SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
201701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND
INSTRUCTIONAL DESIGN
เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ
ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ อันจะ
เอื้ออานวยในด้านต่างๆ ดังนี้
 ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency)
 ด้านประสิทธิผล (Effectiveness)
 ประหยัด (Economy)
 ปลอดภัย (Safety)
ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการศึกษา หรือเทคโนโลยีการสอน (Instructional
Technology) หมายถึง ทฤษฎีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบ การ
พัฒนา การใช้ การจัดการ และการประเมินของกระบวนการ และแหล่งการ
เรียนเพื่อการเรียนรู้
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
 สาร (message)
 คน (people)
 วัสดุ (materials)
 เครื่องมือ (devices)
 เทคนิควิธีการ (techniques and setting)
แหล่งการเรียนรู้อาจจาแนกได้ดังนี้
เทคโนโลยีในการศึกษา คือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไปสู่กระบวนการที่
เกี่ยวข้องกับการดาเนินการในสถาบันที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตทางด้านการศึกษา ว่า
ด้วยการใช้ระบบทางเทคโนโลยีการศึกษามาประยุกต์เพื่อการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
ความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยีการศึกษา(Educational Technology)
กับเทคโนโลยีในการศึกษา (Technology in Education)
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจเป็นความคิด การ
กระทา หรือสิ่งประดิษฐ์ โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎีที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจน
เชื่อถือได้ เข้ามาใช้ในการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียนการ
สอน
นวัตกรรมการศึกษา
ลักษณะเด่นที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษา
 จะต้องเป็นสิ่งใหม่ หรือบางส่วนอาจเป็นของเก่าที่ใช้แล้วนามา
ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
 มีการศึกษาทดลอง โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็นระบบ
 มีการพิสูจน์ด้วยการทดลองหรือวิจัย
 ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งในระบบงานในปัจจุบัน หากว่าสิ่งใหม่นั้นได้มี
การเผยแพร่จนกลายจนเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้ว สิ่งนั้นไม่ถือ
เป็น นวัตกรรม แต่จะกลายเป็นเทคโนโลยี
รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษา เริ่มจากสมัยกรีก คาว่า Technologia หมายถึง การกระทา
อย่างเป็นระบบ หรืองานฝีมือ(Craft) โดยกลุ่ม “โซฟิสต์” (Sophist) ซึ่งแปลว่า “ผู้รู้” หรือ “ผู้ทรงภูมิ
ปัญญา” กลุ่มโซฟิสต์ส่วนใหญ่จะมีอาชีพเป็นครูรับจ้าง ทาหน้าที่สอนทักษะและความรู้ต่างๆ ให้กับเยาวชน
ของเอเธนส์ พวกเขาได้รับความเชื่อถือจากคนในสังคมเป็นอย่างมาก ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความ
ฉลาดปราดเปรื่องในเรื่องการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับขนานนามว่าเป็น นักเทคโนโลยี
การศึกษากลุ่มแรก
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
โซเครติส (Socretes) พลาโต (Plato) อริสโตเติล (Aritotle)
กลุ่มโซฟิสต์ประกอบด้วย
โจฮัน อะมอส คอมินิออุส
Johann Amoss Cominius (1592-1670) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุสิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพเข้ามาช่วยสอน
อย่างจริงจัง และได้แต่งหนังสือมากมายที่สาคัญคือ Obis Sensualium Pictus หรือเรียกว่า โลกในรูปภาพ
ซึ่งเป็นหนังสือที่มีรูปภาพประกอบบทเรียน
และได้รับขนานนามว่าเป็นบิดแห่งโสตทัศนศึกษา
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
พัฒนาทฤษฎีการเรียนรู้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
โดยเริ่มทดลองกับสัตว์ “อินทรีย์สร้างความสัมพันธ์
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) และการสนองตอบ
(Response)”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
ธอร์นไดค์ ( Edward L. Thorndike,1898 )
จำแนกวัตถุประสงค์ทำงกำรศึกษำ เป็น
ลำดับขั้นที่ชัดเจน (Taxonomy of
Educational Objectives)“
ใช้ทั่วไปในกลุ่มสาขาศึกษาศาสตร์จนถึง
ปัจจุบัน”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
เบนจามิน บลูม ( Benjamin Bloom,1956)
 แฟรงคลิน (Franklin
Bobbilt,1920-30)
พัฒนาการสอนรายบุคคล
“เป้าหมายของโรงเรียน ควรมา
จากพื้นฐานการวิเคราะห์ทักษะที่จาเป็น
สาหรับชีวิตที่ประสบความสาเร็จ”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
ปรับปรุงกระบวนกำรกำรเขียน
วัตถุประสงค์กำรสอน
“วัตถุประสงค์การสอนเชิงพฤติกรรม
(Student Behaviors)ประเมินเพื่อปรับปรุง”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
ไทเลอร์ (Ralph W. Tyler,1930)
เสนอแนวทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไข (Operant
