SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ละครไทย
ละครไทย
ละคร หมายถึง การแสดงประเภทหนึ่งซึ่งแสดงเรื่องราวความ
เป็ นไปของชีวิตที่ปรากฏในวรรณกรรม มีศิลปะการแสดงและ
ดนตรีเป็ นสื่อสาคัญ
ละคร ตามความหมายนี้หมายถึงละครรา เพราะว่าเป็ นการ
แสดงออกทางความคิดโดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทางอิริยาบถ
ในขณะเคลื่อนไหวตัวในระหว่างการรา
ละครไทยสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๔ ประเภท
ดังนี้
๑. ละครรา คือละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการ
ดาเนินเรื่อง
ละครราแบ่งได้เป็ น ๒ ประเภท
๑.๑ ละครราแบบมาตรฐานดั้งเดิม มี ๓ ชนิด คือ
- ละครชาตรี
- ละครนอก
- ละครใน
๑.๒ ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มี ๔ ชนิด คือ
- ละครดึกดาบรรพ์
- ละครพันทาง
- ละครเสภา
- ละครหลวงวิจิตรวาทการ
๑.๑ ละครราแบบมาตรฐานดั้งเดิม
- ละครชาตรี
ละครชาตรี เป็ นรูปแบบละครราที่เก่าแก่ของไทยที่ได้รับ
การฟื้นฟู จนถึงทุกวันนี้ เรื่องของละครชาตรีมีกาเนิดมาจาก
เรื่องมโนราห์
การแสดงโนราเป็ นที่นิยมอยู่ทางภาคใต้ ส่วนละคร
ชาตรีมีความนิยมทางภาคกลาง ซึ่งมักหาดูได้ในงานแก้บน
แบบแผนการแสดงโนราชาตรีคล้ายคลึงกับละครของทาง
มลายูที่เรียกกันว่า “มะโย่ง” แต่ต่างกันที่ภาษาและทานอง
ดนตรี
ละครโนราชาตรีอาจจะมีผู้นามาแสดงในภาคกลางตั้งแต่
สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ที่มีหลักฐานแน่ชัด คือในสมัยที่สมเด็จ
พระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพไปปราบก๊กเจ้านครครั้งหนึ่ง และต่อมา
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ์ อีก ๒ ครั้ง ในครั้งหลัง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดให้ชาวภาคใต้ที่อพยพเข้า
มาในกรุงเทพ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ตาบลสนามกระบือ ได้จัดตั้ง
ละครชาตรี แต่เดิมผู้แสดงเป็ นชายล้วนมีเพียง 3 คน
เท่านั้น ได้แก่ นายโรง ซึ่งแสดงเป็ นตัวพระ อีก ๒ คน คือ ตัว
นาง และตัวจาอวด ซึ่งแสดงตลก และเป็ นตัวเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ
เช่น ฤาษี พราน สัตว์ แต่เดิมนิยมแสดงเพียงไม่กี่เรื่อง เช่น
เรื่องมโนราห์ นายโรงจะแสดงเป็ นตัวพระสุธน ตัวนางเป็ น
มโนราห์ และตัวจาอวดเป็ นพรานบุญ และอีกเรื่องหนึ่งที่นิยม
แสดงไม่แพ้กัน คือ เรื่องพระรถเสน นายโรงเป็ นตัวพระรถ ตัว
นางเป็ น เมรี และตัวจาอวดเป็ น ม้าพระรถเสน ในสมัยหลัง
- ละครนอก
ละครนอก มีการดาเนินท้องเรื่องที่
รวดเร็ว กระชับ สนุก การแสดงมีชีวิตชีวา ส่วนมากใช้
ผู้ชายแสดง และมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เข้าใจว่าละคร
นอกมีวิวัฒนาการมาจากละครชาตรี เพราะมุ่งที่จะให้คนดู
