SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
Problem base ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม
พฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3
2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8
3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
LOGOสถานการณ์ที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
• นายปอยฝ้าย เป็นเด็กหนุ่มคนหนึ่งที่ต้องการทางานหลังจากที่ตนเองได้จบการศึกษา แต่ไปสมัครงาน
ที่ไหนใครเขาก็ไม่รับเข้าไปทางานสักที่ อยู่มาวันหนึ่ง นายปอยฝ้าย เดินไปเห็นประกาศรับสมัคร
พนักงานในฟาร์มไก่ซีพี ด้วยความที่ต้องการหาเงินอยู่แล้ว
• นายปอยฝ้าย จึงตัดสินใจสมัครเข้าทางานนี้ ผู้จัดการก็มีความยินดีที่จะรับนายปอยฝ้ายเข้าเป็น
พนักงาน และมอบหมายงานให้ ทาหน้าที่ในการให้อาหารไก่ในฟาร์ม นายปอยฝ้ายมีภาระกิจที่ต้อง
ทาหลายอย่าง นอกจากให้อาหารไก่แล้วยังต้องทาความสะอาดโรงเลี้ยง อีกทั้งจานวนไก่มีมากแต่มี
คนงานน้อย
• ดังนั้น นายปอยฝ้าย จึงคิดหาวิธีที่ฝึกนิสัยการกินอาหารไก่ในเวลาที่ กาหนดโดยกระตุ้นให้ไก่รู้สึกหิว
เมื่อได้ยินเสียงเคาะไม้ไผ่จากคนงาน ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการดูแลไก่ที่มีมาก
LOGOทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่นามาประยุกต์ใช้
• ทฤษฎีที่นามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่คือทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
(Classical Conditioning Theory) ตามแนวคิดของพาฟลอฟ (Pavlov)
LOGOหลักการที่เลือกและนามาใช้ในการวางเงื่อนไขไก่
• ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ตามแนวคิดของ
พาฟลอฟ (Pavlov) มีหลักการคือ การเรียนรู้ = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข
• จะนาหลักการดังกล่าวมาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ คือ การให้เงื่อนไขคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อให้ไก่มี
พฤติกรรมตอบสนองที่ต้องการคือให้ไก่มากินอาหารโดยที่ปอบฝ้ายไม่ต้องมาให้อาหารด้วยตนเอง
แต่สามารถให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เพื่อเป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงเคาะไม้
ไผ่ ไก่ก็จะมากินอาหาร
LOGOข้อดีและข้อเสียของการเลือกใช้หลักการตามแนวคิดของพาฟลอฟ
• ข้อดี
 ไก่มีพฤติกรรมตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ คือ เมื่อเวลาที่ไก่ได้ยินเสียง
เคาะไม้ไผ่ ไก่ก็จะมากินอาหาร โดยที่ปอยฝ้ายไม่ต้องเป็นผู้ให้อาหารด้วยตนเองแต่ให้คนงานคน
อื่นเป็นผู้เคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณให้อาหารไก่
• ข้อเสีย
 เมื่อมีการเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้งแต่ไม่ได้ให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดการตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่
และไม่สนใจเสียงเคาะอีก ในที่สุดวิธีนี้ก็ใช้ไม่ได้ผล
LOGOขั้นตอนการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่
1. ทดลองเคาะไม้ไผ่เพื่อให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นคือไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว
2. ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นคือไก่จะมากินอาหาร
3. ต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่และให้อาหารไก่พร้อมกัน ผลที่เกิดขึ้นคือไก่มากินอาหารทันที
4. ทาซ้าในขั้นตอนที่ 3 ซ้าๆกันหลายๆวัน
5. ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงเคาะไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียงสัญญาณทันที ปอย
ฝ้ายจึงไม่ต้องมาให้อาหารด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจมาก แต่สามารถให้คนงานคนอื่นมาเคาะไม้ไผ่
เพื่อเรียกให้ไก่มากินอาหารแทนได้
LOGOสถานการณ์ที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
• ลูกของผมตอนนี้กาลังเรียนอยู่ชั้น ป.1 ในโรงเรียนประถมแห่งหนึ่ง (ขอสงวนนาม) โรงเรียนอยู่ห่าง
จากบ้านไม่ไกลนัก เป็นโรงเรียนที่ผมเคยเรียนสมัยเป็นเด็ก ดังนั้นผมจึงสนิทกับครูทุกคนในโรงเรียน
• ตอนนี้ผมประสบปัญหาเกี่ยวกับตัวของลูกผมอย่างมาก คือ แกกลัวการไปโรงเรียน พอถึงเวลาที่จะไป
โรงเรียนก็ร้องไห้งอแง ไม่ยอมไปโรงเรียน บางทีก็หนีกลับมาก่อนที่โรงเรียนจะเลิกในบางครั้งผมก็
ต้องคอยปลอบหรือไปอยู่ที่โรงเรียนให้แกเห็นถึงจะยอมเรียนโดยดี แต่จะให้ผมไปเฝ้าอยู่ที่โรงเรียนทุก
ครั้ง ไม่ได้หรอกนะครับเพราะผมก็ต้องทางานเหมือนกัน
• ปัญหานี้ผมก็เคยปรึกษากับอาจารย์ประจาชั้นอยู่เหมือนกันแต่ยังหาทางแก้ไม่ได้ ท่านที่เคยมี
ประสบการณ์ กรุณาช่วยให้คาแนะนาด้วยนะครับ
LOGOวิธีการที่จะให้เด็กหายจากอาการกลัวการไปโรงเรียน
1) หาสาเหตุที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้ว่าเป็นเพราะอะไร
2) เพิ่มความสนใจ ข้อดีของการไปโรงเรียน เพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียนและเลิกกลัวการไปโรงเรียน
LOGOทฤษฎีที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาและหลักการของทฤษฎี
• ทฤษฎีที่นามาใช้ในการแก้ปัญหานี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical
Conditioning Theory) ตามแนวคิดของวัตสัน (Watson) ซึ่งมีหลักการดังนี้
 การให้สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดการกลัว
• เด็กจะกลัวเสียงดัง แต่ไม่กลัวสัตว์เช่นหนูขาว วัตสันได้ทาการทดลองกับเด็ก คือ เมื่อเด็กจะ
เล่นกับหนูขาว วัตสันก็จะเคาะแผ่นเหล็กเพื่อให้เกิดเสียงดัง โดยทาเช่นนี้อยู่ 7 ครั้งใน 1
สัปดาห์ ผลคือเมื่อเด็กแค่เห็นหนูขาวก็จะเกิดอาการกลัว
 การให้สิ่งเร้าที่แก้อาการกลัว
• วัตสันให้แม่ของเด็กอุ้มเด็กไว้ในขณะที่นาหนูขาวมาให้เด็กจับ ตอนแรกเด็กจะร้องไห้เพราะ
กลัว แต่หลังจากที่แม่ปลอบว่าไม่มีอะไรน่ากลัว พร้อมกับจับมือเด็กไปลูบตัวหนูขาว
จนกระทั่งเด็กเลิกกลัวหนูขาวและสามารถเอามือแตะหนูขาวได้
LOGOเหตุผลในการเลือกใช้ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมในการแก้ปัญหา
• เพราะทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ตาม
แนวคิดของวัตสัน (Watson) นั้นมีการทดลองกับมนุษย์โดยตรงและเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความกลัว
โดยตรง จึงสามารถนาหลักการจากการทดลองดังกล่าวไปปรับใช้ในการหาวิธีการแก้ปัญหาอาการ
กลัวการไปโรงเรียนในสถานการณ์นี้ได้
LOGOหลักการที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาสถานการณ์
1) หาสาเหตุที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้ว่าเป็นเพราะอะไร
• เมื่อทราบสาเหตุแล้ว เช่น เด็กไม่ชอบไปโรงเรียนเพราะไปแล้วเพื่อนล้อ ครูดุว่าเสียงดัง หรือ
เพื่อนแกล้ง เป็นต้น ให้ผู้ปกครองให้คาแนะนา พูดปลอบ หรือให้กาลังใจกับเด็ก พร้อมกับ
แนะนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลดการแสดงพฤติกรรมดังกล่าวลง แล้วพาเด็กมาโรงเรียนตามปกติ
2) เพิ่มความสนใจ ข้อดีของการไปโรงเรียน เพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียนและเลิกกลัวการไปโรงเรียน
• เช่น ผู้ปกครองไปส่งที่โรงเรียน หรือ ไปโรงเรียนพร้อมกับเพื่อนที่สนิทด้วย หรือ ครูพาทา
กิจกรรมที่สนุกสนานในโรงเรียน เป็นต้น
LOGOสถานการณ์ที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
• สถานการณ์นี้เกิดขึ้น ณ ห้องเรียนแห่งหนึ่ง ซึ่งครูประจาชั้นเป็นคนเล่าให้ผมฟังเอง ว่า ในห้องเรียนนี้มี
นักเรียนอยู่ 40 คน แต่จะมีเด็กกลุ่มหนึ่งที่ ไม่สนใจการเรียน คอยแต่แกล้งเพื่อน ชอบทาตัวเป็นอันธพาล
นักเรียนกลุ่มนี้มีด้วยกันทั้งหมด 6 คน แต่ละคนล้วนแต่เด็ดๆ ทั้งนั้น มีหัวโจกคือ นายบอย ซึ่งเป็นหัวหน้า
กลุ่ม
• ทุกวันนักเรียนกลุ่มนี้จะชอบจับกลุ่มกันแล้วหาเรื่องก่อกวนเพื่อนๆ แม้แต่บางครั้งครูก็ยังถูกแกล้ง การบ้าน
หรืองานต่าง ๆ ก็ไม่เคยส่ง ถูกเรียกไปพบครูฝ่ายปกครองบ่อยครั้งแต่พฤติกรรมยังไม่เปลี่ยนแปลง จนเป็นที่
หนักใจของครูทุกคน เด็กกลุ่มนี้ถึงแม้จะดื้อแต่ก็ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และทุกคนยังเป็นนักกีฬาของโรงเรียน
อีกด้วย
• ครูใหญ่ได้ยินกิตติศัพท์ของนักเรียนกลุ่มนี้ จึงหาทางแก้ไขโดยการลงโทษ ด้วยการว่ากล่าวตักเตือนเมื่อ
นักเรียนกลุ่มนี้แสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและครูใหญ่จะให้นายบอยพาเพื่อนไปบาเพ็ญประโยชน์ต่อโรงเรียน
เช่น ปลูกต้นไม้ เก็บเศษกระดาษ เป็นต้น เมื่อถึงเวลาประกอบกิจกรรมหน้าเสาธง ครูใหญ่ก็จะกล่าวชมเชยต่อ
หน้าครู และเพื่อน ๆ หรือบางทีก็จะให้รางวัล เพื่อเป็นการประกาศความดี ไม่นานพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก
กลุ่มนี้ก็หายไป
LOGOหลักการที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
• ทฤษฎีที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหานี้คือ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา
(Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) ซึ่งมีหลักการคือ การ
กระทาใดๆถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่ทาให้เกิดการกระทานั้นอีก ส่วนการกระทาใดที่ไม่มี
การเสริมแรงย่อมมีแนวโน้มที่จะทาให้ความถี่ของการกระทานั้น ค่อยๆหายไปและหายไปในที่สุด ซึ่ง
แนวคิดนี้จะสอดคล้องกับแนวคิดของธอร์นไดค์
LOGOขอบข่ายของทฤษฎีที่นามาแก้ไขสถานการณ์
• จากสถานการณ์ที่กาหนดให้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา
(Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) เพราะครูมีความ
ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนกลุ่มนี้ มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ลง และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ที่เพิ่มขึ้นนั้นจะต้องคงทน ซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการเสริมแรงตาม
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิด
ของสกินเนอร์ (Skinner) ที่จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าได้รับการเสริมแรงก็จะทาให้
เกิดพฤติกรรมนั้นซ้าอีก
LOGOหลักในทฤษฎีที่มาใช้แก้ปัญหา
• ใช้หลักในทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของส
กินเนอร์ (Skinner) มาแก้ปัญหา
• ยกตัวอย่าง
 ครูใหญ่ต้องมีการเสริมแรงทางบวกให้กับกลุ่มนักเรียน 6 คน เพื่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมที่คงทนและอาจให้
แรงเสริม คือ เมื่อผู้เรียนทาตามกติกาในชั้นเรียน เช่น ถ้านักเรียนกลุ่มนี้ทางานส่งทันเวลา จะปล่อยให้ออกไป
เล่นหรือพักผ่อนก่อนเวลา โดยให้แรงเสริมอย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จากนั้นค่อย
ให้แรงเสริมเป็นครั้งคราว และครูใหญ่ต้องไม่ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาออกมา เช่น
ไม่ทากติกาที่ตกลงไว้ หรือ ถ้าผู้เรียนยังไม่เกิดพฤติกรรมที่น่าพอใจครูใหญ่อาจ ให้แรงเสริมเพื่อให้เกิด
พฤติกรรมที่นักเรียนทาได้ใกล้เคียงได้ เช่น กิจกรรมมี 10 ข้อ ปกติผู้เรียนกลุ่มนี้จะไม่ทาเลย ครูใหญ่อาจ
กาหนดให้กรณีพิเศษ ถ้าทาได้อย่างน้อย 5 ข้อจาก10 ข้อจะได้รับแรงเสริม เป็นคะแนนพิเศษสะสม ถ้าทาได้เต็ม
จานวนก็จะยิ่งได้คะแนนสะสมเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเพราะ ตนเองมีสิทธิ์ทากิจกรรมน้อยกว่า
เพื่อน แต่มีโอกาส สะสมคะแนนได้ เมื่อผู้เรียนเริ่มมีการปรับพฤติกรรมได้ ครูใหญ่จึงค่อยๆลดการชี้แนะลง และ
ลดแรงเสริมดังกล่าวลง เมื่อผู้เรียนกระทาได้แล้วและผู้เรียนเริ่มแสดงว่ามีความพอใจในการส่งงานหรือทา
กิจกรรมตามกติกาข้อตกลง ซึ่งเป็นแรงเสริมด้วยตนเองจากการทางานนั้นได้
LOGOสถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด
• ในชั่วโมงเรียนวิชา ก.พ.อ. ของนักเรียนชั้น ป.3 ครูต้องการสอนเรื่องการทาความสะอาดบ้านเรือน จึงให้นักเรียนไปทา
ความสะอาดห้องพักครูสัปดาห์ละครั้งโดยที่ครูไม่ได้บอกวิธีการ แต่ครูมีเงื่อนไขว่าจะให้คะแนนเมื่อนักเรียนทาความ
สะอาดห้องได้สะอาดและทันเวลาที่กาหนด พบว่า
• ครั้งแรก นักเรียนต่างคนต่างปัดกวาด เช็ดถู ไปตามเรื่องและแต่ใครจะทาอะไร ปรากฎว่ายังไม่ค่อยสะอาด และใช้เวลา
มากทั้งยังอลหม่าน ฝุ่นฟุ้งกระจายไปหมด ในระหว่างที่นักเรียนกาลังทาความสะอาดอยู่นั้น ครูก็คอยสังเกตพฤติกรรม
ของนักเรียนปรากฎว่า นักเรียนต่างคนต่างทา ในขณะที่คนหนึ่งกาลังปัดหยากไย่บนเพดานอยู่ นักเรียนอีกกลุ่มถูพื้น
ไปพร้อมๆ ทาให้ไม่สะอาดสักที
• ครั้งที่สอง จากที่นักเรียนได้ลองทาในครั้งแรก ปรากฎว่าไม่สะอาดและไม่ทันเวลาตามที่กาหนด ในครั้งนี้นักเรียนเริ่มมี
การตกลงกัน ว่า ลองเปลี่ยนวิธีทาความสะอาดใหม่ โดยมีการแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ และมีการลาดับขั้นตอนการ
ทางานโดยเริ่มปัดฝุ่นจากเพดานก่อน แล้วจึงทาความสะอาดพื้นห้อง ผลปรากฏว่า นักเรียนสามารถทาความสะอาด