Conditioning) ซึ่งมีรำกฐำนมำจำกแนวคิดของ
ธอร์นไดค์ “เน้นการเสริมแรงในการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง”
“แนวคิดของ Skinner เป็นที่มาของวิธีระบบ
(System Approach) ในการออกแบบ (Design)
การพัฒนา (Development) การประเมิน
(Evaluation) และการปรับปรุง (Revise)”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
บี เอฟ สกินเนอร์ (B. F. Skinner,1950-60)
นำเสนอแนวคิดทำงพุทธิปัญญำ(Cognitive
Theories) มำใช้ในกำรออกแบบกำรสอน
“ศึกษาความเข้าใจ (Understand) ที่เกิดขึ้นใน
จิตใจ (Mind)”
“ปลายปี ค.ศ. 1960 การออกแบบการสอนได้รับ
กำรยอมรับว่ำเป็นสำขำวิชำ” เกิดคาว่า “Instructional
System”
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
โรเบิร์ต กาเย ( Robert Gagne,1960)
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยี
 ค.ศ. 1970 ทฤษฎีการเรียนรู้ การประมวลสารสนเทศ (Information
Processing) มีบทบาทอย่างมาก
 “ปัจจุบันทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กำลังได้รับควำมสนใจ”
e-Learning
CAI
เครื่องฉาย
ความเป็นมาและพัฒนาการของสื่อการเรียนการสอน
WBI
กระดานดา
ความเป็นมาและพัฒนาการของสื่อการสอน
(Instructional Media Roots)
สื่อการสอน (Instruction Media ) และการออกแบบการสอน
(Instructional Design) ได้มีการการพัฒนามาด้วยกันมีส่วนที่แยกกัน
ออกเป็นอิสระแต่ก็มีส่วนมาบรรจบกัน แม้ว่าการใช้ของจริง (Real Object)
ภาพวาด (Drawing) และสื่ออื่น ๆ เป็นส่วนหนึ่งของการสอน
ความเป็นมาและพัฒนาการของสื่อการสอน
(Instructional Media Roots)
 Film Strip
 Film 8 mm.
 Micro film
 Telegraph
 Pack linked
เครื่องฉายสไลด์
Overhead
Visualizer
วีดิทัศน์
โทรทัศน์
Computer
วิทยุ
เครื่องเสียง
Studio
Sound Studio
ดาวเทียมเพื่อการศึกษา
Web conference
e-Book
e-Learning
e-Training
m-Learning
Podcast
Webcast
Video on Demand
GIS (Geographic Information System)
เครื่อง Simulate
Virtual Reality
Hologram
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 Educational Technology
 มีความหมายทั่วไปที่ใช้กับโรงเรียน หรือว่าสถานศึกษา
 เป็น subset ของการศึกษา
 Instructional Technology
 มีความเหมาะสมกับ Technology ในการอธิบายส่วนประกอบได้ครอบคลุมชัดเจน
มากกว่า
 เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการศึกษา
ในปัจจุบันคาว่า ‘Educational Technology’ และ ‘Instruction Technology’
อาจมีการใช้สลับกันหรือแทนกันได้
 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ
 การออกแบบ
 การพัฒนา
 การใช้
 การจัดการ
 การประเมิน
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของกระบวนการและแหล่งการเรียนรู้
 กระบวนการ
 ลาดับของการปฏิบัติการ ประกอบด้วย การออกแบบ และกระบวนการส่งข้อมูล
ข่าวสาร
 แหล่งการเรียนรู้
 สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน ไม่ใช่เพียงเครื่องมือ อุปกรณ์และวัสดุ แต่ยังรวมถึง
บุคคล งบประมาณ สิ่งอานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ทาให้เกิดการเรียนรู้
 การเรียนรู้
 การเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในด้านความรู้ของบุคคล หรือพฤติกรรมรวมถึง
ประสบการณ์ต่างๆ
สรุป
 ความก้าวหน้า หรือทิศทาง หรือแนวโน้มของเทคโนโลยีการสอนได้มุ่งไปสู่
ทฤษฎีและการปฏิบัติ นอกจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแล้ว การเปลี่ยนกระบวนทัศน์เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีการ
เรียนรู้ก็เป็นผลต่อปัจจัยดังกล่าว

More Related Content

What's hot

การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย Kanyarat Sirimathep
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้Piyatida Krunsuntia
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยKanyarat Sirimathep
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_designAthit Thongkum
 

What's hot (16)

การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_design
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
Pu
PuPu
Pu
 

Similar to ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaBunsasi
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNedk2bn
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1FerNews
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1beta_t
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 

Similar to ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
701w2
701w2701w2
701w2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 

More from Nisachol Poljorhor

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 

More from Nisachol Poljorhor (12)

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologies
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 

ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา