา ๒. นิยมเล่นเรื่องที่เกี่ยวกับต่างชาติ เช่น พระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน พระลอ ราชาธิราช ท่ารำา เพลงร้องเลงดนตรี จึงมีลีลาของต่างภาษาตาม ท้องเรื่อง ๓. สถานที่แสดง แสดงในโรงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง
  • 17. อย่างละครดึกดำาบรรพ์ ๔. การแต่งกาย แต่งแบบพันทาง คือมีลักษณะผสม แต่งตามเชื้อชาติ และธรรมเนียมของต่างชาติตามท้องเรื่อง ๕. การขับร้องและบรรเลง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม ใช้ขลุ่ยแทนปี่ เพิ่มซอ อู้ เพลงร้องและบรรเลงมักเป็น เพลงภาษา และมี เครื่องภาษา เข้าประสม เช่น กลองจีน ปี่มอญ เปิงมาง ฯลฯ ละครพันทางนี้ ถ้าเล่นดำาเนินเรื่องด้วยการขับเสภา แทนการร้องร่าย นอก เรียกว่า ละครเสภา ได้แก่ ขุนช้างขุนแผน และไกรทอง ละครเสภา เสภามีกำาเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเป็นที่นิยมแพร่ หลาย ทำาให้เกิดมีการปรับปรุงแข่งขันกันขึ้น ผู้เล่าบางท่านจึงคิดแต่ง เป็นกลอน ใส่ทำานอง มีเครื่องประกอบจังหวะ คือ "กรับ" จนกลายเป็นขับ เสภาขึ้น เสภามีมาแต่โบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่ามีขึ้นในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๒๐๑๑ เสภาในสมัยโบราณไม่มี ดนตรีประกอบ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีปี่พาทย์บรรเลงประกอบ
  • 18. สมัยรัชกาลที่ ๓ นิยมพลงอัตรา ๓ ชั้น เพลงที่ร้องและบรรเลงในการ ขับเสภา ซึ่งเคยขับเพลง ๒ ชั้น ก็เปลี่ยนเป็น ๓ ชั้นบ้าง และใช้กันมาจน ปัจจุบันนี้ สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีผู้คิดเอาตัวละครเข้าแสดงการรำาและทำาบทบาท ตามคำาขับเสภาและร้องเพลง เรียกว่า "เสภารำา" สมัยนี้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้กวีช่วยแต่งเสภาเรื่อง นิทราชาคริต เพื่อใช้ขับเสภาใน เวลาทรงเครื่องใหญ่ มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงคือ พวกขับเสภาสำานวน แบบนอก คือใช้ภาษาพื้นบ้านมาสนใจสำานวนหลวง สมัยรัชกาลที่ ๖ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำารงราชานุ ภาพกับพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา ช่วยกันชำาระเสภาขุน ช้างขุนแผน แก้ไขกลอนให้เชื่อมต่อกัน และพิมพ์เป็นฉบับ หอสมุดแห่งชาติเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ เป็นแบบแผนของการแสดง ขับเสภา ซึ่งต่อมากลายเป็นละครเสภา
  • 19. ผู้แสดง นิยมใช้ผู้แสดงชายและหญิง ตามบทเสภาของเรื่อง การแต่งกาย แต่งกายตามท้องเรื่องคล้ายกับละครพันทาง เรื่องที่แสดง มักจะนำามาจากนิทานพื้นบ้าน เช่น เรื่องขุนช้าง ขุนแผน ไกรทอง หรือเรื่องจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เช่น เรื่อง พญาราชวังสัน สามัคคีเสวก การแสดง ละครเสภาจำาแนกตามลักษณะการแสดงไว้ ดังนี้ ๑. เสภาทรงเครื่อง สมัยรัชกาลที่ ๔ วงปี่พาทย์ได้ขยายตัวเป็นเครื่อง ใหญ่ เมื่อปี่พาทย์โหมโรงจะเริ่มด้วย "เพลงรัวประลองเสภา" ต่อด้วย "เพล งโหมโรง" เช่น เพลงไอยเรศ เพลงสะบัดสะบิ้ง หรือบรรเลงเป็นชุดสั้นๆ เพลงครอบจักรวาล แล้วออกด้วยเพลงม้าย่องก็ได้ มีข้อความสำาคัญว่า โหมโรงจะต้องลงด้วยเพลงวา จึงจะเป็นโหมโรงเสภา เมื่อปี่พาทย์โหมโรง