เกิดความขบขัน ผู้แสดงละครนอกแต่เดิมมีผู้แสดงอยู่เพียง
2-3 คน เช่นเดียวกับละครชาตรี ละครนอกไม่คานึงถึง
ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับยศศักดิ์และฐานะของตัว
ละครแต่อย่างใด ตัวละครที่เป็ นท้าวพระยามหากษัตริย์ก็
สามารถโต้ตอบตลกกับเสนากานัลหรือไพร่พลได้ ละครนอกที่
- ละครใน
จากรูปแบบของละครนอกที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเป็ น
ตัวละครในวัง ผู้แสดงหญิงล้วน แบบอย่างละครในนี้ได้สงวน
ไว้เฉพาะในวังหลวงเท่านั้น เพราะว่าผู้ชายนั้นจะถูกห้ามให้
เข้าไปในพระราชฐานชั้นใน บริเวณตาหนักของ
พระมหากษัตริย์ ซึ่งจะประกอบไปด้วยดนตรีที่มีเสียงไพเราะ
อ่อนหวาน ใช้บทร้อยกรองได้อย่างวิจิตรบรรจง ทั้งดนตรีที่
นามาผสมผสานอย่างไพเราะ รวมทั้งจะมีท่าทางสง่างาม ไม่
มีการสอดแทรกหยาบโลนหรือตลก และอนุรักษ์วัฒนธรรม
และคุณลักษณะที่เป็ นประเพณีสืบทอดกันมา เรื่องที่ใช้แสดง
๑.๒ ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
- ละครดึกดาบรรพ์
ละครดึกดาบรรพ์ เป็ นการแสดงละครแบบหนึ่งในประเภทละคร
ราเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5เนื่องมาจากในสมัยรัชกาลที่ ๕ มี
เจ้านายชาวต่างชาติเข้าเข้าเฝ้ าอยู่หลายครั้ง จึงโปรดให้มี
การละเล่นให้แขกบ้านแขกเมืองได้รับชม โดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ ์
วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ได้คิดการแสดงในรูปแบบคอนเสิร ์ต
โดยเนื้อเรื่องตัดตอนมาจากวรรณคดีไทย โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรม
วงศ ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ์ ทรงเลือกเพลงและ
อานวยการซ้อม จึงถือว่าการแสดงในครั้งนั้นนับว่าเป็ นจุดเริ่มต้น
ของละครดึกดาบรรพ์ ต่อมาภายหลังเจ้าพระยาเทเวศรวงศ ์วิวัฒน์
การแสดงละครดึกดาบรรพ์แสดงในโรงปิ ดขนาด
เล็ก ดนตรี ประกอบการแสดง ใช้วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
ดัดแปลงมาจากวงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่อง
ใหญ่ ประกอบด้วย ระนาดเอกไม้นวม ระนาดทุ้ม(ไม้) ระนาด
เหล็กทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องหุ่ย ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซอ
อู้ ตะโพน กลองตะโพน กลองแขก และฉิ่ง
- ละครพันทาง
ละครพันทาง หมายถึงละครแบบผสม คือ การนาเอาลีลาท่าทีของ
ชนต่างชาติเข้ามาปรับปรุงกับท่าราแบบไทย ๆ การแสดงละครชนิดนี้แต่
เดิมเป็ นการริเริ่มของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารง เป็ นผู้คิดค้นนาเอาเรื่อง
ของพงศาวดารของชาติต่าง ๆ มาแต่งเป็ นบทละครสาหรับแสดง
พระเจ้าบรมวงศ ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ ์พงศ ์ ได้กาหนดชื่อนี้
และทรงปรับปรุงให้มีฉากประกอบการแสดงเพื่อให้แลเห็นสมจริงสมเนื้อร้อง
ซึ่งยังปรับปรุงลีลาท่าราของชนชาติกับท่าทางอิริยาบถของสามัญชนเข้า
มาผสมกัน เพลงร้องประกอบการแสดงนั้นส่วนมากต้นเสียงกับลูกคู่เป็ นผู้
ร้อง แต่ก็มีบ้างที่กาหนดให้ตัวละครเป็ นผู้ร้อง ปี่พาทย์ประกอบการแสดงใช้
วงปี่พาทย์ไม้นวม บทที่ใช้มักเป็ นบทที่กล่าวถึงตัวละครที่มีเชื้อชาติต่าง
ๆ เช่น พม่า มอญ จีน ลาว บทที่นิยมนามาเล่นในปัจจุบันมีเรื่องพระลอ
และราชาธิราชตอนสมิงพระรามอาสา
ลักษณะการแต่งตัวของละครพันทางจะแต่งตามเชื้อชาติ และความ
เป็ นจริงของตัวละครในบทนั้น ๆ
- ละครเสภา
ละครเสภา คือละครที่มีลักษณะการแสดงคล้ายละครนอก รวมทั้ง
เพลงร้องนา ทานองดนตรี และการแต่งกายของตัวละคร แต่มีข้อบังคับ
อยู่อย่างหนึ่งคือต้องมีขับเสภาแทรกอยู่ด้วยจึงจะเป็ นละครเสภา
ก่อนที่จะเกิดละครเสภาขึ้นนั้น เข้าใจว่าจะมีการขับเสภาเป็ น
เรื่องราวก่อน เรื่องที่นาขับเสภาและนิยมกันอย่างแพร่หลายคือ เรื่องขุน
ช้างขุนแผน การขับเสภาตั้งแต่โบราณนั้นไม่มีเครื่องดนตรีชนิดใด
ประกอบ นอกจากกรับที่ผู้ขับขยับประกอบแทรกในทานองขับของตน
เท่านั้น ครั้นเวลาต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย ซึ่งทรงโปรดสดับการขับเสภาได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดวงปี่พาทย์เข้า
ประกอบเป็ นอุปกรณ์ขับเสภา โดยให้แทรกเพลงร้องส่งให้ปี่พาทย์รับและ
บรรเลงเพลงหน้าพาทย์เหมือนอย่างการแสดงละครนอก ตอนใดดาเนิน
เรื่องก็ขับเสภา ตอนใดเป็ นถ้อยคาราพันหรือข้อความอื่นที่ควรแก่การร้อง
ส่งก็ร้อง จะเป็ นเพลงช้าปี่หรือโอ้ปี่อย่างละครนอกก็ได้ ตอนใดเป็ นบทไปมา
หรือรบกัน ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงเชิดประกอบ ต่อมาได้วิวัฒนาการให้มีผู้
แสดงออกมาแสดงตามบทเสภาและบทร้อง ครั้งแรกก็อาจจะเป็ นเพียงตอน
ใดตอนหนึ่ง ครั้นต่อมาก็เลยปรับปรุงให้เป็ นการแสดงทั้งหมด และเรียก
- ละครหลวงวิจิตรวาทการ
หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ กรมศิลปากรได้
ดนตรี เข้ามารวมกันใหม่อีกครั้งหนึ่ง ตั้งเป็ นกองขึ้นในกรมศิลปากร ทั้งได้ตั้ง
โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร ์ขึ้นฝึ กฝนนักเรียนด้วย เพื่อรักษาศิลปของชาติไว้มิ
ให้เสื่อมสูญ ในระยะนี้หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) ดารงตาแหน่ง
อธิบดีกรมศิลปากร ท่านเป็ นทั้งนักการทูต และนักประวัติศาสตร ์ท่านจึงมองเห็น
คุณค่าทางการละครที่จะใช้เป็ นสื่อปลุกใจให้ประชาชนเกิดความรักชาติ เนื้อหาจะ
นามาจากประวัติศาสตร ์ตอนใดตอนหนึ่ง บทละครของท่านจะมีทั้งรัก รบ สะเทือน
อารมณ์ ความรักที่มีต่อคู่รัก ถึงแม้จะมากมายเพียงไร ก็ไม่เท่ากับความรักชาติ ตัว
เอกของเรื่องสละชีวิต พลีชีพเพื่อชาติ ด้วยเหตุที่ละครของท่านไม่เหมือนการแสดง
ละครที่มีอยู่ก่อน คนทั้งหลายจึงเรียกละครของท่านว่า "ละครหลวงวิจิตรวาทการ"
ผู้แสดง มักใช้ผู้แสดงทั้งผู้ชาย และผู้หญิง แสดงตามบทบาทในเรื่องที่กาหนด
การแต่งกาย
จะมีลักษณะคล้ายละครพันทาง คือจะแต่งกายตามเนื้อเรื่อง และให้ถูกต้อง
ตามประวัติศาสตร ์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ
เรื่องที่แสดง
มักเป็ นบทประพันธ ์ของท่านที่แต่งขึ้นมีอยู่หลายเรื่องด้วยกันดังนี้ ราชมนู
พระเจ้ากรุงธน ศึกถลาง เจ้าหญิงแสนหวี พระมหาเทวี เบญจเพส น่านเจ้า
อนุสาวรีย์ไทย พ่อขุนผาเมือง ดาบแสนเมือง ชนะมาร เจ้าหญิงกรรณิการ ์สีหราช
เดโช ตายดาบหน้า ลานเลือดลานรัก เพชรรัตน์ - พัชรา ลูกพระคเณศ ครุฑดา
โชคชีวิต อานุภาพพ่อขุนรามคาแหง อานุภาพแห่งความเสียสละ อานุภาพแห่ง
ความรัก อานุภาพแห่งศีลสัตย์และเลือดสุพรรณ
การแสดง
มักมีการแสดงต่างๆแทรกอยู่เป็ นระยะๆ เช่น การราอาวุธ การ
ระบาต่างๆประกอบเพลง ตลอดจนมีการแสดง และร้องเพลงสลับฉาก
นอกจากนี้การแสดงของท่านจะมีทั้งราร้องเพลงไทยเดิม เพลงไทยสากล
บางเรื่องผู้แสดงร้องเอง นอกจากนี้ละครหลวงวิจิตรวาทการยังมีลักษณะ
แปลก คือจะชวนเชิญให้ผู้ชมร้องเพลงในละครเรื่องนั้น ซึ่งเนื้อเพลงมีคติ
สอนใจ ปลุกใจให้รักชาติ จึงเป็ นละครที่มีผู้นิยมมาก และจะได้รับแจกเนื้อ
เพลง สามารถนามาร้องให้ลูกหลานฟังได้ ในสมัยต่อมาการแสดงฉาก
สุดท้ายตัวละครทุกตัวจะต้องออกแสดงหมด
ดนตรี
บรรเลงด้วยวงดนตรีไทย และวงดนตรีสากลประกอบกัน
เพลงร้อง
มีทั้งเพลงไทยเดิม และเพลงไทยสากล โดยมี ๓ ลักษณะ คือ เพลง
ไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องโต้ตอบกัน มักเป็ นเพลงรัก เพลงที่ให้ตัวละคร
ร้องประกอบการแสดง และเพลงปลุกใจ
๒. ละครร้อง คือละครที่ใช้ศิลปะการร้องดาเนินเรื่อง เป็ น
ละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก แบ่งได้
เป็ น ๒ ประเภท คือ
๒.๑ ละครร้องล้วน ๆ
๒.๒ ละครร้องสลับพูด
๓. ละครพูด คือละครที่ใช้ศิลปะการพูดในการดาเนิน
เรื่อง เป็ นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจาก
ตะวันตก แบ่งได้เป็ น ๒ ประเภท คือ
๓.๑ ละครพูดล้วน ๆ
๓.๒ ละครพูดสลับรา
๔. ละครสังคีต คือละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้อง
ดาเนินเรื่องเสมอกัน
**************

More Related Content

What's hot

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 

What's hot (20)

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 

Similar to ละครไทย

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลปpeter dontoom
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำleemeanxun
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docxpinglada1
