SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทนำ
                    กลอนญี่ปุนมีขึ้นครั้งแรกในสมัยยะมะโตะ-นารา โดยพัฒนามาจาก
             บทเพลงพื้นบานของญี่ปุน (歌謡) หนังสือรวมกลอนญี่ปุนที่เกาแกที่สุดคือ
             มันโยฌู (万葉集) ซึ่งรวบรวมบทกลอนตั้งแตตนศตวรรษที่ 5 จนถึงกลาง
             ศตวรรษที่ 8 หลังจากนั้นเปนตนมาก็มีหนังสือรวมกลอนชิ้นอื่น ๆ ตามมาอีก
             หลายเลม โดยทั่วไปเมื่อกลาวถึงกลอนญี่ปุนมักจะหมายถึงกลอนประเภท
             ทังกะ (短歌) ซึ่งเปนกลอนที่พบบอยที่สุด	 ใน 1 บทมี 5 วรรค จำนวน
             พยางคในแตละวรรคคือ 5 7 5 7 7 รวมเปน 31 พยางค กลอน 100 บท
             ที่จะกลาวถึงในหนังสือเลมนี้เปนกลอนประเภททังกะที่ปรากฏอยูในหนังสือ
             รวมกลอนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุนในสมัยคะมะกุระซึ่งก็คือ เฮียะกุนินอิฌฌุ

             เฮียะกุนินอิฌฌุ (百人一首 Hyakunin isshu)
                        เฮียะกุนินอิฌฌุเปนหนังสือรวมบทกลอนญี่ปุนซึ่งรวบรวมขึ้นในชวงตน
             สมัยคะมะกุระราว ค.ศ. 1235 โดยฟุจิวะระ โนะ ซะดะอิเอะ (藤原定家)
             หรือที่มักเรียกกันสั้น ๆ วา “เทะอิกะ” เทะอิกะไดคัดเลือกบทกลอนของกวีที่
             มีช่อเสียงจำนวน 100 คน โดยเอามาคนละบท คำวา “เฮียะกุนิน” หมายถึง
                   ื
             100 คน และ “อิ ฌ ฌุ ” หมายถึ ง 1 บท กวี เ หล า นี้ ไ ด แ ก กวี ที่ มี ชี วิ ต อยู
             ตั้ ง แต ส มั ย จั ก รพรรดิ เ ท็ น จิ ( 天智天皇 ) 1 เรื่ อ ยลงมาจนถึ ง สมั ย จั ก รพรรดิ
             จุนโตะกุ (順徳天皇)2


                      1
                          จักรพรรดิองคที่ 38 ของญี่ปุน ครองราชยชวง ค.ศ. 668-671
                      2
                          จักรพรรดิองคที่ 84 ของญี่ปุน ครองราชยชวง ค.ศ. 1210-1221




AW_100 Japan_Poem#final.indd 1                                                                   9/13/12 9:40:18 PM
2



                      ทะเมะอิเอะ	(為家)3 บุตรชายของเทะอิกะเปนลูกเขยของเร็นโฌ (蓮生)
             เร็นโฌตองการจะตกแตงประตูเลื่อนที่ใชกั้นหองในบานพักตากอากาศที่ภูเขา
             ซะงะโอะงุระ (嵯峨小倉山) จึงขอใหเทะอิกะชวยคัดเลือกบทกลอนญี่ปุนเพื่อ
             ใชเขียนลงบนบานประตูเลื่อนนั้น เทะอิกะจึงคัดเลือกบทกลอนรวม 100 บท
             โดยใหชื่อวา “เฮียะกุนินฌูกะ” (百人秀歌) แลวตอมาไดนำมาปรับปรุงใหม
             เปนหนังสือรวมกลอน “โอะงุระเฮียะกุนินอิฌฌุ” (小倉百人一首) หรือที่มัก
             เรียกกันวา “เฮียะกุนนอิฌฌุ”4
                                       ิ
                      กวีที่เปนผูแตงบทกลอนเปนชาย 79 คน และหญิง 21 คน ในจำนวน
             กวีที่เปนชายมีที่เปนพระอยู 13 รูป บทกลอนเหลานี้แตงขึ้นอยางประณีต
             งดงาม เทะอิ ก ะได คั ด เลื อ กบทกลอนเหล า นี้ ม าจากหนั ง สื อ รวมกลอนที่ มี
             ชื่อเสียงอื่น ๆ ที่รวบรวมกลอนเหลานี้ไว เฮียะกุนินอิฌฌุไดรับการยกยอง
             ใหเปนคูมือขั้นตนในการแตงบทกลอนวะกะ กลอนในเฮียะกุนินอิฌฌุเปนที่
             รูจักกันแพรหลายเนื่องจากปรากฏอยูในไพคะรุตะ (歌留多) ของญี่ปุนซึ่ง
             ปจจุบันจะมีธรรมเนียมการเลนไพนี้กันในวันปใหม




                      3
                          กวี เ อกช ว งกลางสมั ย คะมะกุ ร ะ (ค.ศ. 1198-1275) ผลงานวรรณกรรมได แ ก
             หนั ง สื อ รวมกลอนทะเมะอิ เ อะฌู ( 為家集 ) และหนั ง สื อ วิ จ ารณ ก ลอนเอะอิ ง ะอิ ต เตะอิ
             (詠歌一体)
                        4
                          บางทฤษฎีกลาววา เทะอิกะรวบรวมหนังสือรวมกลอนเฮียะกุนินอิฌฌุขึ้นมากอนที่
             จะคัดเลือกบทกลอนเฮียะกุนินฌูกะ