  • 20. แล้ว คนขับก็ขับเสภาไหว้ครูดำาเนินเรื่อง จากนั้นร้องส่งเพลงพม่าห้าท่อน แล้วขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงจระเข้หางยาวแล้วขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงสี่ บทแลัวขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงบุหลันแล้วขับเสภาคั่น ต่อไปไม่มีกำาหนด เพลง คงมีสลับกันเช่นนี้ตลอดไป จนจวนหมดเวลา จึงส่งเพลงส่งท้ายอีก เพลงหนึ่ง เดิมใช้เพลงกราวรำา ต่อมาเปลี่ยนเป็นอกทะเล เต่ากินผักบุ้ง หรือ พระอาทิตย์ชิงดวง เดิมบรรเลงเพลง ๒ ชั้น ต่อมาประดิษฐ์เป็นเพลง ๓ ชั้น ที่เรียกว่า เสภาทรงเครื่อง คือ การขับเสภาแล้วมีร้องส่งให้ปี่พาทย์รับ ๒. เสภารำา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ กระบวนการเล่น มีคนขับเสภา และเครื่องปี่พาทย์ บางครั้งก็ใช้มโหรีแทน มีตัวละครออกแสดงบทตามคำา ขับเสภา และมีเจรจาตามเนื้อร้อง เสภารำามีแบบสุภาพและแบบตลก ผู้ริเริ่ม คือ ขุนรามเดชะ (ห่วง) บางท่านว่า ขุนราม (โพ) กำานันตำาบลบ้านสาย
  • 21. จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเล่าลือกันว่าขับเสภาดี ผู้แต่งเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยา สมัยรัชกาลที่ ๖ ขุนสำาเนียงวิเวกวอน (น่วม บุณยเกียรติ) ร่วมกับนายเกริ่นและนายพัน คิดเสภาตลกขึ้นอีกชุดหนึ่ง เลียนแบบขุนช้างขุนแผน โดยแสดงเรื่องพระรถเสนตอนฤาษีแปลงสาร ดนตรีี มักนิยมใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลง และมีกรับขยับ ประกอบการขับเสภา เพลงร้อง มีลักษณะคล้ายละครพันทาง แต่จะมีการขับเสภาซึ่งเป็น บทกลอนสุภาพ แทรกอยู่ในเรื่องตลอดเวลา สถานที่แสดง แสดงในโรงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง อย่างละครดึกดำาบรรพ์ ละครสังคีต
  • 22. คำาว่า "สังคีต" หมายถึง การรวมเอาการฟ้อนรำาและการละคร พร้อมทั้ง ดนตรีทางขับร้อง และดนตรีทางเครื่องด้วย ละครสังคีตหมายถึง ละครที่มี ทั้งบทพูดและบทร้องเป็นส่วนสำาคัญเสมอ จะตัดอย่างใดอย่างหนึ่งออกไม่ ได้ ละครสังคีตเป็นละครที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ริเริ่มขึ้น โดยมีวิวัฒนาการจากละครพูดสลับลำา ต่างกันที่ละครสังคีตมีบท สำาหรับพูด และบทสำาหรับตัวละครร้องในการดำาเนินเรื่องเท่าๆ กัน ผู้แสดง ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดงจริงตามเนื้อเรื่อง การแต่งกาย แต่งตามสมัยนิยม คำานึงถึงสภาพความเป็นจริงของฐานะตัวละครตามเนื้อ เรื่อง และความงดงามของเครื่องแต่งกาย เรื่องที่แสดง นิยมแสดงบทพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มี
  • 23. 4 เรื่อง ได้แก่ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่ง ทรงเรียกว่า "ละครสลับลำา" เรื่องวิวาหพระสมุทร ทรงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำา" เรื่องมิกาโดและวั่งตี่ ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต" การแสดง มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง ตัวละครจะต้องร้องเองคล้ายกับละครร้อง แต่ต่างกันที่ละครร้องดำาเนินเรื่องด้วยบทร้อง การพูดเป็นเจรจาทวนบท ส่วนละครสังคีตมุ่งบทร้องและบทพูดเป็นหลักสำาคัญในการดำาเนินเรื่อง เป็น การแสดงหมู่ที่งดงาม ในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลก ประกอบเสมอ และมุ่งไปในทางสนุกสนาน ดนตรี บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม เพลงร้อง ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น มีลำานำาที่ไพเราะ ละครร้อง