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์bambookruble
 

Similar to ละครไทย (20)

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
ละคร
ละครละคร
ละคร
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลป
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Pramo Thai Movie
Pramo Thai MoviePramo Thai Movie
Pramo Thai Movie
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ละครไทย

  • 2. ละครไทย ละคร หมายถึง การแสดงประเภทหนึ่งซึ่งแสดงเรื่องราวความ เป็ นไปของชีวิตที่ปรากฏในวรรณกรรม มีศิลปะการแสดงและ ดนตรีเป็ นสื่อสาคัญ ละคร ตามความหมายนี้หมายถึงละครรา เพราะว่าเป็ นการ แสดงออกทางความคิดโดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทางอิริยาบถ ในขณะเคลื่อนไหวตัวในระหว่างการรา
  • 3. ละครไทยสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. ละครรา คือละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการ ดาเนินเรื่อง ละครราแบ่งได้เป็ น ๒ ประเภท ๑.๑ ละครราแบบมาตรฐานดั้งเดิม มี ๓ ชนิด คือ - ละครชาตรี - ละครนอก - ละครใน ๑.๒ ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มี ๔ ชนิด คือ - ละครดึกดาบรรพ์ - ละครพันทาง - ละครเสภา - ละครหลวงวิจิตรวาทการ
  • 4. ๑.๑ ละครราแบบมาตรฐานดั้งเดิม - ละครชาตรี ละครชาตรี เป็ นรูปแบบละครราที่เก่าแก่ของไทยที่ได้รับ การฟื้นฟู จนถึงทุกวันนี้ เรื่องของละครชาตรีมีกาเนิดมาจาก เรื่องมโนราห์ การแสดงโนราเป็ นที่นิยมอยู่ทางภาคใต้ ส่วนละคร ชาตรีมีความนิยมทางภาคกลาง ซึ่งมักหาดูได้ในงานแก้บน แบบแผนการแสดงโนราชาตรีคล้ายคลึงกับละครของทาง มลายูที่เรียกกันว่า “มะโย่ง” แต่ต่างกันที่ภาษาและทานอง ดนตรี ละครโนราชาตรีอาจจะมีผู้นามาแสดงในภาคกลางตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ที่มีหลักฐานแน่ชัด คือในสมัยที่สมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพไปปราบก๊กเจ้านครครั้งหนึ่ง และต่อมา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ์ อีก ๒ ครั้ง ในครั้งหลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดให้ชาวภาคใต้ที่อพยพเข้า มาในกรุงเทพ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ตาบลสนามกระบือ ได้จัดตั้ง
  • 5. ละครชาตรี แต่เดิมผู้แสดงเป็ นชายล้วนมีเพียง 3 คน เท่านั้น ได้แก่ นายโรง ซึ่งแสดงเป็ นตัวพระ อีก ๒ คน คือ ตัว นาง และตัวจาอวด ซึ่งแสดงตลก และเป็ นตัวเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เช่น ฤาษี พราน สัตว์ แต่เดิมนิยมแสดงเพียงไม่กี่เรื่อง เช่น เรื่องมโนราห์ นายโรงจะแสดงเป็ นตัวพระสุธน ตัวนางเป็ น มโนราห์ และตัวจาอวดเป็ นพรานบุญ และอีกเรื่องหนึ่งที่นิยม แสดงไม่แพ้กัน คือ เรื่องพระรถเสน นายโรงเป็ นตัวพระรถ ตัว นางเป็ น เมรี และตัวจาอวดเป็ น ม้าพระรถเสน ในสมัยหลัง
  • 6. - ละครนอก ละครนอก มีการดาเนินท้องเรื่องที่ รวดเร็ว กระชับ สนุก การแสดงมีชีวิตชีวา ส่วนมากใช้ ผู้ชายแสดง และมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เข้าใจว่าละคร นอกมีวิวัฒนาการมาจากละครชาตรี เพราะมุ่งที่จะให้คนดู เกิดความขบขัน ผู้แสดงละครนอกแต่เดิมมีผู้แสดงอยู่เพียง 2-3 คน เช่นเดียวกับละครชาตรี ละครนอกไม่คานึงถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับยศศักดิ์และฐานะของตัว ละครแต่อย่างใด ตัวละครที่เป็ นท้าวพระยามหากษัตริย์ก็ สามารถโต้ตอบตลกกับเสนากานัลหรือไพร่พลได้ ละครนอกที่
  • 7. - ละครใน จากรูปแบบของละครนอกที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเป็ น ตัวละครในวัง ผู้แสดงหญิงล้วน แบบอย่างละครในนี้ได้สงวน ไว้เฉพาะในวังหลวงเท่านั้น เพราะว่าผู้ชายนั้นจะถูกห้ามให้ เข้าไปในพระราชฐานชั้นใน บริเวณตาหนักของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งจะประกอบไปด้วยดนตรีที่มีเสียงไพเราะ อ่อนหวาน ใช้บทร้อยกรองได้อย่างวิจิตรบรรจง ทั้งดนตรีที่ นามาผสมผสานอย่างไพเราะ รวมทั้งจะมีท่าทางสง่างาม ไม่ มีการสอดแทรกหยาบโลนหรือตลก และอนุรักษ์วัฒนธรรม และคุณลักษณะที่เป็ นประเพณีสืบทอดกันมา เรื่องที่ใช้แสดง
  • 8. ๑.๒ ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ - ละครดึกดาบรรพ์ ละครดึกดาบรรพ์ เป็ นการแสดงละครแบบหนึ่งในประเภทละคร ราเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5เนื่องมาจากในสมัยรัชกาลที่ ๕ มี เจ้านายชาวต่างชาติเข้าเข้าเฝ้ าอยู่หลายครั้ง จึงโปรดให้มี การละเล่นให้แขกบ้านแขกเมืองได้รับชม โดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ ์ วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ได้คิดการแสดงในรูปแบบคอนเสิร ์ต โดยเนื้อเรื่องตัดตอนมาจากวรรณคดีไทย โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรม วงศ ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ์ ทรงเลือกเพลงและ อานวยการซ้อม จึงถือว่าการแสดงในครั้งนั้นนับว่าเป็ นจุดเริ่มต้น ของละครดึกดาบรรพ์ ต่อมาภายหลังเจ้าพระยาเทเวศรวงศ ์วิวัฒน์
  • 9. การแสดงละครดึกดาบรรพ์แสดงในโรงปิ ดขนาด เล็ก ดนตรี ประกอบการแสดง ใช้วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ดัดแปลงมาจากวงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่อง ใหญ่ ประกอบด้วย ระนาดเอกไม้นวม ระนาดทุ้ม(ไม้) ระนาด เหล็กทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องหุ่ย ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซอ อู้ ตะโพน กลองตะโพน กลองแขก และฉิ่ง