AW_100 Japan_Poem#final.indd 2                                                                      9/13/12 9:40:18 PM
3



             เทคนิคการประพันธกลอนญี่ปุนที่ควรรูจัก
                      (1) มะกุระโกะโตะบะ (枕詞 คำประดับหนา) คือการนำคำหรือวลีที่
             มีจำนวน 5 พยางคซึ่งไดมีการกำหนดเอาไวแนนอนมาวางไวขางหนาคำหรือ
             วลีใด ๆ ในกลอนโดยมีจุดประสงคเพื่อประดับกลอนใหไพเราะสวยงาม และ
             ยังชวยในการขยายความหมายในกลอนอีกดวย เชน
                      อะกะเนะซะซุ (あかねさす) ใชเกริ่นนำถึง สีมวง (紫)
                      อะฌิฮิกิโนะ (あしひきの)             ใชเกริ่นนำถึง ภูเขา (山)
                      คะระโกะโระโมะ (からころも) ใชเกริ่นนำถึง ชายเสื้อ (袖)
                      ฌิโระตะเอะโนะ (しろたへの) ใชเกริ่นนำถึง เสื้อผา (衣)
                      ทะตะนะสุกุ (たたなづく)              ใชเกริ่นนำถึง รั้วสีเขียว (青垣)
                      นุบะตะมะโนะ (ぬばたまの) ใชเกริ่นนำถึง สีดำ (黒)
                                                      ความมืด (闇)
                      ฮิซะกะตะโนะ (ひさかたの) ใชเกริ่นนำถึง ทองฟา (空・天)
                                                      แสง (光)
                      (2) โจะโกะโตะบะ (序詞 กลุมคำขยายนำ) คือการนำกลุมคำหรือ
             วลีหนึ่ง ๆ โดยไมไดจำกัดความยาวมากลาวนำคำหรือหรือวลีใด ๆ ในกลอน
             เพื่ อ ขยายภาพพจน ข องคำหรื อ วลี นั้ น ๆ ทำให ผู อ า นเกิ ด จิ น ตนาการและ
             สามารถเขาใจความหมายของบทกลอนไดชัดเจนขึ้น
                      ตัวอยาง




             	        Ashihikino yamatorinoono           shidariono      naganagashiyoo
                      hitorikamonen



AW_100 Japan_Poem#final.indd 3                                                            9/13/12 9:40:18 PM
4



                      ฉันจะตองนอนคนเดียวในค่ำคืนที่ยาวนานดุจดั่งความยาวของหางนก
                      ปาที่หอยยอยลงมากระนั้นหรือ
                      ขอความใน 3 วรรคแรก คือ あしひきの 山鳥の尾の しだり尾の
             (Ashihikino yamatorinoono shidariono หางนกปาที่หอยยอยลงมา) เปน
             กลุมคำขยายนำของคำวา ながながし (naganagashi ยาวนาน) ในวรรคที่ 4
             โดยชวยขยายความหมายใหเกิดภาพพจนวา “ยาวดุจดั่งหางนกปาที่หอยยอย
             ลงมา”
                      (3) เอ็งโงะ (縁語 คำสัมพันธ) คือคำที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
             ทางความหมายอยางลึกซึ้งกับคำหลัก เชน คำวา 露	 (tsuyu น้ำคาง) กับ
             消える	(kieru เหือดหายไป) หรือคำวา 雨	(ame ฝน) กับ 降る (furu ตก)

                      (4) คะเกะโกะโตะบะ (掛詞 คำซอนทับพองเสียง) คือคำในกลอนที่
             ซอนทับกันอยูโดยเปนคำพองเสียงกันจึงตีความได 2 ความหมาย เชน อะกิ
             (秋) ที่แปลวาฤดูใบไมรวง กับ อะกิ (飽き) ที่แปลวาเบื่อ หรือ นะกิ (無き)
             ที่แปลวาไมมี กับ นะกิ (泣き) ที่แปลวารองไห
                      (5) มิตะเตะ (見立て การมองเหมือน) คือการกลาวถึงสิ่งหนึ่งที่มอง
             เห็ น โดยยึ ด ถื อ ว า เป น อี ก สิ่ ง หนึ่ ง เช น กวี ก ล า วถึ ง นางรำโดยยึ ด ถื อ ว า เป น
             นางฟา และพูดตัดพอตอนางฟา หรือไมก็เปนการกลาวถึงสิ่งหนึ่งทีมองเห็นวา         ่
             เปนอีกสิ่งหนึ่ง อันเนื่องจากวาแลดูคลายกันมากจนชวนใหมองเห็นผิดไปเปน
             สิ่งนั้นได เชน กวีกลาวถึงดอกไมสีขาวบนตนไม แตแทจริงแลวก็คือหิมะสีขาว
             ที่เกาะอยูบนตนไม ซึ่งแลดูคลายกับดอกไม
                      (6) กิจินโฮ (擬人法 บุคลาธิษฐาน) คือการใหสิ่งที่ไมใชบุคคลมี
             ลักษณะเหมือนบุคคล เชน การใหตนไมมีความรูสึกนึกคิดเหมือนคน




AW_100 Japan_Poem#final.indd 4                                                                                9/13/12 9:40:18 PM
5



                      (7) ทะอิเง็นโดะเมะ (体言止め การจบดวยนาม) คือการจบกลอน
             ดวยคำนามหรือสรรพนามแทนที่จะเปนคำกริยาหรือคำคุณศัพทแบบประโยค
             ทั่ ว ไป แต ทั้ ง นี้ ห ากกลอนลงท า ยด ว ยนามอั น เนื่ อ งจากการสลั บ ตำแหน ง
             ในประโยค เชน สลับประธานกับภาคแสดง จะไมใชเทคนิคการจบดวยนาม
             แตเปนเทคนิคการสลับตำแหนง (ขอ 10)
                      (8) ฮงกะโดะริ (本歌取り	กลอนเกาทำใหม) คือการนำกลอนที่มีอยู
             เดิ ม มาแต ง ใหม โ ดยยั ง คงเนื้ อ หาคล า ยของเดิ ม เพี ย งแต เ ปลี่ ย นเนื้ อ หา
             บางสวน
                      (9) อุตะมะกุระ (歌枕 การใชชื่อสถานที่โยงถึงสิ่งอื่น) คือคำซึ่งเปน
             ชื่อเรียกของสถานที่ที่มีชื่อเสียงซึ่งถูกนำมากลาวเอาไวในกลอน โดยที่คำ
             ในชื่อเรียกนั้นสื่อความหมายเกี่ยวโยงไปถึงสิ่งอื่นไดดวย ทำใหผูอานกลอน
             จินตนาการโยงไปถึงสิ่งนั้น ๆ ได
                      (10) โทชิโฮ (倒置法 การสลับตำแหนง) คือการสลับตำแหนงคำ
             หรื อ วลี ใ นกลอน เช น สลั บ ตำแหน ง ประธานกั บ ภาคแสดง เพื่ อ ให ผู อ า น
             เกิดความรูสึกสะดุดใจตอกลอนนั้น
                      (11) คุกิเระ (句切れ การตัดจบประโยค) กลอนที่มีขอความตั้งแต 2
             ประโยคขึ้นไปอยูขางในกลอน การตัดจบประโยคที่วรรคใดนั้นจะแสดงใหเห็น
             ถึงรูปแบบกลอนวาใหความรูสึกเหมือนกับรูปแบบกลอนที่พบบอยในหนังสือ
             รวมกลอนใด เชน หากตัดประโยคที่วรรคที่ 2 และ 4 จะใหความรูสึกแบบ
             กลอนในมันโยฌู (万葉集) หากตัดประโยคที่วรรคที่ 3 จะใหความรูสึกแบบ
             กลอนในโคะกิงวะกะฌู (古今和歌集)
                      นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการประพันธอื่นอีก เชน ทซุอิกุ (対句	 การนำ
             สิ่งตาง ๆ มาเรียงซอน) คือการนำคำหรือวลีซึ่งสื่อถึงสิ่งที่ตางกันมาจัดเรียงไว




AW_100 Japan_Poem#final.indd 5                                                                  9/13/12 9:40:19 PM
6



             ดวยกันในกลอนหรือนำมาเรียงซอนคลายกันเพื่อใหเกิดจังหวะที่ไพเราะ โดย
             ในดานความหมายยังเปนการเนนใหเห็นถึงของ 2 สิ่งที่ตางกันแตถูกนำมา
             กลาวเรียงไวดวยกันอีกดวย เปนเทคนิคการประพันธที่ใชในกลอนแบบจีน
             (漢詩) แตก็พบเห็นไดบางในกลอนญี่ปุน
                     อนึ่ง หนังสือเลมนี้ไดประมวลเทคนิคการประพันธขอ 1-11 ที่พบบอย
             ในกลอนเฮียะกุนินอิฌฌุไวในประมวลเทคนิคการประพันธกลอนขางทายเลม
             ด ว ย เพื่ อ ให ผู อ า นสามารถติ ด ตามศึ ก ษาเทคนิ ค การประพั น ธ ช นิ ด นั้ น ๆ
             ในกลอนบทตาง ๆ ซึ่งไดประมวลไวใหแลว




AW_100 Japan_Poem#final.indd 6                                                                  9/13/12 9:40:19 PM
7


                                    กลอนบทที่ 1




                                  akinotano karionoiono tomaoarami
                                 wagakoromodewa tsuyuninuretsutsu

                  กระทอมริมนาในฤดูใบไมรวงมุงหลังคาดวยใบจากอยางหยาบ ๆ
                  ชายแขนเสื้อของฉันเปยกปอนไปดวยน้ำคาง




AW_100 Japan_Poem#final.indd 7                                              9/13/12 9:40:20 PM
8



             ชื่อผูแตง         จักรพรรดิเท็นจิ (天智天皇 Tenji tennou)
             แหลงที่มา          กลอนบทที่ 302 ในหนังสือรวมกลอนโกะเซ็งวะกะฌู
                                 (後撰和歌集) หมวดฤดูใบไมรวง
             คำอธิบาย
                        หลังคากระทอมมุงดวยใบจากอยางหยาบ ๆ ทำใหน้ำคางตกลงมาจาก
             ชองวางของใบจากที่มุงนั้นจนชายแขนเสื้อเปยกปอน เปนการบรรยายภาพ
             ในชวงปลายฤดูใบไมรวงซึ่งตรงกับฤดูเก็บเกี่ยว ใหอารมณความงามแบบ
             เงียบเหงาเศราสรอยของฤดูใบไมรวง
                        ในหนั ง สื อ รวมกลอนมั น โยฌู ( 万葉集 ) มี บ ทกลอนที่ ค ล า ยกั น นี้
             ซึ่ ง กล า วกั น ว า เป น กลอนต น แบบของกลอนบทนี้ แต ใ นมั น โยฌู ร ะบุ ไ ว ว า
             เปนกลอนที่ไมทราบผูแตง กลอนดังกลาวถูกดัดแปลงถายทอดสืบตอมาและ
             ถู ก รวบรวมไว ใ นโกะเซ็ ง วะกะฌู โดยระบุ ไ ว ว า ผู แ ต ง คื อ จั ก รพรรดิ เ ท็ น จิ
             อันเปนการแสดงความเคารพรักในตัวพระองคโดยสื่อวาทรงเปนจักรพรรดิ
             ที่เขาใจในความทุกขยากของประชาชน
                        จักรพรรดิเท็นจิ (ค.ศ. 626-671) เปนจักรพรรดิองคที่ 38 ของญี่ปุน
             ทรงเปนพระราชโอรสองคที่ 2 ของจักรพรรดิโจะเมะอิ (舒明天皇) และเปน
             บรรพบุรุษสายตรงของจักรพรรดิคัมมุ	 (桓武天皇) ผูยายเมืองหลวงมายัง
             เกียวโตอันเปนจุดเริ่มตนของสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794) จักรพรรดิเท็นจิเปนที่
             ชื่ น ชมและเคารพรั ก ของคนญี่ ปุ น สมั ย เฮอั น เทะอิ ก ะเองก็ น า จะชื่ น ชอบ
             จั ก รพรรดิ อ งค น้ี ด ว ยจึ ง คั ด เลื อ กกลอนบทนี้ เ ป น กลอนบทแรกในเฮี ย ะ-
             กุนินอิฌฌุ




AW_100 Japan_Poem#final.indd 8                                                                      9/13/12 9:40:21 PM
9


                                     กลอนบทที่ 2




                                 Harusugite natsukinikerashi shirotaeno
                                   koromohosuchou amanokaguyama

                       ฤดูใบไมรวงผานพนไป ฤดูรอนยางกรายมาถึงแลว
                       ภูเขาคะงุแหงสรวงสวรรค มีคำกลาวกันมาแตโบราณวา
                       พอถึงหนารอนก็จะตากผาขาวเอาไว




AW_100 Japan_Poem#final.indd 9                                             9/13/12 9:40:22 PM
10



             ชื่อผูแตง          จักรพรรดินีจิโต (持統天皇 Jitou tennou)
             แหลงที่มา           กลอนบทที่ 175 ในหนังสือรวมกลอนฌิงโกะกิงวะกะฌู
             	        	           (新古今和歌集) หมวดฤดูรอน
             คำอธิบาย
                      กลอนบทนี้บรรยายภาพอันงดงามของภูเขาคะงุในฤดูรอน สีเขียวขจี
             ของตนไมตัดกับสีของผาขาวที่ตากเอาไวอยูบนภูเขา กลอนบทนี้ถูกจัดวางอยู
             ในตอนตนของกลอนหมวดฤดูรอนในฌิงโกะกิงวะกะฌู อันแสดงใหเห็นวา
             เปนกลอนที่แสดงภาพของชวงตนฤดูรอน
                      ในหนังสือรวมกลอนมันโยฌูมีบทกลอนดังกลาวนี้ปรากฏอยูดวย แต
             เนือความในวรรคที่ 4 เปน 衣ほしたり (koromohoshitari) ซึงมีความหมายวา
                 ้                                                   ่
             “ผากำลังตากไวอยู” ตางจากกลอนบทนีทเปน 衣ほすてふ	 (koromohosuchou)
                                                 ้ ี่
             ซึ่งหมายถึง “กลาวกันวาจะตากผาเอาไว” โดยเปนการอางอิงคำกลาวโบราณ
             ที่วา พอถึงหนารอนก็จะมีธรรมเนียมตากผาขาวเอาไวบนภูเขาลูกนี้ ภูเขาคะงุ
             นี้มีตำนานกลาวขานกันมาแตโบราณวาเปนภูเขาที่ลงมาจากสวรรค ปจจุบัน
             ตั้งอยูที่อำเภอคะฌิฮะระ จังหวัดนารา
                      คำวา 白妙の	 (shirotaeno) ในวรรคที่ 3 เปนคำประดับของคำวา 衣
             (koromo ผ า ) ในวรรคที่ 4 กลอนบทนี้ มี ก ารตั ด จบประโยคที่ ว รรคที่ 2
             กลาวคือ เมื่อนำวรรคแรกกับวรรคที่ 2 มารวมกันจะไดวา “ฤดูใบไมรวง
             ผานพนไป ฤดูรอนยางกรายมาถึงแลว” ซึงจะไดขอความจบหนึงประโยคกอนที่
                                                      ่              ่
             จะขึ้นประโยคใหมในวรรคที่ 3 นอกจากนี้ยังมีการใชเทคนิคจบดวยนาม ซึ่ง
             ในที่นี้คือคำวา 天の香具山	(amanokaguyama ภูเขาคะงุแหงสรวงสวรรค)




AW_100 Japan_Poem#final.indd 10                                                     9/13/12 9:40:23 PM

More Related Content

What's hot

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรม
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรมกศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรม
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรมนายจักราวุธ คำทวี
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่นประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่นbass hyde
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชNokko Bio
 
เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านSAM RANGSAM
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ Kun Cool Look Natt
 
แหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาแหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาTongsamut vorasan
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 

What's hot (20)

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรม
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรมกศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรม
กศน วินัย 10 มีค 58 นานยรณชิต บุตรภักดีธรรม
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่นประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
ประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
สึนามิ
สึนามิสึนามิ
สึนามิ
 
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
แหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาแหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดา
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คำสันธาน 2
คำสันธาน 2คำสันธาน 2
คำสันธาน 2
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 

Viewers also liked

9789740329718
97897403297189789740329718
9789740329718CUPress
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824CUPress
 
9789740330158
97897403301589789740330158
9789740330158CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787CUPress
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
9789740331773
97897403317739789740331773
9789740331773CUPress
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLnapadon2
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 

Viewers also liked (9)

9789740329718
97897403297189789740329718
9789740329718
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824
 
9789740330158
97897403301589789740330158
9789740330158
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
9789740331773
97897403317739789740331773
9789740331773
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 

Similar to 9789740330257

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นmasha199409
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 

Similar to 9789740330257 (20)

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่น
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330257

  • 1. บทนำ กลอนญี่ปุนมีขึ้นครั้งแรกในสมัยยะมะโตะ-นารา โดยพัฒนามาจาก บทเพลงพื้นบานของญี่ปุน (歌謡) หนังสือรวมกลอนญี่ปุนที่เกาแกที่สุดคือ มันโยฌู (万葉集) ซึ่งรวบรวมบทกลอนตั้งแตตนศตวรรษที่ 5 จนถึงกลาง ศตวรรษที่ 8 หลังจากนั้นเปนตนมาก็มีหนังสือรวมกลอนชิ้นอื่น ๆ ตามมาอีก หลายเลม โดยทั่วไปเมื่อกลาวถึงกลอนญี่ปุนมักจะหมายถึงกลอนประเภท ทังกะ (短歌) ซึ่งเปนกลอนที่พบบอยที่สุด ใน 1 บทมี 5 วรรค จำนวน พยางคในแตละวรรคคือ 5 7 5 7 7 รวมเปน 31 พยางค กลอน 100 บท ที่จะกลาวถึงในหนังสือเลมนี้เปนกลอนประเภททังกะที่ปรากฏอยูในหนังสือ รวมกลอนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุนในสมัยคะมะกุระซึ่งก็คือ เฮียะกุนินอิฌฌุ เฮียะกุนินอิฌฌุ (百人一首 Hyakunin isshu) เฮียะกุนินอิฌฌุเปนหนังสือรวมบทกลอนญี่ปุนซึ่งรวบรวมขึ้นในชวงตน สมัยคะมะกุระราว ค.ศ. 1235 โดยฟุจิวะระ โนะ ซะดะอิเอะ (藤原定家) หรือที่มักเรียกกันสั้น ๆ วา “เทะอิกะ” เทะอิกะไดคัดเลือกบทกลอนของกวีที่ มีช่อเสียงจำนวน 100 คน โดยเอามาคนละบท คำวา “เฮียะกุนิน” หมายถึง ื 100 คน และ “อิ ฌ ฌุ ” หมายถึ ง 1 บท กวี เ หล า นี้ ไ ด แ ก กวี ที่ มี ชี วิ ต อยู ตั้ ง แต ส มั ย จั ก รพรรดิ เ ท็ น จิ ( 天智天皇 ) 1 เรื่ อ ยลงมาจนถึ ง สมั ย จั ก รพรรดิ จุนโตะกุ (順徳天皇)2 1 จักรพรรดิองคที่ 38 ของญี่ปุน ครองราชยชวง ค.ศ. 668-671 2 จักรพรรดิองคที่ 84 ของญี่ปุน ครองราชยชวง ค.ศ. 1210-1221 AW_100 Japan_Poem#final.indd 1 9/13/12 9:40:18 PM
  • 2. 2 ทะเมะอิเอะ (為家)3 บุตรชายของเทะอิกะเปนลูกเขยของเร็นโฌ (蓮生) เร็นโฌตองการจะตกแตงประตูเลื่อนที่ใชกั้นหองในบานพักตากอากาศที่ภูเขา ซะงะโอะงุระ (嵯峨小倉山) จึงขอใหเทะอิกะชวยคัดเลือกบทกลอนญี่ปุนเพื่อ ใชเขียนลงบนบานประตูเลื่อนนั้น เทะอิกะจึงคัดเลือกบทกลอนรวม 100 บท โดยใหชื่อวา “เฮียะกุนินฌูกะ” (百人秀歌) แลวตอมาไดนำมาปรับปรุงใหม เปนหนังสือรวมกลอน “โอะงุระเฮียะกุนินอิฌฌุ” (小倉百人一首) หรือที่มัก เรียกกันวา “เฮียะกุนนอิฌฌุ”4 ิ กวีที่เปนผูแตงบทกลอนเปนชาย 79 คน และหญิง 21 คน ในจำนวน กวีที่เปนชายมีที่เปนพระอยู 13 รูป บทกลอนเหลานี้แตงขึ้นอยางประณีต งดงาม เทะอิ ก ะได คั ด เลื อ กบทกลอนเหล า นี้ ม าจากหนั ง สื อ รวมกลอนที่ มี ชื่อเสียงอื่น ๆ ที่รวบรวมกลอนเหลานี้ไว เฮียะกุนินอิฌฌุไดรับการยกยอง ใหเปนคูมือขั้นตนในการแตงบทกลอนวะกะ กลอนในเฮียะกุนินอิฌฌุเปนที่ รูจักกันแพรหลายเนื่องจากปรากฏอยูในไพคะรุตะ (歌留多) ของญี่ปุนซึ่ง ปจจุบันจะมีธรรมเนียมการเลนไพนี้กันในวันปใหม 3 กวี เ อกช ว งกลางสมั ย คะมะกุ ร ะ (ค.ศ. 1198-1275) ผลงานวรรณกรรมได แ ก หนั ง สื อ รวมกลอนทะเมะอิ เ อะฌู ( 為家集 ) และหนั ง สื อ วิ จ ารณ ก ลอนเอะอิ ง ะอิ ต เตะอิ (詠歌一体) 4 บางทฤษฎีกลาววา เทะอิกะรวบรวมหนังสือรวมกลอนเฮียะกุนินอิฌฌุขึ้นมากอนที่ จะคัดเลือกบทกลอนเฮียะกุนินฌูกะ AW_100 Japan_Poem#final.indd 2 9/13/12 9:40:18 PM
  • 3. 3 เทคนิคการประพันธกลอนญี่ปุนที่ควรรูจัก (1) มะกุระโกะโตะบะ (枕詞 คำประดับหนา) คือการนำคำหรือวลีที่ มีจำนวน 5 พยางคซึ่งไดมีการกำหนดเอาไวแนนอนมาวางไวขางหนาคำหรือ วลีใด ๆ ในกลอนโดยมีจุดประสงคเพื่อประดับกลอนใหไพเราะสวยงาม และ ยังชวยในการขยายความหมายในกลอนอีกดวย เชน อะกะเนะซะซุ (あかねさす) ใชเกริ่นนำถึง สีมวง (紫) อะฌิฮิกิโนะ (あしひきの) ใชเกริ่นนำถึง ภูเขา (山) คะระโกะโระโมะ (からころも) ใชเกริ่นนำถึง ชายเสื้อ (袖) ฌิโระตะเอะโนะ (しろたへの) ใชเกริ่นนำถึง เสื้อผา (衣) ทะตะนะสุกุ (たたなづく) ใชเกริ่นนำถึง รั้วสีเขียว (青垣) นุบะตะมะโนะ (ぬばたまの) ใชเกริ่นนำถึง สีดำ (黒) ความมืด (闇)   ฮิซะกะตะโนะ (ひさかたの) ใชเกริ่นนำถึง ทองฟา (空・天) แสง (光) (2) โจะโกะโตะบะ (序詞 กลุมคำขยายนำ) คือการนำกลุมคำหรือ วลีหนึ่ง ๆ โดยไมไดจำกัดความยาวมากลาวนำคำหรือหรือวลีใด ๆ ในกลอน เพื่ อ ขยายภาพพจน ข องคำหรื อ วลี นั้ น ๆ ทำให ผู อ า นเกิ ด จิ น ตนาการและ สามารถเขาใจความหมายของบทกลอนไดชัดเจนขึ้น ตัวอยาง Ashihikino yamatorinoono shidariono naganagashiyoo hitorikamonen AW_100 Japan_Poem#final.indd 3 9/13/12 9:40:18 PM
  • 4. 4 ฉันจะตองนอนคนเดียวในค่ำคืนที่ยาวนานดุจดั่งความยาวของหางนก ปาที่หอยยอยลงมากระนั้นหรือ ขอความใน 3 วรรคแรก คือ あしひきの 山鳥の尾の しだり尾の (Ashihikino yamatorinoono shidariono หางนกปาที่หอยยอยลงมา) เปน กลุมคำขยายนำของคำวา ながながし (naganagashi ยาวนาน) ในวรรคที่ 4 โดยชวยขยายความหมายใหเกิดภาพพจนวา “ยาวดุจดั่งหางนกปาที่หอยยอย ลงมา” (3) เอ็งโงะ (縁語 คำสัมพันธ) คือคำที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ทางความหมายอยางลึกซึ้งกับคำหลัก เชน คำวา 露 (tsuyu น้ำคาง) กับ 消える (kieru เหือดหายไป) หรือคำวา 雨 (ame ฝน) กับ 降る (furu ตก) (4) คะเกะโกะโตะบะ (掛詞 คำซอนทับพองเสียง) คือคำในกลอนที่ ซอนทับกันอยูโดยเปนคำพองเสียงกันจึงตีความได 2 ความหมาย เชน อะกิ (秋) ที่แปลวาฤดูใบไมรวง กับ อะกิ (飽き) ที่แปลวาเบื่อ หรือ นะกิ (無き) ที่แปลวาไมมี กับ นะกิ (泣き) ที่แปลวารองไห (5) มิตะเตะ (見立て การมองเหมือน) คือการกลาวถึงสิ่งหนึ่งที่มอง เห็ น โดยยึ ด ถื อ ว า เป น อี ก สิ่ ง หนึ่ ง เช น กวี ก ล า วถึ ง นางรำโดยยึ ด ถื อ ว า เป น นางฟา และพูดตัดพอตอนางฟา หรือไมก็เปนการกลาวถึงสิ่งหนึ่งทีมองเห็นวา ่ เปนอีกสิ่งหนึ่ง อันเนื่องจากวาแลดูคลายกันมากจนชวนใหมองเห็นผิดไปเปน สิ่งนั้นได เชน กวีกลาวถึงดอกไมสีขาวบนตนไม แตแทจริงแลวก็คือหิมะสีขาว ที่เกาะอยูบนตนไม ซึ่งแลดูคลายกับดอกไม (6) กิจินโฮ (擬人法 บุคลาธิษฐาน) คือการใหสิ่งที่ไมใชบุคคลมี ลักษณะเหมือนบุคคล เชน การใหตนไมมีความรูสึกนึกคิดเหมือนคน AW_100 Japan_Poem#final.indd 4 9/13/12 9:40:18 PM
  • 5. 5 (7) ทะอิเง็นโดะเมะ (体言止め การจบดวยนาม) คือการจบกลอน ดวยคำนามหรือสรรพนามแทนที่จะเปนคำกริยาหรือคำคุณศัพทแบบประโยค ทั่ ว ไป แต ทั้ ง นี้ ห ากกลอนลงท า ยด ว ยนามอั น เนื่ อ งจากการสลั บ ตำแหน ง ในประโยค เชน สลับประธานกับภาคแสดง จะไมใชเทคนิคการจบดวยนาม แตเปนเทคนิคการสลับตำแหนง (ขอ 10) (8) ฮงกะโดะริ (本歌取り กลอนเกาทำใหม) คือการนำกลอนที่มีอยู เดิ ม มาแต ง ใหม โ ดยยั ง คงเนื้ อ หาคล า ยของเดิ ม เพี ย งแต เ ปลี่ ย นเนื้ อ หา บางสวน (9) อุตะมะกุระ (歌枕 การใชชื่อสถานที่โยงถึงสิ่งอื่น) คือคำซึ่งเปน ชื่อเรียกของสถานที่ที่มีชื่อเสียงซึ่งถูกนำมากลาวเอาไวในกลอน โดยที่คำ ในชื่อเรียกนั้นสื่อความหมายเกี่ยวโยงไปถึงสิ่งอื่นไดดวย ทำใหผูอานกลอน จินตนาการโยงไปถึงสิ่งนั้น ๆ ได (10) โทชิโฮ (倒置法 การสลับตำแหนง) คือการสลับตำแหนงคำ หรื อ วลี ใ นกลอน เช น สลั บ ตำแหน ง ประธานกั บ ภาคแสดง เพื่ อ ให ผู อ า น เกิดความรูสึกสะดุดใจตอกลอนนั้น (11) คุกิเระ (句切れ การตัดจบประโยค) กลอนที่มีขอความตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปอยูขางในกลอน การตัดจบประโยคที่วรรคใดนั้นจะแสดงใหเห็น ถึงรูปแบบกลอนวาใหความรูสึกเหมือนกับรูปแบบกลอนที่พบบอยในหนังสือ รวมกลอนใด เชน หากตัดประโยคที่วรรคที่ 2 และ 4 จะใหความรูสึกแบบ กลอนในมันโยฌู (万葉集) หากตัดประโยคที่วรรคที่ 3 จะใหความรูสึกแบบ กลอนในโคะกิงวะกะฌู (古今和歌集) นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการประพันธอื่นอีก เชน ทซุอิกุ (対句 การนำ สิ่งตาง ๆ มาเรียงซอน) คือการนำคำหรือวลีซึ่งสื่อถึงสิ่งที่ตางกันมาจัดเรียงไว AW_100 Japan_Poem#final.indd 5 9/13/12 9:40:19 PM
  • 6. 6 ดวยกันในกลอนหรือนำมาเรียงซอนคลายกันเพื่อใหเกิดจังหวะที่ไพเราะ โดย ในดานความหมายยังเปนการเนนใหเห็นถึงของ 2 สิ่งที่ตางกันแตถูกนำมา กลาวเรียงไวดวยกันอีกดวย เปนเทคนิคการประพันธที่ใชในกลอนแบบจีน (漢詩) แตก็พบเห็นไดบางในกลอนญี่ปุน อนึ่ง หนังสือเลมนี้ไดประมวลเทคนิคการประพันธขอ 1-11 ที่พบบอย ในกลอนเฮียะกุนินอิฌฌุไวในประมวลเทคนิคการประพันธกลอนขางทายเลม ด ว ย เพื่ อ ให ผู อ า นสามารถติ ด ตามศึ ก ษาเทคนิ ค การประพั น ธ ช นิ ด นั้ น ๆ ในกลอนบทตาง ๆ ซึ่งไดประมวลไวใหแลว AW_100 Japan_Poem#final.indd 6 9/13/12 9:40:19 PM
  • 7. 7 กลอนบทที่ 1 akinotano karionoiono tomaoarami wagakoromodewa tsuyuninuretsutsu กระทอมริมนาในฤดูใบไมรวงมุงหลังคาดวยใบจากอยางหยาบ ๆ ชายแขนเสื้อของฉันเปยกปอนไปดวยน้ำคาง AW_100 Japan_Poem#final.indd 7 9/13/12 9:40:20 PM
  • 8. 8 ชื่อผูแตง จักรพรรดิเท็นจิ (天智天皇 Tenji tennou) แหลงที่มา กลอนบทที่ 302 ในหนังสือรวมกลอนโกะเซ็งวะกะฌู (後撰和歌集) หมวดฤดูใบไมรวง คำอธิบาย หลังคากระทอมมุงดวยใบจากอยางหยาบ ๆ ทำใหน้ำคางตกลงมาจาก ชองวางของใบจากที่มุงนั้นจนชายแขนเสื้อเปยกปอน เปนการบรรยายภาพ ในชวงปลายฤดูใบไมรวงซึ่งตรงกับฤดูเก็บเกี่ยว ใหอารมณความงามแบบ เงียบเหงาเศราสรอยของฤดูใบไมรวง ในหนั ง สื อ รวมกลอนมั น โยฌู ( 万葉集 ) มี บ ทกลอนที่ ค ล า ยกั น นี้ ซึ่ ง กล า วกั น ว า เป น กลอนต น แบบของกลอนบทนี้ แต ใ นมั น โยฌู ร ะบุ ไ ว ว า เปนกลอนที่ไมทราบผูแตง กลอนดังกลาวถูกดัดแปลงถายทอดสืบตอมาและ ถู ก รวบรวมไว ใ นโกะเซ็ ง วะกะฌู โดยระบุ ไ ว ว า ผู แ ต ง คื อ จั ก รพรรดิ เ ท็ น จิ อันเปนการแสดงความเคารพรักในตัวพระองคโดยสื่อวาทรงเปนจักรพรรดิ ที่เขาใจในความทุกขยากของประชาชน จักรพรรดิเท็นจิ (ค.ศ. 626-671) เปนจักรพรรดิองคที่ 38 ของญี่ปุน ทรงเปนพระราชโอรสองคที่ 2 ของจักรพรรดิโจะเมะอิ (舒明天皇) และเปน บรรพบุรุษสายตรงของจักรพรรดิคัมมุ (桓武天皇) ผูยายเมืองหลวงมายัง เกียวโตอันเปนจุดเริ่มตนของสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794) จักรพรรดิเท็นจิเปนที่ ชื่ น ชมและเคารพรั ก ของคนญี่ ปุ น สมั ย เฮอั น เทะอิ ก ะเองก็ น า จะชื่ น ชอบ จั ก รพรรดิ อ งค น้ี ด ว ยจึ ง คั ด เลื อ กกลอนบทนี้ เ ป น กลอนบทแรกในเฮี ย ะ- กุนินอิฌฌุ AW_100 Japan_Poem#final.indd 8 9/13/12 9:40:21 PM
  • 9. 9 กลอนบทที่ 2 Harusugite natsukinikerashi shirotaeno koromohosuchou amanokaguyama ฤดูใบไมรวงผานพนไป ฤดูรอนยางกรายมาถึงแลว ภูเขาคะงุแหงสรวงสวรรค มีคำกลาวกันมาแตโบราณวา พอถึงหนารอนก็จะตากผาขาวเอาไว AW_100 Japan_Poem#final.indd 9 9/13/12 9:40:22 PM
  • 10. 10 ชื่อผูแตง จักรพรรดินีจิโต (持統天皇 Jitou tennou) แหลงที่มา กลอนบทที่ 175 ในหนังสือรวมกลอนฌิงโกะกิงวะกะฌู (新古今和歌集) หมวดฤดูรอน คำอธิบาย กลอนบทนี้บรรยายภาพอันงดงามของภูเขาคะงุในฤดูรอน สีเขียวขจี ของตนไมตัดกับสีของผาขาวที่ตากเอาไวอยูบนภูเขา กลอนบทนี้ถูกจัดวางอยู ในตอนตนของกลอนหมวดฤดูรอนในฌิงโกะกิงวะกะฌู อันแสดงใหเห็นวา เปนกลอนที่แสดงภาพของชวงตนฤดูรอน ในหนังสือรวมกลอนมันโยฌูมีบทกลอนดังกลาวนี้ปรากฏอยูดวย แต เนือความในวรรคที่ 4 เปน 衣ほしたり (koromohoshitari) ซึงมีความหมายวา ้ ่ “ผากำลังตากไวอยู” ตางจากกลอนบทนีทเปน 衣ほすてふ (koromohosuchou)  ้ ี่ ซึ่งหมายถึง “กลาวกันวาจะตากผาเอาไว” โดยเปนการอางอิงคำกลาวโบราณ ที่วา พอถึงหนารอนก็จะมีธรรมเนียมตากผาขาวเอาไวบนภูเขาลูกนี้ ภูเขาคะงุ นี้มีตำนานกลาวขานกันมาแตโบราณวาเปนภูเขาที่ลงมาจากสวรรค ปจจุบัน ตั้งอยูที่อำเภอคะฌิฮะระ จังหวัดนารา คำวา 白妙の (shirotaeno) ในวรรคที่ 3 เปนคำประดับของคำวา 衣 (koromo ผ า ) ในวรรคที่ 4 กลอนบทนี้ มี ก ารตั ด จบประโยคที่ ว รรคที่ 2 กลาวคือ เมื่อนำวรรคแรกกับวรรคที่ 2 มารวมกันจะไดวา “ฤดูใบไมรวง ผานพนไป ฤดูรอนยางกรายมาถึงแลว” ซึงจะไดขอความจบหนึงประโยคกอนที่  ่  ่ จะขึ้นประโยคใหมในวรรคที่ 3 นอกจากนี้ยังมีการใชเทคนิคจบดวยนาม ซึ่ง ในที่นี้คือคำวา 天の香具山 (amanokaguyama ภูเขาคะงุแหงสรวงสวรรค) AW_100 Japan_Poem#final.indd 10 9/13/12 9:40:23 PM