  • 24. ละครร้องเป็นศิลปะการแสดงแบบใหม่ ที่กำาเนิดขึ้นในตอนปลายรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ปรับปรุงขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากละครต่างประเทศ ต้นกำาเนิดละครร้อง มาจากการแสดงของชาวมลายู เรียกว่า "บังสาวัน" ได้เคยเล่นถวาย รัชกาลที่ 5 ทอดพระเนตรครั้งแรกที่เมืองไทรบุรี และต่อมาละครบังสาวัน ได้เข้ามาแสดงในกรุงเทพฯ โรงที่เล่นอยู่ที่ข้างวังบูรพา พระเจ้าบรมวงศ์ เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแก้ไขปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นที่โรง ละครปรีดาลัย คณะละครนี้ต่อมาได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า "ละครหลวงนฤมิต ร" บางครั้งคนยังนิยมเรียก "ละครปรีดาลัย" อยู่ ต่อมาเกิดคณะละครร้อง แบบปรีดาลัยขึ้นมากมาย เช่น คณะปราโมทัย ปราโมทย์เมือง ประเทือง
  • 25. ไทย วิไลกรุง ไฉวเวียง เสรีสำาเริง บันเทิงไทย นาครบันเทิง ได้นิยมกันมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 และครั้งหลังสุด คือ โรงละครนาคบันเทิงของแม่บุนนาค กับโรงละครเทพบันเทิงของแม่ช้อย นอกจากนี้ได้กำาเนิดละครร้องขึ้นอีกแบบหนึ่ง โดยสมเด็จพระบรมโอ รสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดัดแปลงละครของ ชาวตะวันตกจากละครอุปรากรที่เรียกว่า "โอเปอเรติก ลิเบรตโต" มาเป็น ละครในภาษาไทย และได้รับความนิยมอีกแบบหนึ่ง ละครร้องจึงแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ละครร้องสลับพูด ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ 2. ละครร้องล้วนๆ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6)
  • 26. ผู้แสดง ละครร้องสลับพูด ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ยกเว้นแต่ตัวตลก หรือจำาอวด ใช้ ผู้ชายแสดง ละครร้องล้วนๆ ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดงจริงตามเนื้อเรื่อง การแต่งกาย ละครร้องสลับพูด แต่งตามฐานะของตัวละคร ละครร้องล้วนๆ แต่งแบบละครพันทาง หรือตามลักษณะของตัวละครใน เรื่อง เรื่องที่แสดง ละครร้องสลับพูด แสดงเรื่อง ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้วเจียระไน เครือณรงค์ กากี ภารตะ สาวเครือฟ้า ละครร้องล้วนๆ แสดงเรื่อง สาวิตรี
  • 27. การแสดง ละครร้องสลับพูด มีทั้งบทร้องและบทพูด ยึดถือการร้องเป็นส่วนสำาคัญ มี ลูกคู่คอยร้องรับอยู่ในฉาก ยกเว้นแต่ตอนที่เป็นการเกริ่นเรื่องหรือดำาเนิน เรื่อง ลูกคู่จะเป็นผู้ร้องทั้งหมด ละครร้องล้วนๆ ตัวละครขับร้องโต้ตอบกัน และเล่าเรื่องเป็นทำานองแทน การพูด ดำาเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงล้วนๆ ไม่มีบทพูดแทรก มีเพลงหน้า พาทย์ประกอบอิริยาบถของตัวละคร จัดฉากประกอบตามท้องเรื่อง ใช้ เทคนิคอุปกรณ์แสงสีเสียง เพื่อสร้างบรรยากาศให้สมจริง ดนตรีี ละครร้องสลับพูด บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม หรืออาจใช้วงมโหรี ประกอบ ในกรณีที่ใช้แสดงเรื่องเกี่ยวกับชนชาติอื่นๆ
  • 28. ละครร้องล้วนๆ บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม เพลงร้อง ละครร้องสลับพูด ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ในกรณีที่ตัวละครร้อง ใช้ซออู้คลอตามเบาๆ เรียกว่า ร้องคลอ ละครร้องล้วนๆ ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ที่มีลำานำาทำานองไพเราะ สถานที่แสดง ละครร้องสลับพูด และละครร้องล้วนๆ มักแสดงตามโรงละครทั่วไป ละครพูด
  • 29. ละครพูดเริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการแสดงละครพูดสมัครเล่นเป็นครั้งแรก เนื้อเรื่องละครพูดที่แสดงในสมัยนี้ ดัดแปลงมาจากบทละครรำาที่รู้จักกัน อย่างแพร่หลาย พ.ศ. 2422 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พระราชนิพนธ์ลิลิตนิทราชาคริต จบบริบูรณ์แล้ว ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สมาคม "แมจิกัลโซไซเอตี" โดยมีสมเด็จฯ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่าง วงศ์ เป็นนายกสมาคมจัดการแสดงละครเรื่องนี้ขึ้น ทรงเป็นผู้กำาหนดตัว ละครเอง โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นทิวากรวงษ์ประวัติ เป็นอาบูหะซัน พระองค์เจ้าจิตรเจริญ คือ สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวัตติวงศ์ เป็นตัวนางนอซาตอล พ.ศ. 2425 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดการแสดงละครเรื่องอิเหนาในงานเฉลิมพระราชมนเทียร พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ละครที่แสดงในครั้งนี้เป็นละครรำา แต่มีบท เจรจาที่ทรงพระราชนิพนธ์เองบ้าง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า น้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากรและเจ้านายพระองค์อื่นๆ แต่งถวาย บ้าง พ.ศ. 2447 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยาม มกุฎราชกุมาร ทรงสำาเร็จการศึกษา และเสด็จนิวัติประเทศไทยแล้ว ทรงตั้ง "ทวีปัญญาสโมสร" ขึ้นในพระราชอุทยานสราญรมย์ แต่ในสมัยเดียวกันนี้ ได้มีการตั้ง "สามัคยาจารย์สโมสร" ซึ่งมีเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเป็น
  • 30. ประธานอยู่ก่อนแล้ว กิจกรรมของ 2 สโมสรที่คล้ายคลึงกัน คือการแสดง ละครพูดแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากละครตะวันตก สมเด็จพระบรมโอ รสาธิราชฯ ทรงมีส่วนร่วมในกิจการการแสดงละครพูดของทั้ง 2 สโมสรนี้ จึงได้ถวายพระเกียรติว่าทรงเป็นผู้ให้กำาเนิดละครพูด ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคทองของละคร พูด ประชาชนให้ความสนใจต่อละครประเภทนี้มาก เพราะเห็นว่าเป็นของ แปลกและแสดงได้ง่าย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง สนับสนุนละครพูดอย่างดียิ่ง ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดที่ดีเด่นเป็น จำานวนมาก และทรงร่วมในการแสดงด้วยหลายครั้ง ละครพูดแบ่งได้เป็นประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ละครพูดล้วนๆ หรือละครพูดแบบร้อยแก้ว 2. ละครพูดแบบร้อยกรอง 3. ละครพูดสลับลำา ผู้แสดง ละครพูดล้วนๆ ในสมัยโบราณใช้ผู้ชายแสดงล้วน ต่อมานิยมใช้ผู้
