SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
สมาชิกในกลุ่ม 
นางสาวกมลพร นาคเหนือ 563050521-4 
นางสาวณัยญารักษ์ พันเทศ 563050529-8 
นางสาวธัญลักษณ์ ทุมพิลา 563050532-9 
นางสาวศรัญญา พันธโคตร 563050543-4
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
สมมติว่าในขณะนีคุ้ณเป็นนักศึกษาฝึกสอนโดยทาการสอนที่โรงเรียนสาระวิทยาหลังจาก 
ที่คุณสอนมาได้ระยะหนึ่งแล้ว คุณก็สังเกตเห็นว่านักเรียนมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ 
ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่านหนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความ 
เข้าใจเนือ้หาจากการอ่านหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย 
ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สงิ่แปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตาตื่น 
ใจและท้าทายความสามารถ เพราะยิ่งท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อกับสิ่งนัน้ 
มากและทาให้เกิดการเรียนรู้สงิ่เหล่านัน้ได้ดี 
ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้าไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือ 
ของจริง เวลาครูสอนในชัน้นึกภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทันเพื่อน 
ด.ญ. สะรีรัตน์เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษาจากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร 
เพราะในเวลาเรียนเขาจะตัง้ใจฟังครูอธิบายเนือ้หา ทาความเข้าใจและพยายามจับ 
ประเด็นที่สาคัญให้ได้ในขณะที่เรียน เช่น กระบวนการในการแก้โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจ 
ตอนนัน้ โดยไม่ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก เป็นต้น
นักศึกษาจะนาความรู้เรื่องสื่อการสอน ไปใช้ในการจดั 
การเรียนรู้อย่างไร เพื่อสนับสนุนวิธีการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ 
ของนักเรียนแต่ละคนให้มีประสิทธิภาพโดยสื่อที่นามาใช้นั้นต้อง 
สนองตอบต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 
โดยให้นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองด้วย
นาความรู้สื่อการสอนไปใช้กับนักเรียนแต่ละคนดังนี้ 
ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน 
ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่าน 
หนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความ 
เข้าใจเนือ้หาจากการอ่านหนังสือ หรือ 
เอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย 
ควรใช้สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีสื่อ 
สองประเภทนีจ้ะทาให้ผู้ชอบอ่านหนังสือ 
อยู่แล้วได้ทาความเข้าใจในเนือ้หา ซงึ่ 
เหมาะสมกับ ด.ญ. ปนัดดา ที่ชอบอ่าน 
หนังสือและทาความเข้าใจเอง
ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน 
ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สิ่ง 
แปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตา 
ตื่นใจและท้าทายความสามารถ เพราะยิ่ง 
ท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อ 
กับสงิ่นัน้มากและทาให้เกิดการเรียนรู้สิ่ง 
เหล่านัน้ได้ดี 
ควรใช้สื่อที่เป็นกระบวนการกิจกรรมและ 
สื่ออุปกรณ์ ซึ่งสื่อสองสิ่งนี้จะมีการสร้าง 
สถานการณ์และมีอุปการณ์ประกอบการ 
ทดลอง และสื่อที่จะนามาเสริมคือ วีดี 
ทัศน์แนะนาการทดลอง เพราะจะทาให้ 
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 
สิ่งนัน้
ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน 
ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้า 
ไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือของ 
จริง เวลาครูสอนในชัน้นึกภาพตามไม่ทัน 
ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทัน 
เพื่อน 
ควรใช้สื่อเทคโนโลยีเพราะสื่อเทคโนโลยี เป็น 
สื่อที่นาศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและ 
การสื่อสารเข้ามาใช้ในการนาเสนอเนือ้หา 
บทเรียน เช่น แถบบันทึกภาพ วีดีทัศน์ เทปเสียง 
สไลด์ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย สื่อบนเครือข่าย 
อินเตอร์เน็ต การศึกษาผ่านดาวเทียม 
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยสื่อสื่อ 
เทคโนโลยีผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์และสร้าง 
การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน 
ด.ญ. สะรีรัตน์เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษา 
จากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร 
เพราะในเวลาเรียนเขาจะตัง้ใจฟังครู 
อธิบายเนือ้หา ทาความเข้าใจและ 
พยายามจับประเด็นที่สาคัญให้ได้ใน 
ขณะที่เรียน เช่น กระบวนการในการแก้ 
โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจตอนนัน้ โดยไม่ 
ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก 
ควรใช้สื่อบุคคลและสื่อกิจกรรมและ 
กระบวนการ เพราะ ด.ญ.สะรีรัตน์ชอบจับ 
ประเด็นและสรุปเนือ้หาทาความเข้าใน 
เวลานัน้ตอนที่ครูกาลังอธิบาย เพื่อไม่ต้อง 
กลับไปอ่านหนังสืออีกรอบแต่การเรียนรู้ 
เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องใช้ 
กิจกรรมมาส่งเสริม เพื่อให้ผู้เรียนได้คิด 
วิเคราะห์ สังเคราะะห์และทักษะ 
ความคิดเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างลึกซึง้
ในปัจจุบันนี้จะพบคาว่า "สื่อการสอน" กับคา ว่า "สื่อการเรียนรู้" 
ในฐานะที่นักศึกษาจะก้าวออกไปเป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ 
ให้อธิบายว่า สองคานี้เหมือนหรือมีความแตกต่างกันอย่างไร
คาว่า "สื่อการสอน" กับคาว่า "สื่อการเรียนรู้" มีทั้งความเหมือนและความต่างกัน 
ประเด็น สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้ 
ลักษณะ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี 
สารสนเทศ วิธีการ 
วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี สารสนเทศ 
วิธีการ 
บทบาทของกาเรียนรู้มุ่งเน้นการถ่ายทอดเนื้อหา 
ความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน 
มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ 
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 
การออกแบบ บรรจุเนื้อหา ความ รู้ และ 
ทักษะ รวมท้งัประสบการณ์ 
ส่งเสริมการคิด การแสร้าง 
ความรู้และการแก้ปัญหา
-สื่อการสอน คือ วัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ผู้สอนนามาใช้ 
ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
- สื่อการเรียนรู้ คือ ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่ช่วยให้ผู้เรียน 
เกิดการเรียนรู้เช่นคน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ รวมถึงเหตุการณ์ หรือ 
แนวความคิด โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการค้นคว้า หรือ การแสวงหาความรู้ 
ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ของท่าน
ในการที่จะออกแบบสื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสาระการ 
เรียนรู้ อันดับแรกที่ต้องทา คือวิเคราะห์วัตถุประสงค์ เนื้อหา 
จากนั้นคือการออกแบบโดยการเน้นผู้เรียนให้เป็นศูนย์กลางการ 
เรียนรู้ เพื่อที่จะได้สอดคล้อง และออกแบบสื่อได้มีประสิทธิภาพ 
มากที่สุด
วิเคราะห์ 
วัตถุประสงค์การ 
เรียนรู้ 
ออกแบบสื่อการเรียนรู้ 
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
จัดการการเรียนรู้โดย 
ใช้สื่อที่ออกแบบ
• วิเคราะห์เนื้อหา : ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร และการใช้ในชีวิตประจาวัน 
• การออกแบบสื่อการเรียนรู้ : เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเป็นศูนย์กลางของ 
การเรียนรู้ 
-จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สื่อสารโดยใช้คา ศัพท์ภาษาจีน และหลัก 
ไวยากรณ์ในแต่ละบทมาประยุกต์เป็นบทสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนกับเพื่อน 
รวมทั้งครูผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาจีน 
-ใช้เพลงจีนเพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียน ได้ค้นหาคา ศัพท์ที่ 
สาคัญในบทเพลง
- ใช้สื่อบุคคล หรือครูชาวจีน เพื่อนชาวจีน เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้และ 
ทักษะทางด้านการสื่อสารภาษาจีน และเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกัน 
และกัน 
- ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น เทปเสียง และวีดีโอเกี่ยวกับภาษาจีน ให้ผู้เรียนได้ศึกษา 
เพื่อความเข้าใจทางด้านภาษา และวัฒนธรรม 
- ใช้สื่อวัสดุ เช่น การ์ดคาศัพท์ ที่ประกอบไปด้วยภาพ คาศัพท์และตัวอย่าง 
ประโยค เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดเทคนิคการจา และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา

More Related Content

What's hot

Chapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มChapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มTa'Tatpong Nonyaso
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Wiparat Khangate
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1sinarack
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องBenjarat Meechalat
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556Pattraporn Budprom
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 

What's hot (16)

Chapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มChapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่ม
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556
นำเสนอประเมินมาตรฐาน 2556
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 

Viewers also liked

マリオシーケンサをポケミクに対応した
マリオシーケンサをポケミクに対応したマリオシーケンサをポケミクに対応した
マリオシーケンサをポケミクに対応したjingbay
 
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəb
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəbLənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəb
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəbSeadet Kazimova
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงThunyalak Thumphila
 
Business Opportunity
Business OpportunityBusiness Opportunity
Business OpportunitySiva Kumar
 
Smoking and diabetes
Smoking and diabetesSmoking and diabetes
Smoking and diabetesahmad mohd
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
Spiral Model in Software Engineering with Case Study
Spiral Model in Software Engineering with Case StudySpiral Model in Software Engineering with Case Study
Spiral Model in Software Engineering with Case StudySahil Bansal
 

Viewers also liked (12)

マリオシーケンサをポケミクに対応した
マリオシーケンサをポケミクに対応したマリオシーケンサをポケミクに対応した
マリオシーケンサをポケミクに対応した
 
wind energy
wind energywind energy
wind energy
 
wind energy
wind energywind energy
wind energy
 
Wind energy
Wind energyWind energy
Wind energy
 
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəb
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəbLənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəb
Lənkəran şəhər a.məhərrəmov adına 7 № li tam orta məktəb
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
 
Business Opportunity
Business OpportunityBusiness Opportunity
Business Opportunity
 
Smoking and diabetes
Smoking and diabetesSmoking and diabetes
Smoking and diabetes
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
Spiral Model in Software Engineering with Case Study
Spiral Model in Software Engineering with Case StudySpiral Model in Software Engineering with Case Study
Spiral Model in Software Engineering with Case Study
 
Thames-Water-Sewer-Info
Thames-Water-Sewer-InfoThames-Water-Sewer-Info
Thames-Water-Sewer-Info
 

Similar to สื่อการเรียนรู้

Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1pohn
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Jitthana_ss
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattakamon
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4Amu P Thaiying
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4Mod DW
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattakamon
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1Naparat Sriton
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 

Similar to สื่อการเรียนรู้ (20)

Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter4
Chapter4 Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 

More from Thunyalak Thumphila

mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 

More from Thunyalak Thumphila (9)

mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 

สื่อการเรียนรู้

  • 1.
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวกมลพร นาคเหนือ 563050521-4 นางสาวณัยญารักษ์ พันเทศ 563050529-8 นางสาวธัญลักษณ์ ทุมพิลา 563050532-9 นางสาวศรัญญา พันธโคตร 563050543-4
  • 3. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) สมมติว่าในขณะนีคุ้ณเป็นนักศึกษาฝึกสอนโดยทาการสอนที่โรงเรียนสาระวิทยาหลังจาก ที่คุณสอนมาได้ระยะหนึ่งแล้ว คุณก็สังเกตเห็นว่านักเรียนมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่านหนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความ เข้าใจเนือ้หาจากการอ่านหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สงิ่แปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตาตื่น ใจและท้าทายความสามารถ เพราะยิ่งท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อกับสิ่งนัน้ มากและทาให้เกิดการเรียนรู้สงิ่เหล่านัน้ได้ดี ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้าไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือ ของจริง เวลาครูสอนในชัน้นึกภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทันเพื่อน ด.ญ. สะรีรัตน์เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษาจากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร เพราะในเวลาเรียนเขาจะตัง้ใจฟังครูอธิบายเนือ้หา ทาความเข้าใจและพยายามจับ ประเด็นที่สาคัญให้ได้ในขณะที่เรียน เช่น กระบวนการในการแก้โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจ ตอนนัน้ โดยไม่ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก เป็นต้น
  • 4. นักศึกษาจะนาความรู้เรื่องสื่อการสอน ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้อย่างไร เพื่อสนับสนุนวิธีการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนแต่ละคนให้มีประสิทธิภาพโดยสื่อที่นามาใช้นั้นต้อง สนองตอบต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองด้วย
  • 5. นาความรู้สื่อการสอนไปใช้กับนักเรียนแต่ละคนดังนี้ ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่าน หนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความ เข้าใจเนือ้หาจากการอ่านหนังสือ หรือ เอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย ควรใช้สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีสื่อ สองประเภทนีจ้ะทาให้ผู้ชอบอ่านหนังสือ อยู่แล้วได้ทาความเข้าใจในเนือ้หา ซงึ่ เหมาะสมกับ ด.ญ. ปนัดดา ที่ชอบอ่าน หนังสือและทาความเข้าใจเอง
  • 6. ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สิ่ง แปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตา ตื่นใจและท้าทายความสามารถ เพราะยิ่ง ท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อ กับสงิ่นัน้มากและทาให้เกิดการเรียนรู้สิ่ง เหล่านัน้ได้ดี ควรใช้สื่อที่เป็นกระบวนการกิจกรรมและ สื่ออุปกรณ์ ซึ่งสื่อสองสิ่งนี้จะมีการสร้าง สถานการณ์และมีอุปการณ์ประกอบการ ทดลอง และสื่อที่จะนามาเสริมคือ วีดี ทัศน์แนะนาการทดลอง เพราะจะทาให้ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ สิ่งนัน้
  • 7. ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้า ไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือของ จริง เวลาครูสอนในชัน้นึกภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทัน เพื่อน ควรใช้สื่อเทคโนโลยีเพราะสื่อเทคโนโลยี เป็น สื่อที่นาศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเข้ามาใช้ในการนาเสนอเนือ้หา บทเรียน เช่น แถบบันทึกภาพ วีดีทัศน์ เทปเสียง สไลด์ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย สื่อบนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การศึกษาผ่านดาวเทียม กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยสื่อสื่อ เทคโนโลยีผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์และสร้าง การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
  • 8. ลักษณะการเรียนรู้สื่อที่นาไปใช้ในการสอน ด.ญ. สะรีรัตน์เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษา จากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร เพราะในเวลาเรียนเขาจะตัง้ใจฟังครู อธิบายเนือ้หา ทาความเข้าใจและ พยายามจับประเด็นที่สาคัญให้ได้ใน ขณะที่เรียน เช่น กระบวนการในการแก้ โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจตอนนัน้ โดยไม่ ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก ควรใช้สื่อบุคคลและสื่อกิจกรรมและ กระบวนการ เพราะ ด.ญ.สะรีรัตน์ชอบจับ ประเด็นและสรุปเนือ้หาทาความเข้าใน เวลานัน้ตอนที่ครูกาลังอธิบาย เพื่อไม่ต้อง กลับไปอ่านหนังสืออีกรอบแต่การเรียนรู้ เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องใช้ กิจกรรมมาส่งเสริม เพื่อให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะะห์และทักษะ ความคิดเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างลึกซึง้
  • 9. ในปัจจุบันนี้จะพบคาว่า "สื่อการสอน" กับคา ว่า "สื่อการเรียนรู้" ในฐานะที่นักศึกษาจะก้าวออกไปเป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ ให้อธิบายว่า สองคานี้เหมือนหรือมีความแตกต่างกันอย่างไร
  • 10. คาว่า "สื่อการสอน" กับคาว่า "สื่อการเรียนรู้" มีทั้งความเหมือนและความต่างกัน ประเด็น สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้ ลักษณะ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี สารสนเทศ วิธีการ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี สารสนเทศ วิธีการ บทบาทของกาเรียนรู้มุ่งเน้นการถ่ายทอดเนื้อหา ความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง การออกแบบ บรรจุเนื้อหา ความ รู้ และ ทักษะ รวมท้งัประสบการณ์ ส่งเสริมการคิด การแสร้าง ความรู้และการแก้ปัญหา
  • 11. -สื่อการสอน คือ วัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ผู้สอนนามาใช้ ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - สื่อการเรียนรู้ คือ ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่ช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้เช่นคน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ รวมถึงเหตุการณ์ หรือ แนวความคิด โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการค้นคว้า หรือ การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
  • 13. ในการที่จะออกแบบสื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสาระการ เรียนรู้ อันดับแรกที่ต้องทา คือวิเคราะห์วัตถุประสงค์ เนื้อหา จากนั้นคือการออกแบบโดยการเน้นผู้เรียนให้เป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ เพื่อที่จะได้สอดคล้อง และออกแบบสื่อได้มีประสิทธิภาพ มากที่สุด
  • 14. วิเคราะห์ วัตถุประสงค์การ เรียนรู้ ออกแบบสื่อการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการการเรียนรู้โดย ใช้สื่อที่ออกแบบ
  • 15. • วิเคราะห์เนื้อหา : ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร และการใช้ในชีวิตประจาวัน • การออกแบบสื่อการเรียนรู้ : เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเป็นศูนย์กลางของ การเรียนรู้ -จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สื่อสารโดยใช้คา ศัพท์ภาษาจีน และหลัก ไวยากรณ์ในแต่ละบทมาประยุกต์เป็นบทสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนกับเพื่อน รวมทั้งครูผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาจีน -ใช้เพลงจีนเพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียน ได้ค้นหาคา ศัพท์ที่ สาคัญในบทเพลง
  • 16. - ใช้สื่อบุคคล หรือครูชาวจีน เพื่อนชาวจีน เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้และ ทักษะทางด้านการสื่อสารภาษาจีน และเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกัน และกัน - ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น เทปเสียง และวีดีโอเกี่ยวกับภาษาจีน ให้ผู้เรียนได้ศึกษา เพื่อความเข้าใจทางด้านภาษา และวัฒนธรรม - ใช้สื่อวัสดุ เช่น การ์ดคาศัพท์ ที่ประกอบไปด้วยภาพ คาศัพท์และตัวอย่าง ประโยค เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดเทคนิคการจา และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา