SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3
2. นางสาวจีราวรรณ โลหะมาศ รหัสนักศึกษา 565050038-1
3. นางสาวชลธิชา มายอด รหัสนักศึกษา 565050039-9
4. นางสาวนิโลบล มีชัย รหัสนักศึกษา 565050042-0
5. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8
Problem Base สื่อการเรียนรู้
Page 2
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
สมมติว่าในขณะนี้คุณเป็นนักศึกษาฝึกสอนโดยทาการสอนที่โรงเรียนสาระวิทยา หลังจากที่คุณ
สอนมาได้ระยะหนึ่งแล้ว คุณก็สังเกตเห็นว่านักเรียนมีลักษณะต่างๆ ดังนี้
ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่านหนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความเข้าใจเนื้อหาจากการ
อ่านหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย
ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สิ่งแปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตาตื่นใจและท้าทาย
ความสามารถ เพราะยิ่งท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อกับสิ่งนั้นมากและทาให้เกิดการเรียนรู้สิ่ง
เหล่านั้นได้ดี
ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้าไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือของจริง เวลาครูสอน
ในชั้นนึกภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทันเพื่อน
ด.ญ. สะรีรัตน์ เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษาจากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร เพราะในเวลาเรียน
เขาจะตั้งใจฟังครูอธิบายเนื้อหา ทาความเข้าใจและพยายามจับประเด็นที่สาคัญให้ได้ในขณะที่เรียน เช่น
กระบวนการในการแก้โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจตอนนั้น โดยไม่ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก เป็นต้น
Page 3
การนาความรู้เรื่องสื่อการสอนมาจัดการเรียนรู้
ด.ญ.ปนัดดา เลือกใช้สื่อสิ่งพิมพ์ เนื่องจากว่าปนัดดาชอบอ่านหนังสือมากกว่าฟังที่ครูอธิบาย
โดยสื่อที่เลือกใช้จะต้องมีความน่าสนใจ ใช้งานได้ไม่ซับซ้อน มีการเรียงหัวข้อ ใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม สามารถ
พกพาได้ เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
ด.ช.เรียงชัย เลือกใช้สื่อเทคโนโลยี และสื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ เนื่องจากเรียงชัยเป็นคน
ชอบอะไรที่ใหม่ๆ ตื่นตาตื่นใจ ชอบค้นหาด้วยตนเอง สื่อเทคโนโลยีจะมีการปฏิสัมพันธ์ โดยใช้
ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย ภาพจริง ซึ่งเหล่านี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ชวนให้ค้นหาตลอด จะทา
ให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเองเป็นอย่างดี และสื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการก็จะช่วยให้นักเรียนเกิดความท้าทายใน
การแก้ไขปัญหา ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
ด.ช.มรกต เลือกใช้สื่อวัสดุ สื่อเทคโนโลยี และสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมรกตขาด
จินตนาการ ต้องเรียนรู้จากของจริงหรือการเห็นภาพ ซึ่งสื่อวัสดุจะทาให้มองเห็นภาพจากของจริง ส่วนสื่อ
เทคโนโลยีจะมีมัลติมีเดียที่ทาให้มรกตมองเห็นภาพมากขึ้น และสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะช่วยให้มรกตได้
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ด.ญ.สะรีรัตน์ เลือกใช้สื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ และสื่อบุคคล เนื่องจากสะรีรัตน์ชอบฟัง
การอธิบายจากครูผู้สอน การเลือกใช้สื่อบุคคลจะช่วยให้สะรีรัตน์ได้รับความรู้จากผู้รู้โดยตรง และการใช้สื่อที่
เป็นกิจกรรม/กระบวนการ จะช่วยให้สะรีรัตน์เข้าใจและจับประเด็นสาคัญได้
Page 4
ความแตกต่างระหว่างสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
แตกต่างกัน เนื่องจากสื่อการสอนเป็นเทคนิคหรือวิธีการที่ใช้ถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปยัง
ผู้เรียนเท่านั้น โดยมีการบรรจุเนื้อหาความรู้ลงไปเพื่อให้ผู้เรียนจดจาความรู้เท่านั้น แต่สื่อการเรียนรู้จะมุ่งเน้น
เรื่องการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยส่งเสริมการคิด การสร้างความรู้
และการแก้ปัญหา
Page 5
การออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
1) สาระการเรียนรู้ : สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ ม.1)
2) สื่อที่เลือกใช้ :
1) สื่อบุคคล คือ ครูผู้สอน ซึ่งเป็นผู้คอยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
2) สื่อกิจกรรม/กระบวนการ โดยการแบ่งกลุ่มนักเรียนให้ศึกษาด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิด
ปฏิสัมพันธ์กัน และเกิดการแบ่งปันความรู้ และสร้างเป็นความรู้ใหม่ได้
3) สื่อวัสดุอุปกรณ์ อาทิ ตัวอย่างของ hardware เช่น หน้าจอ เม้าท์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
4) สื่อเทคโนโลยี โดยการค้นคว้าหาความรู้ผ่าน internet
3) วิธีการเรียนรู้
แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มละ 5 คน ซึ่งครูเป็นผู้ให้หัวข้อในการศึกษาว่าจะศึกษาเรื่องอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ โดยจัดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กลุ่มละ 1 ชิ้น และให้นักเรียนร่วมมือกันค้นคว้าหา
ความหมาย วิธีการใช้ และรายละเอียดของอุปกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย และสรุปความรู้รวบยอดเป็น
mind map จากนั้นนา mind map ที่สรุปของแต่ละกลุ่มมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน เมื่ออภิปรายเสร็จ
แล้วครูผู้สอนสรุปความรู้ที่ได้จากการอภิปรายร่วมกัน
6
Thank You !!!

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวKanyawat Chanaphan
 
งานกล มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)
งานกล  มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)งานกล  มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)
งานกล มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)Kung Wp
 
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)Wimolwan Pornpimolwongsa
 
Chayanich41
Chayanich41Chayanich41
Chayanich41ChayaIui
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนthitiya Pasomboon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Krudoremon
 
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์Areeya Hongsuwan
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Aunyanee Wongduean
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 

What's hot (18)

word1
word1 word1
word1
 
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
 
chatmongkol
chatmongkolchatmongkol
chatmongkol
 
Unit 4 innovation
Unit 4 innovationUnit 4 innovation
Unit 4 innovation
 
610 36
610 36610 36
610 36
 
งานกล มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)
งานกล  มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)งานกล  มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)
งานกล มดราก_อน (ผลกระทบเช_งลบด_านการใช_เทคโนโลย_สารสนเทศ)
 
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)
งานกลุ่มดราก้อน (ผลกระทบเชิงลบด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ)
 
วิจัย ม
วิจัย มวิจัย ม
วิจัย ม
 
Chayanich41
Chayanich41Chayanich41
Chayanich41
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Viewers also liked

นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Jitthana_ss
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Kanpirom Trangern
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้ratiporn-hk
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)Turdsak Najumpa
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Aiijoo Yume
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.Nkidsana
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 

Viewers also liked (15)

Innovation chapter 4
Innovation chapter 4Innovation chapter 4
Innovation chapter 4
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 

Similar to สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattakamon
 
Chapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มChapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มTa'Tatpong Nonyaso
 
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Wanlayaa
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4Mod DW
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4Amu P Thaiying
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattakamon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้Mod Phonprasat
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 

Similar to สื่อการเรียนรู้ (20)

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4
 
Chapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มChapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่ม
 
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter4
Chapter4 Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 

More from Nisachol Poljorhor

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 

More from Nisachol Poljorhor (12)

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologies
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 

สื่อการเรียนรู้

  • 1. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3 2. นางสาวจีราวรรณ โลหะมาศ รหัสนักศึกษา 565050038-1 3. นางสาวชลธิชา มายอด รหัสนักศึกษา 565050039-9 4. นางสาวนิโลบล มีชัย รหัสนักศึกษา 565050042-0 5. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8 Problem Base สื่อการเรียนรู้
  • 2. Page 2 สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) สมมติว่าในขณะนี้คุณเป็นนักศึกษาฝึกสอนโดยทาการสอนที่โรงเรียนสาระวิทยา หลังจากที่คุณ สอนมาได้ระยะหนึ่งแล้ว คุณก็สังเกตเห็นว่านักเรียนมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่านหนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความเข้าใจเนื้อหาจากการ อ่านหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สิ่งแปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตาตื่นใจและท้าทาย ความสามารถ เพราะยิ่งท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อกับสิ่งนั้นมากและทาให้เกิดการเรียนรู้สิ่ง เหล่านั้นได้ดี ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้าไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือของจริง เวลาครูสอน ในชั้นนึกภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทันเพื่อน ด.ญ. สะรีรัตน์ เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษาจากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร เพราะในเวลาเรียน เขาจะตั้งใจฟังครูอธิบายเนื้อหา ทาความเข้าใจและพยายามจับประเด็นที่สาคัญให้ได้ในขณะที่เรียน เช่น กระบวนการในการแก้โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจตอนนั้น โดยไม่ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก เป็นต้น
  • 3. Page 3 การนาความรู้เรื่องสื่อการสอนมาจัดการเรียนรู้ ด.ญ.ปนัดดา เลือกใช้สื่อสิ่งพิมพ์ เนื่องจากว่าปนัดดาชอบอ่านหนังสือมากกว่าฟังที่ครูอธิบาย โดยสื่อที่เลือกใช้จะต้องมีความน่าสนใจ ใช้งานได้ไม่ซับซ้อน มีการเรียงหัวข้อ ใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม สามารถ พกพาได้ เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ด.ช.เรียงชัย เลือกใช้สื่อเทคโนโลยี และสื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ เนื่องจากเรียงชัยเป็นคน ชอบอะไรที่ใหม่ๆ ตื่นตาตื่นใจ ชอบค้นหาด้วยตนเอง สื่อเทคโนโลยีจะมีการปฏิสัมพันธ์ โดยใช้ ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย ภาพจริง ซึ่งเหล่านี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ชวนให้ค้นหาตลอด จะทา ให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเองเป็นอย่างดี และสื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการก็จะช่วยให้นักเรียนเกิดความท้าทายใน การแก้ไขปัญหา ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ด.ช.มรกต เลือกใช้สื่อวัสดุ สื่อเทคโนโลยี และสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมรกตขาด จินตนาการ ต้องเรียนรู้จากของจริงหรือการเห็นภาพ ซึ่งสื่อวัสดุจะทาให้มองเห็นภาพจากของจริง ส่วนสื่อ เทคโนโลยีจะมีมัลติมีเดียที่ทาให้มรกตมองเห็นภาพมากขึ้น และสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะช่วยให้มรกตได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ด.ญ.สะรีรัตน์ เลือกใช้สื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ และสื่อบุคคล เนื่องจากสะรีรัตน์ชอบฟัง การอธิบายจากครูผู้สอน การเลือกใช้สื่อบุคคลจะช่วยให้สะรีรัตน์ได้รับความรู้จากผู้รู้โดยตรง และการใช้สื่อที่ เป็นกิจกรรม/กระบวนการ จะช่วยให้สะรีรัตน์เข้าใจและจับประเด็นสาคัญได้
  • 4. Page 4 ความแตกต่างระหว่างสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้ แตกต่างกัน เนื่องจากสื่อการสอนเป็นเทคนิคหรือวิธีการที่ใช้ถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปยัง ผู้เรียนเท่านั้น โดยมีการบรรจุเนื้อหาความรู้ลงไปเพื่อให้ผู้เรียนจดจาความรู้เท่านั้น แต่สื่อการเรียนรู้จะมุ่งเน้น เรื่องการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยส่งเสริมการคิด การสร้างความรู้ และการแก้ปัญหา
  • 5. Page 5 การออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 1) สาระการเรียนรู้ : สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ ม.1) 2) สื่อที่เลือกใช้ : 1) สื่อบุคคล คือ ครูผู้สอน ซึ่งเป็นผู้คอยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ 2) สื่อกิจกรรม/กระบวนการ โดยการแบ่งกลุ่มนักเรียนให้ศึกษาด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิด ปฏิสัมพันธ์กัน และเกิดการแบ่งปันความรู้ และสร้างเป็นความรู้ใหม่ได้ 3) สื่อวัสดุอุปกรณ์ อาทิ ตัวอย่างของ hardware เช่น หน้าจอ เม้าท์ คีย์บอร์ด เป็นต้น 4) สื่อเทคโนโลยี โดยการค้นคว้าหาความรู้ผ่าน internet 3) วิธีการเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มละ 5 คน ซึ่งครูเป็นผู้ให้หัวข้อในการศึกษาว่าจะศึกษาเรื่องอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ โดยจัดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กลุ่มละ 1 ชิ้น และให้นักเรียนร่วมมือกันค้นคว้าหา ความหมาย วิธีการใช้ และรายละเอียดของอุปกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย และสรุปความรู้รวบยอดเป็น mind map จากนั้นนา mind map ที่สรุปของแต่ละกลุ่มมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน เมื่ออภิปรายเสร็จ แล้วครูผู้สอนสรุปความรู้ที่ได้จากการอภิปรายร่วมกัน