  • 31. แสดงเป็นชายล้วน ต่อมานิยมใช้ผู้แสดงชายจริงหญิงแท้ ละครพูดแบบร้อยกรอง ใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิง มีบุคคลิกและการ แสดงเหมาะสมตามลักษณะที่บ่งไว้ในบทละคร นำ้าเสียงแจ่มใสชัดเจนดี เสียงกังวาน พูดฉะฉาน ไหวพริบดี ละครพูดสลับลำา ใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิง เหมือนละครพูดแบบร้อย กรอง การแต่งกาย ละครพูดล้วนๆ แต่งกายตามสมัยนิยม ตามเนื้อเรื่องโดยคำานึงถึงสภาพ ความเป็นจริงของตัวละคร ละครพูดแบบร้อยกรอง แต่งให้เหมาะสมถูกต้องตามบุคคลิกของตัว ละคร และยุคสมัยที่บ่งบอกไว้ในบทละคร ละครพูดสลับลำา การแต่งกายเหมือนละครพูดล้วนๆ หรือแต่งกายตาม เนื้อเรื่อง
  • 32. เรื่องที่แสดง ละครพูดล้วนๆ เรื่องที่แสดงเรื่องแรก คือ เรือง"โพงพาง" เมื่อ พ.ศ. 2463 เรื่องต่อมาคือ "เจ้าข้าสารวัด" ทั้งสองเรื่อง เป็นพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ละครพูดแบบร้อยกรอง จำาแนกตามลักษณะคำาประพันธ์ดังนี้ คือ 1. ละครพูดคำากลอน จากบทประพันธ์ในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น เรื่องเวนิสวาณิช ทรงแปลเมื่อ พ.ศ. 2459 เรื่องพระร่วง ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2460 2. ละครพูดคำาฉันท์ ได้แก่ เรื่องมัทนะพาธา พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2466 3. ละครพูดคำาโคลง ได้แก่ เรื่องสี่นาฬิกา ของอัจฉรา พรรณ(อาจารย์มนตรี ตราโมท) ประพันธ์เมือปี พ.ศ. 2469 ละครพูดสลับลำา ได้แก่ เรื่องชิงนาง และปล่อยแก่ ซึ่งเป็นของนายบัว ทองอิน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์
  • 33. บทร้องแทรก โดยใช้พระนามแฝงว่า "ศรีอยุธยา" และทรงแสดงเป็นหลวง เกียรติคุณ เมื่อ พ.ศ. 2449 การแสดง ละครพูดล้วนๆ การแสดงจะดำาเนินเรื่องด้วยวิธีพูดใช้ท่าทางแบบ สามัญชนประกอบ การพูดที่เป็นธรรมชาติ ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของ ละครชนิดนี้คือ ในขณะที่ตัวละครคิดอะไรอยู่ในใจ มักจะใช้วิธีป้องปาก พูดกับผู้ดุ ถึงแม้จะมีตัวละครอื่นๆ อยู่ใกล้ๆ ก็สมมติว่าไม่ได้ยิน ละครพูดแบบร้อยกรอง การแสดงจะดำาเนินเรื่องด้วยวิธีพูดที่เป็นคำา ประพันธ์ชนิด คำากลอน คำาฉันท์ คำาโคลง ละครพูดสลับลำา ยึดถือบทพูดมีความสำาคัญในการดำาเนินเรื่องแต่เพียง อย่างเดียว บทร้องเป็นเพียงสอดแทรกเพื่อเสริมความ ยำ้าความ
  • 34. ดนตรีี ละครพูดล้วนๆ บรรเลงโดยวงดนตรีสกลหรือวงปี่พาทย์ไม้นวม แต่จะ บรรเลงประกอบเฉพาะเวลาปิดฉากเท่านั้น ละครพูดแบบร้อยกรอง บรรเลงดนตรีคล้ายกับละครพูดล้วนๆ ละครพูดสลับลำา บรรเลงดนตรีคล้ายกับละครพูดล้วนๆ แต่บางครั้งใน ช่วงดำาเนินเรื่อง ถ้ามีบทร้อง ดนตรีก็จะบรรเลงร่วมไปด้วย เพลงร้อง ละครพูดล้วนๆ เพลงร้องไม่มี ผู้แสดงดำาเนินเรื่องโดยการพูด ละครพูดแบบร้อยกรอง เพลงร้องไม่มี ผู้แสดงดำาเนินเรื่องโดยการพูด
  • 35. เป็นคำาประพันธ์ชนิดนั้นๆ ละครพูดสลับลำา มีเพลงร้องเป็นบางส่วน โดยทำานองเพลงขึ้นอยู่กับผู้ ประพันธ์ที่จะแต่งเสริมเข้ามาในเรื่อง ละครเพลง เป็นละครของเอกชนที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ละครที่มีชื่อเสียงนี้ คือ ละครจันทโรภาส เป็นละครของนาย จวงจันทน์ จันทร์คณา (พรานบูรณ์) สิ่งหนึ่งที่พรานบูรณ์ทำาเป็นหลัก คือ ปรับปรุงจากเพลงไทยเดิมที่มีทำานองเอื้อน มาเป็นเพลงไทยสากลที่ไม่มี ทำานองเอื้อน นับเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงเพลงไทยเดิมมาก ทีเดียว ผู้แสดง จะใช้ผู้แสดงที่เป็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง แสดงจริงตามบทบาท ในเรื่อง การแต่งกาย แต่งกายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อเรื่อง เรื่องที่แสดง ได้แก่ จันทร์เจ้าขา โจ๊ะโจ้ซัง ฝนสั่งฟ้า คืนหนึ่งยังจำาได้ ดนตรี นิยมบรรเลงด้วยวงดนตรีสากล เพลงร้อง จะเป็นเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ โดยประยุกต์จากเพลงไทยเดิมมาเป็นเพลงไทยสากล ตามจังหวะและทำานอง ที่ผู้ประพันธ์กำาหนดขึ้นให้กับผู้แสดงได้ขับร้องในระหว่างแสดง สถานที่แสดง แสดงบนเวที มีการจัดฉากเหมือนละครหลวงวิจิตรวาทการ
  • 36. ละครหลวงวิจิตรวาทการ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ ๒๔๗๕ กรมศิลปากรได้รวบรวมศิลปิน โขน ละคร และนักดนตรี ขึ้นมารวมกันใหม่อีกครั้งหนึ่งตั้งเป็นกองขึ้นในกรมศิลปากร ทั้งได้ตั้งโรงเรียน นาฏดุริยางคศาสตร์ ขึ้นฝึกฝนนักเรียนด้วยเพื่อรักษาศิลปะของชาติไว้มิให้เสื่อมสูญ ในระยะนี้ หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) ดำารงตำาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร เป็นทั้งนักการทูต และนักประวัติศาสตร์ ท่านจึงมองเห็นคุณค่าทางการละครที่จะใช้เป็นสื่อปลุกใจ ให้ประชานเกิด ความรักชาติ เนื้อหาจะนำามาจากประวัติศาสตร์ตอนใดตอนหนึ่ง บทละครจะมีทั้งรัก รบ อารมณ์ สะเทือนใจ ความรักที่มีต่อคู่รัก ถึงแม้จะมากมายเพียงไร ก็ไม่เท่ากับความรักชาติ ตัวเอกของเรื่อง เสียสละชีวิต พลีชีพเพื่อชาติ ด้วยเหตุที่ละครของท่านไม่เหมือนการแสดงละครที่มีอยู่ก่อน คนทั้ง หลายจึงเรียกละครของท่านว่า "ละครหลวงวิจิตรวาทการ" ผู้แสดง จะใช้ผู้แสดงที่เป็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง แสดงจริงตามบทบาทในเรื่อง การแต่งกาย แต่งกายตามเนื้อเรื่องและให้ถูกต้องตามประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ เรื่องที่แสดง ได้แก่ ราชมนู พระเจ้ากรุงธน ศึกถลาง เจ้าหญิงแสนหวี พระมหาเทวี เบญจเพส น่านเจ้า อนุสาวรีย์ไทย พ่อขุนผาเมือง ดาบแสนเมือง ชนะมาร เจ้าหญิงกรรณิการ์ สีหราชเดโช ตาย ดาบหน้า ลานเลือดลานรัก เพชรรัตน์-พัชรา ลูกพระคเณศ ครุฑดำา โชคชีวิต อานุภาพ พ่อขุน รามคำาแหง อานุภาพแห่งความเสียสละ อานุภาพแห่งความรัก อานุภาพแห่งศีลสัตย์ และเลือดสุพรรณ ดนตรี บรรเลงด้วยวงดนตรีไทยและวงดนตรีสากลประกอบกัน เพลงร้อง มีทั้งเพลงไทยเดิมและเพลงไทยสากล ซึ่งการใช้เพลงไทยสากลจะมี ๓ ลักษณะ คือ ๑. เพลงไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องโต้ตอบกัน มักเป็นเพลงรัก เช่น เพลงดวงจันทร์ ในบท ละครเรื่องเลือดสุพรรณ ๒. เพลงไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องประกอบการแสดง เนื้อร้องและท่วงทำานองมักสอดคล้องกับ บรรยากาศในท้องเรื่อง เช่น เพลงยากเย็น ในบทละครเรื่องเลือดสุพรรณ ๓. เพลงไทยสากลอีกประเภท คือ เพลงปลุกใจ ซึ่งมักแทรกอยู่ในบทละครประวัติศาสตร์ของ ท่านแทบทุกเรื่อง เช่น เพลงเลือดสุพรรณ ในบทละครเรื่องเลือดสุพรรณ