ห้องได้เร็วขึ้น และสะอาดเรียบร้อยกว่าเดิม
• ครั้งที่สาม นักเรียนพึงพอใจกับผลงานที่ทาในครั้งที่ 2 ครั้งต่อๆมา นักเรียนก็เลือกวิธีดังกล่าว แต่ในครั้งนี้ผลปรากฏ
ว่า ทาได้รวดเร็วและสะอาดกว่าเดิม นอกจากนี้แล้วเมื่อได้รับมอบหมายจากครูให้ทาความสะอาดสถานที่อื่นๆ นักเรียน
ก็สามารถทาได้เป็นอย่างดี
LOGOสถานการณ์อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใด
• สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant
Conditioning Theory) ตามแนวคิดของธอร์นไดค์ (Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยน
ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้
แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและจะพยายามใช้รูปแบบนั้น
เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก การทาความสะอาดรอบแรกของ
นักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทาความสะอาดห้องเรียนนั้นไม่สะอาด และครั้งที่สอง
นักเรียนมีการวางแผงทาข้อตกลงจนห้องเรียนนั้นสะอาด และครั้งที่สามนักเรียนสามารถทาความ
สะอาดได้เรียบร้อยและทันเวลาที่กาหนด
LOGOข้อดีและข้อจากัดของทฤษฎีที่นามาใช้
• ข้อดี
 นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนาปัญหาที่ได้จากการพบเจอหรือ
ประสบมาแก้ไขปัญหาในครั้งต่อๆไป และสามารถปรับปรุงวิธีการให้ดีขึ้นกว่าเดิม
• ข้อจากัด
 การเรียนรู้ใช้เวลานาน เนื่องจากไม่มีการวางแผนการแก้ปัญหา เมื่อลองผิดลองถูกไปเรื่อยๆแต่ไม่
เจอวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง ทาให้เสียเวลา
LOGOสถานการณ์ที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซ้า
• ผมชื่อ บุญชู เป็นครูสอนวิชาคณิตศาสตร์ ผมมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนักเรียนของผม คือ ห้องที่ผม
รับผิดชอบนั้นเป็นห้องที่เรียกได้ว่า สอนยากที่สุด นักเรียนมีปัญหาทุกรูปแบบ เป็นเด็กที่หัวช้าเรียน
อ่อนเกือบจะทุกวิชา โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ของผมยิ่งแล้วใหญ่ บางคนติด 0 ตั้งแต่ ชั้น ม.1จนถึง
ม.3 ยังแก้ไม่ครบ
• พฤติกรรมของเด็กกลุ่มนี้ในชั้นเรียนก็ไม่ค่อยตั้งใจเรียน เวลาสงสัยก็ไม่กล้าถามครู แม้แต่เพื่อนที่เรียน
ด้วยกันก็ไม่กล้าถาม เพราะกลัวเพื่อนว่า กลัวเสียหน้า กลัวว่าครูจะไม่พอใจ จากปัญหาการเรียนอ่อน
ดังกล่าวของเด็กทาให้ตัวผมเองต้องสอนซ้าๆ หลายๆ ครั้ง จนบางครั้งก็รู้สึกหงุดหงิดเหมือนกัน
LOGOหลักการจัดการเรียนรู้ที่นามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ
• ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุมาจาก
อะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้นเกิดขึ้น
ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทาการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและ
รับฟังความคิดเห็นของเขา คอยแนะนาในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกาหนดจุดมุ่งหมายใน
การเรียนให้ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆ ให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไป
หายาก นอกจากนี้ครูจะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัด
ประสบการณ์เนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทาได้ดีและพอใจ
ในความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดย
วิธีการลงโทษ ซึ่งอาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อ
การเรียน
LOGOความเหมาะสม ข้อดีและข้อจากัดของทฤษฎีที่นามาใช้
• มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในยุคปฏิรูปการศึกษา
เนื่องจากการเรียนรู้แบบนี้จะคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์
การตอบสนองที่ไม่เท่ากัน คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร
• ข้อดี
 สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้ และมีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการจูงใจให้
ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป
• ข้อจากัด
 เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละคนอาจส่งผลต่อ
พฤติกรรมที่แสดงออกไม่เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้
Thank You !!!

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560KiiKz Krittiya
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 

Viewers also liked

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ping1393
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟping1393
 
สกินเนอร์
สกินเนอร์สกินเนอร์
สกินเนอร์ping1393
 
Theories of Motivation
Theories of MotivationTheories of Motivation
Theories of Motivationmasumi kadali
 

Viewers also liked (8)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
สกินเนอร์
สกินเนอร์สกินเนอร์
สกินเนอร์
 
Theories of Motivation
Theories of MotivationTheories of Motivation
Theories of Motivation
 

More from Nisachol Poljorhor

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 

More from Nisachol Poljorhor (11)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologies
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน

  • 1. Problem base ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม พฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3 2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8 3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
  • 2. LOGOสถานการณ์ที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม • นายปอยฝ้าย เป็นเด็กหนุ่มคนหนึ่งที่ต้องการทางานหลังจากที่ตนเองได้จบการศึกษา แต่ไปสมัครงาน ที่ไหนใครเขาก็ไม่รับเข้าไปทางานสักที่ อยู่มาวันหนึ่ง นายปอยฝ้าย เดินไปเห็นประกาศรับสมัคร พนักงานในฟาร์มไก่ซีพี ด้วยความที่ต้องการหาเงินอยู่แล้ว • นายปอยฝ้าย จึงตัดสินใจสมัครเข้าทางานนี้ ผู้จัดการก็มีความยินดีที่จะรับนายปอยฝ้ายเข้าเป็น พนักงาน และมอบหมายงานให้ ทาหน้าที่ในการให้อาหารไก่ในฟาร์ม นายปอยฝ้ายมีภาระกิจที่ต้อง ทาหลายอย่าง นอกจากให้อาหารไก่แล้วยังต้องทาความสะอาดโรงเลี้ยง อีกทั้งจานวนไก่มีมากแต่มี คนงานน้อย • ดังนั้น นายปอยฝ้าย จึงคิดหาวิธีที่ฝึกนิสัยการกินอาหารไก่ในเวลาที่ กาหนดโดยกระตุ้นให้ไก่รู้สึกหิว เมื่อได้ยินเสียงเคาะไม้ไผ่จากคนงาน ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการดูแลไก่ที่มีมาก
  • 4. LOGOหลักการที่เลือกและนามาใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ • ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ตามแนวคิดของ พาฟลอฟ (Pavlov) มีหลักการคือ การเรียนรู้ = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข • จะนาหลักการดังกล่าวมาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ คือ การให้เงื่อนไขคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อให้ไก่มี พฤติกรรมตอบสนองที่ต้องการคือให้ไก่มากินอาหารโดยที่ปอบฝ้ายไม่ต้องมาให้อาหารด้วยตนเอง แต่สามารถให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เพื่อเป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงเคาะไม้ ไผ่ ไก่ก็จะมากินอาหาร
  • 5. LOGOข้อดีและข้อเสียของการเลือกใช้หลักการตามแนวคิดของพาฟลอฟ • ข้อดี  ไก่มีพฤติกรรมตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ คือ เมื่อเวลาที่ไก่ได้ยินเสียง เคาะไม้ไผ่ ไก่ก็จะมากินอาหาร โดยที่ปอยฝ้ายไม่ต้องเป็นผู้ให้อาหารด้วยตนเองแต่ให้คนงานคน อื่นเป็นผู้เคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณให้อาหารไก่ • ข้อเสีย  เมื่อมีการเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้งแต่ไม่ได้ให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดการตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ และไม่สนใจเสียงเคาะอีก ในที่สุดวิธีนี้ก็ใช้ไม่ได้ผล
  • 6. LOGOขั้นตอนการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ 1. ทดลองเคาะไม้ไผ่เพื่อให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นคือไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว 2. ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นคือไก่จะมากินอาหาร 3. ต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่และให้อาหารไก่พร้อมกัน ผลที่เกิดขึ้นคือไก่มากินอาหารทันที 4. ทาซ้าในขั้นตอนที่ 3 ซ้าๆกันหลายๆวัน 5. ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงเคาะไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียงสัญญาณทันที ปอย ฝ้ายจึงไม่ต้องมาให้อาหารด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจมาก แต่สามารถให้คนงานคนอื่นมาเคาะไม้ไผ่ เพื่อเรียกให้ไก่มากินอาหารแทนได้
  • 7. LOGOสถานการณ์ที่ 2 น้องหนูขี้กลัว • ลูกของผมตอนนี้กาลังเรียนอยู่ชั้น ป.1 ในโรงเรียนประถมแห่งหนึ่ง (ขอสงวนนาม) โรงเรียนอยู่ห่าง จากบ้านไม่ไกลนัก เป็นโรงเรียนที่ผมเคยเรียนสมัยเป็นเด็ก ดังนั้นผมจึงสนิทกับครูทุกคนในโรงเรียน • ตอนนี้ผมประสบปัญหาเกี่ยวกับตัวของลูกผมอย่างมาก คือ แกกลัวการไปโรงเรียน พอถึงเวลาที่จะไป โรงเรียนก็ร้องไห้งอแง ไม่ยอมไปโรงเรียน บางทีก็หนีกลับมาก่อนที่โรงเรียนจะเลิกในบางครั้งผมก็ ต้องคอยปลอบหรือไปอยู่ที่โรงเรียนให้แกเห็นถึงจะยอมเรียนโดยดี แต่จะให้ผมไปเฝ้าอยู่ที่โรงเรียนทุก ครั้ง ไม่ได้หรอกนะครับเพราะผมก็ต้องทางานเหมือนกัน • ปัญหานี้ผมก็เคยปรึกษากับอาจารย์ประจาชั้นอยู่เหมือนกันแต่ยังหาทางแก้ไม่ได้ ท่านที่เคยมี ประสบการณ์ กรุณาช่วยให้คาแนะนาด้วยนะครับ
  • 9. LOGOทฤษฎีที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาและหลักการของทฤษฎี • ทฤษฎีที่นามาใช้ในการแก้ปัญหานี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ตามแนวคิดของวัตสัน (Watson) ซึ่งมีหลักการดังนี้  การให้สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดการกลัว • เด็กจะกลัวเสียงดัง แต่ไม่กลัวสัตว์เช่นหนูขาว วัตสันได้ทาการทดลองกับเด็ก คือ เมื่อเด็กจะ เล่นกับหนูขาว วัตสันก็จะเคาะแผ่นเหล็กเพื่อให้เกิดเสียงดัง โดยทาเช่นนี้อยู่ 7 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ผลคือเมื่อเด็กแค่เห็นหนูขาวก็จะเกิดอาการกลัว  การให้สิ่งเร้าที่แก้อาการกลัว • วัตสันให้แม่ของเด็กอุ้มเด็กไว้ในขณะที่นาหนูขาวมาให้เด็กจับ ตอนแรกเด็กจะร้องไห้เพราะ กลัว แต่หลังจากที่แม่ปลอบว่าไม่มีอะไรน่ากลัว พร้อมกับจับมือเด็กไปลูบตัวหนูขาว จนกระทั่งเด็กเลิกกลัวหนูขาวและสามารถเอามือแตะหนูขาวได้
  • 10. LOGOเหตุผลในการเลือกใช้ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมในการแก้ปัญหา • เพราะทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ตาม แนวคิดของวัตสัน (Watson) นั้นมีการทดลองกับมนุษย์โดยตรงและเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความกลัว โดยตรง จึงสามารถนาหลักการจากการทดลองดังกล่าวไปปรับใช้ในการหาวิธีการแก้ปัญหาอาการ กลัวการไปโรงเรียนในสถานการณ์นี้ได้
  • 11. LOGOหลักการที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ 1) หาสาเหตุที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้ว่าเป็นเพราะอะไร • เมื่อทราบสาเหตุแล้ว เช่น เด็กไม่ชอบไปโรงเรียนเพราะไปแล้วเพื่อนล้อ ครูดุว่าเสียงดัง หรือ เพื่อนแกล้ง เป็นต้น ให้ผู้ปกครองให้คาแนะนา พูดปลอบ หรือให้กาลังใจกับเด็ก พร้อมกับ แนะนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลดการแสดงพฤติกรรมดังกล่าวลง แล้วพาเด็กมาโรงเรียนตามปกติ 2) เพิ่มความสนใจ ข้อดีของการไปโรงเรียน เพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียนและเลิกกลัวการไปโรงเรียน • เช่น ผู้ปกครองไปส่งที่โรงเรียน หรือ ไปโรงเรียนพร้อมกับเพื่อนที่สนิทด้วย หรือ ครูพาทา กิจกรรมที่สนุกสนานในโรงเรียน เป็นต้น
  • 12. LOGOสถานการณ์ที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่ • สถานการณ์นี้เกิดขึ้น ณ ห้องเรียนแห่งหนึ่ง ซึ่งครูประจาชั้นเป็นคนเล่าให้ผมฟังเอง ว่า ในห้องเรียนนี้มี นักเรียนอยู่ 40 คน แต่จะมีเด็กกลุ่มหนึ่งที่ ไม่สนใจการเรียน คอยแต่แกล้งเพื่อน ชอบทาตัวเป็นอันธพาล นักเรียนกลุ่มนี้มีด้วยกันทั้งหมด 6 คน แต่ละคนล้วนแต่เด็ดๆ ทั้งนั้น มีหัวโจกคือ นายบอย ซึ่งเป็นหัวหน้า กลุ่ม • ทุกวันนักเรียนกลุ่มนี้จะชอบจับกลุ่มกันแล้วหาเรื่องก่อกวนเพื่อนๆ แม้แต่บางครั้งครูก็ยังถูกแกล้ง การบ้าน หรืองานต่าง ๆ ก็ไม่เคยส่ง ถูกเรียกไปพบครูฝ่ายปกครองบ่อยครั้งแต่พฤติกรรมยังไม่เปลี่ยนแปลง จนเป็นที่ หนักใจของครูทุกคน เด็กกลุ่มนี้ถึงแม้จะดื้อแต่ก็ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และทุกคนยังเป็นนักกีฬาของโรงเรียน อีกด้วย • ครูใหญ่ได้ยินกิตติศัพท์ของนักเรียนกลุ่มนี้ จึงหาทางแก้ไขโดยการลงโทษ ด้วยการว่ากล่าวตักเตือนเมื่อ นักเรียนกลุ่มนี้แสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและครูใหญ่จะให้นายบอยพาเพื่อนไปบาเพ็ญประโยชน์ต่อโรงเรียน เช่น ปลูกต้นไม้ เก็บเศษกระดาษ เป็นต้น เมื่อถึงเวลาประกอบกิจกรรมหน้าเสาธง ครูใหญ่ก็จะกล่าวชมเชยต่อ หน้าครู และเพื่อน ๆ หรือบางทีก็จะให้รางวัล เพื่อเป็นการประกาศความดี ไม่นานพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก กลุ่มนี้ก็หายไป