  • 10. - ละครพันทาง ละครพันทาง หมายถึงละครแบบผสม คือ การนาเอาลีลาท่าทีของ ชนต่างชาติเข้ามาปรับปรุงกับท่าราแบบไทย ๆ การแสดงละครชนิดนี้แต่ เดิมเป็ นการริเริ่มของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารง เป็ นผู้คิดค้นนาเอาเรื่อง ของพงศาวดารของชาติต่าง ๆ มาแต่งเป็ นบทละครสาหรับแสดง พระเจ้าบรมวงศ ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ ์พงศ ์ ได้กาหนดชื่อนี้ และทรงปรับปรุงให้มีฉากประกอบการแสดงเพื่อให้แลเห็นสมจริงสมเนื้อร้อง ซึ่งยังปรับปรุงลีลาท่าราของชนชาติกับท่าทางอิริยาบถของสามัญชนเข้า มาผสมกัน เพลงร้องประกอบการแสดงนั้นส่วนมากต้นเสียงกับลูกคู่เป็ นผู้ ร้อง แต่ก็มีบ้างที่กาหนดให้ตัวละครเป็ นผู้ร้อง ปี่พาทย์ประกอบการแสดงใช้ วงปี่พาทย์ไม้นวม บทที่ใช้มักเป็ นบทที่กล่าวถึงตัวละครที่มีเชื้อชาติต่าง ๆ เช่น พม่า มอญ จีน ลาว บทที่นิยมนามาเล่นในปัจจุบันมีเรื่องพระลอ และราชาธิราชตอนสมิงพระรามอาสา ลักษณะการแต่งตัวของละครพันทางจะแต่งตามเชื้อชาติ และความ เป็ นจริงของตัวละครในบทนั้น ๆ
  • 11. - ละครเสภา ละครเสภา คือละครที่มีลักษณะการแสดงคล้ายละครนอก รวมทั้ง เพลงร้องนา ทานองดนตรี และการแต่งกายของตัวละคร แต่มีข้อบังคับ อยู่อย่างหนึ่งคือต้องมีขับเสภาแทรกอยู่ด้วยจึงจะเป็ นละครเสภา ก่อนที่จะเกิดละครเสภาขึ้นนั้น เข้าใจว่าจะมีการขับเสภาเป็ น เรื่องราวก่อน เรื่องที่นาขับเสภาและนิยมกันอย่างแพร่หลายคือ เรื่องขุน ช้างขุนแผน การขับเสภาตั้งแต่โบราณนั้นไม่มีเครื่องดนตรีชนิดใด ประกอบ นอกจากกรับที่ผู้ขับขยับประกอบแทรกในทานองขับของตน เท่านั้น ครั้นเวลาต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย ซึ่งทรงโปรดสดับการขับเสภาได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดวงปี่พาทย์เข้า ประกอบเป็ นอุปกรณ์ขับเสภา โดยให้แทรกเพลงร้องส่งให้ปี่พาทย์รับและ บรรเลงเพลงหน้าพาทย์เหมือนอย่างการแสดงละครนอก ตอนใดดาเนิน เรื่องก็ขับเสภา ตอนใดเป็ นถ้อยคาราพันหรือข้อความอื่นที่ควรแก่การร้อง ส่งก็ร้อง จะเป็ นเพลงช้าปี่หรือโอ้ปี่อย่างละครนอกก็ได้ ตอนใดเป็ นบทไปมา หรือรบกัน ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงเชิดประกอบ ต่อมาได้วิวัฒนาการให้มีผู้ แสดงออกมาแสดงตามบทเสภาและบทร้อง ครั้งแรกก็อาจจะเป็ นเพียงตอน ใดตอนหนึ่ง ครั้นต่อมาก็เลยปรับปรุงให้เป็ นการแสดงทั้งหมด และเรียก
  • 12. - ละครหลวงวิจิตรวาทการ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ กรมศิลปากรได้ ดนตรี เข้ามารวมกันใหม่อีกครั้งหนึ่ง ตั้งเป็ นกองขึ้นในกรมศิลปากร ทั้งได้ตั้ง โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร ์ขึ้นฝึ กฝนนักเรียนด้วย เพื่อรักษาศิลปของชาติไว้มิ ให้เสื่อมสูญ ในระยะนี้หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) ดารงตาแหน่ง อธิบดีกรมศิลปากร ท่านเป็ นทั้งนักการทูต และนักประวัติศาสตร ์ท่านจึงมองเห็น คุณค่าทางการละครที่จะใช้เป็ นสื่อปลุกใจให้ประชาชนเกิดความรักชาติ เนื้อหาจะ นามาจากประวัติศาสตร ์ตอนใดตอนหนึ่ง บทละครของท่านจะมีทั้งรัก รบ สะเทือน อารมณ์ ความรักที่มีต่อคู่รัก ถึงแม้จะมากมายเพียงไร ก็ไม่เท่ากับความรักชาติ ตัว เอกของเรื่องสละชีวิต พลีชีพเพื่อชาติ ด้วยเหตุที่ละครของท่านไม่เหมือนการแสดง ละครที่มีอยู่ก่อน คนทั้งหลายจึงเรียกละครของท่านว่า "ละครหลวงวิจิตรวาทการ" ผู้แสดง มักใช้ผู้แสดงทั้งผู้ชาย และผู้หญิง แสดงตามบทบาทในเรื่องที่กาหนด การแต่งกาย จะมีลักษณะคล้ายละครพันทาง คือจะแต่งกายตามเนื้อเรื่อง และให้ถูกต้อง ตามประวัติศาสตร ์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ เรื่องที่แสดง มักเป็ นบทประพันธ ์ของท่านที่แต่งขึ้นมีอยู่หลายเรื่องด้วยกันดังนี้ ราชมนู พระเจ้ากรุงธน ศึกถลาง เจ้าหญิงแสนหวี พระมหาเทวี เบญจเพส น่านเจ้า อนุสาวรีย์ไทย พ่อขุนผาเมือง ดาบแสนเมือง ชนะมาร เจ้าหญิงกรรณิการ ์สีหราช เดโช ตายดาบหน้า ลานเลือดลานรัก เพชรรัตน์ - พัชรา ลูกพระคเณศ ครุฑดา โชคชีวิต อานุภาพพ่อขุนรามคาแหง อานุภาพแห่งความเสียสละ อานุภาพแห่ง ความรัก อานุภาพแห่งศีลสัตย์และเลือดสุพรรณ
  • 13. การแสดง มักมีการแสดงต่างๆแทรกอยู่เป็ นระยะๆ เช่น การราอาวุธ การ ระบาต่างๆประกอบเพลง ตลอดจนมีการแสดง และร้องเพลงสลับฉาก นอกจากนี้การแสดงของท่านจะมีทั้งราร้องเพลงไทยเดิม เพลงไทยสากล บางเรื่องผู้แสดงร้องเอง นอกจากนี้ละครหลวงวิจิตรวาทการยังมีลักษณะ แปลก คือจะชวนเชิญให้ผู้ชมร้องเพลงในละครเรื่องนั้น ซึ่งเนื้อเพลงมีคติ สอนใจ ปลุกใจให้รักชาติ จึงเป็ นละครที่มีผู้นิยมมาก และจะได้รับแจกเนื้อ เพลง สามารถนามาร้องให้ลูกหลานฟังได้ ในสมัยต่อมาการแสดงฉาก สุดท้ายตัวละครทุกตัวจะต้องออกแสดงหมด ดนตรี บรรเลงด้วยวงดนตรีไทย และวงดนตรีสากลประกอบกัน เพลงร้อง มีทั้งเพลงไทยเดิม และเพลงไทยสากล โดยมี ๓ ลักษณะ คือ เพลง ไทยสากลที่ให้ตัวละครร้องโต้ตอบกัน มักเป็ นเพลงรัก เพลงที่ให้ตัวละคร ร้องประกอบการแสดง และเพลงปลุกใจ
  • 14. ๒. ละครร้อง คือละครที่ใช้ศิลปะการร้องดาเนินเรื่อง เป็ น ละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก แบ่งได้ เป็ น ๒ ประเภท คือ ๒.๑ ละครร้องล้วน ๆ ๒.๒ ละครร้องสลับพูด ๓. ละครพูด คือละครที่ใช้ศิลปะการพูดในการดาเนิน เรื่อง เป็ นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจาก ตะวันตก แบ่งได้เป็ น ๒ ประเภท คือ ๓.๑ ละครพูดล้วน ๆ ๓.๒ ละครพูดสลับรา ๔. ละครสังคีต คือละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้อง ดาเนินเรื่องเสมอกัน **************