  • 13. LOGOหลักการที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา • ทฤษฎีที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหานี้คือ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) ซึ่งมีหลักการคือ การ กระทาใดๆถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่ทาให้เกิดการกระทานั้นอีก ส่วนการกระทาใดที่ไม่มี การเสริมแรงย่อมมีแนวโน้มที่จะทาให้ความถี่ของการกระทานั้น ค่อยๆหายไปและหายไปในที่สุด ซึ่ง แนวคิดนี้จะสอดคล้องกับแนวคิดของธอร์นไดค์
  • 14. LOGOขอบข่ายของทฤษฎีที่นามาแก้ไขสถานการณ์ • จากสถานการณ์ที่กาหนดให้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) เพราะครูมีความ ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนกลุ่มนี้ มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ลง และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ที่เพิ่มขึ้นนั้นจะต้องคงทน ซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการเสริมแรงตาม ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิด ของสกินเนอร์ (Skinner) ที่จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าได้รับการเสริมแรงก็จะทาให้ เกิดพฤติกรรมนั้นซ้าอีก
  • 15. LOGOหลักในทฤษฎีที่มาใช้แก้ปัญหา • ใช้หลักในทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของส กินเนอร์ (Skinner) มาแก้ปัญหา • ยกตัวอย่าง  ครูใหญ่ต้องมีการเสริมแรงทางบวกให้กับกลุ่มนักเรียน 6 คน เพื่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมที่คงทนและอาจให้ แรงเสริม คือ เมื่อผู้เรียนทาตามกติกาในชั้นเรียน เช่น ถ้านักเรียนกลุ่มนี้ทางานส่งทันเวลา จะปล่อยให้ออกไป เล่นหรือพักผ่อนก่อนเวลา โดยให้แรงเสริมอย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จากนั้นค่อย ให้แรงเสริมเป็นครั้งคราว และครูใหญ่ต้องไม่ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาออกมา เช่น ไม่ทากติกาที่ตกลงไว้ หรือ ถ้าผู้เรียนยังไม่เกิดพฤติกรรมที่น่าพอใจครูใหญ่อาจ ให้แรงเสริมเพื่อให้เกิด พฤติกรรมที่นักเรียนทาได้ใกล้เคียงได้ เช่น กิจกรรมมี 10 ข้อ ปกติผู้เรียนกลุ่มนี้จะไม่ทาเลย ครูใหญ่อาจ กาหนดให้กรณีพิเศษ ถ้าทาได้อย่างน้อย 5 ข้อจาก10 ข้อจะได้รับแรงเสริม เป็นคะแนนพิเศษสะสม ถ้าทาได้เต็ม จานวนก็จะยิ่งได้คะแนนสะสมเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเพราะ ตนเองมีสิทธิ์ทากิจกรรมน้อยกว่า เพื่อน แต่มีโอกาส สะสมคะแนนได้ เมื่อผู้เรียนเริ่มมีการปรับพฤติกรรมได้ ครูใหญ่จึงค่อยๆลดการชี้แนะลง และ ลดแรงเสริมดังกล่าวลง เมื่อผู้เรียนกระทาได้แล้วและผู้เรียนเริ่มแสดงว่ามีความพอใจในการส่งงานหรือทา กิจกรรมตามกติกาข้อตกลง ซึ่งเป็นแรงเสริมด้วยตนเองจากการทางานนั้นได้
  • 16. LOGOสถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด • ในชั่วโมงเรียนวิชา ก.พ.อ. ของนักเรียนชั้น ป.3 ครูต้องการสอนเรื่องการทาความสะอาดบ้านเรือน จึงให้นักเรียนไปทา ความสะอาดห้องพักครูสัปดาห์ละครั้งโดยที่ครูไม่ได้บอกวิธีการ แต่ครูมีเงื่อนไขว่าจะให้คะแนนเมื่อนักเรียนทาความ สะอาดห้องได้สะอาดและทันเวลาที่กาหนด พบว่า • ครั้งแรก นักเรียนต่างคนต่างปัดกวาด เช็ดถู ไปตามเรื่องและแต่ใครจะทาอะไร ปรากฎว่ายังไม่ค่อยสะอาด และใช้เวลา มากทั้งยังอลหม่าน ฝุ่นฟุ้งกระจายไปหมด ในระหว่างที่นักเรียนกาลังทาความสะอาดอยู่นั้น ครูก็คอยสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนปรากฎว่า นักเรียนต่างคนต่างทา ในขณะที่คนหนึ่งกาลังปัดหยากไย่บนเพดานอยู่ นักเรียนอีกกลุ่มถูพื้น ไปพร้อมๆ ทาให้ไม่สะอาดสักที • ครั้งที่สอง จากที่นักเรียนได้ลองทาในครั้งแรก ปรากฎว่าไม่สะอาดและไม่ทันเวลาตามที่กาหนด ในครั้งนี้นักเรียนเริ่มมี การตกลงกัน ว่า ลองเปลี่ยนวิธีทาความสะอาดใหม่ โดยมีการแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ และมีการลาดับขั้นตอนการ ทางานโดยเริ่มปัดฝุ่นจากเพดานก่อน แล้วจึงทาความสะอาดพื้นห้อง ผลปรากฏว่า นักเรียนสามารถทาความสะอาด ห้องได้เร็วขึ้น และสะอาดเรียบร้อยกว่าเดิม • ครั้งที่สาม นักเรียนพึงพอใจกับผลงานที่ทาในครั้งที่ 2 ครั้งต่อๆมา นักเรียนก็เลือกวิธีดังกล่าว แต่ในครั้งนี้ผลปรากฏ ว่า ทาได้รวดเร็วและสะอาดกว่าเดิม นอกจากนี้แล้วเมื่อได้รับมอบหมายจากครูให้ทาความสะอาดสถานที่อื่นๆ นักเรียน ก็สามารถทาได้เป็นอย่างดี
  • 17. LOGOสถานการณ์อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใด • สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning Theory) ตามแนวคิดของธอร์นไดค์ (Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยน ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้ แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและจะพยายามใช้รูปแบบนั้น เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก การทาความสะอาดรอบแรกของ นักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทาความสะอาดห้องเรียนนั้นไม่สะอาด และครั้งที่สอง นักเรียนมีการวางแผงทาข้อตกลงจนห้องเรียนนั้นสะอาด และครั้งที่สามนักเรียนสามารถทาความ สะอาดได้เรียบร้อยและทันเวลาที่กาหนด
  • 18. LOGOข้อดีและข้อจากัดของทฤษฎีที่นามาใช้ • ข้อดี  นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนาปัญหาที่ได้จากการพบเจอหรือ ประสบมาแก้ไขปัญหาในครั้งต่อๆไป และสามารถปรับปรุงวิธีการให้ดีขึ้นกว่าเดิม • ข้อจากัด  การเรียนรู้ใช้เวลานาน เนื่องจากไม่มีการวางแผนการแก้ปัญหา เมื่อลองผิดลองถูกไปเรื่อยๆแต่ไม่ เจอวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง ทาให้เสียเวลา
  • 19. LOGOสถานการณ์ที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซ้า • ผมชื่อ บุญชู เป็นครูสอนวิชาคณิตศาสตร์ ผมมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนักเรียนของผม คือ ห้องที่ผม รับผิดชอบนั้นเป็นห้องที่เรียกได้ว่า สอนยากที่สุด นักเรียนมีปัญหาทุกรูปแบบ เป็นเด็กที่หัวช้าเรียน อ่อนเกือบจะทุกวิชา โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ของผมยิ่งแล้วใหญ่ บางคนติด 0 ตั้งแต่ ชั้น ม.1จนถึง ม.3 ยังแก้ไม่ครบ • พฤติกรรมของเด็กกลุ่มนี้ในชั้นเรียนก็ไม่ค่อยตั้งใจเรียน เวลาสงสัยก็ไม่กล้าถามครู แม้แต่เพื่อนที่เรียน ด้วยกันก็ไม่กล้าถาม เพราะกลัวเพื่อนว่า กลัวเสียหน้า กลัวว่าครูจะไม่พอใจ จากปัญหาการเรียนอ่อน ดังกล่าวของเด็กทาให้ตัวผมเองต้องสอนซ้าๆ หลายๆ ครั้ง จนบางครั้งก็รู้สึกหงุดหงิดเหมือนกัน
  • 20. LOGOหลักการจัดการเรียนรู้ที่นามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ • ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุมาจาก อะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้นเกิดขึ้น ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทาการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและ รับฟังความคิดเห็นของเขา คอยแนะนาในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกาหนดจุดมุ่งหมายใน การเรียนให้ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆ ให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไป หายาก นอกจากนี้ครูจะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัด ประสบการณ์เนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทาได้ดีและพอใจ ในความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดย วิธีการลงโทษ ซึ่งอาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อ การเรียน
  • 21. LOGOความเหมาะสม ข้อดีและข้อจากัดของทฤษฎีที่นามาใช้ • มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในยุคปฏิรูปการศึกษา เนื่องจากการเรียนรู้แบบนี้จะคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ การตอบสนองที่ไม่เท่ากัน คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร • ข้อดี  สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้ และมีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการจูงใจให้ ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป • ข้อจากัด  เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละคนอาจส่งผลต่อ พฤติกรรมที่แสดงออกไม่เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้