SlideShare a Scribd company logo
23
for Enterprise 2006 จาก Rolex SA ประเทศสวิตเซอรแลนด รางวัล The 52nd Annual Chevron Conservation Awards จาก
Chevron Corporation, USA รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย จากมหาวิทยาลัยมหิดล และรางวัลอาจารยตัวอยาง คณะ
วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จากสภาอาจารยคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ป 2547 ไดรับโลเกียรติยศครุศาสตร
ดีเดน จากสมาคมครุศาสตรสัมพันธ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป 2546 ไดทุนสงเสริมกลุมนักวิจัยอาชีพ จากศูนย
พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รางวัลจากโครงการรวมใจพัฒนาสิ่งแวดลอม
และสังคมไทย ครั้งที่ 1-3 (2544-2546) เรื่อง โครงการชุมชนอนุรักษนกเงือกเทือกเขาบูโด จากบริษัท ฟอรดโอเปอเรชั่นส
(ประเทศไทย) จำกัด ป 2539 ไดรับโลเกียรติยศ นักอนุรักษดีเดน สาขาการวิจัยสัตวปา จากคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร และกรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ นอกจากนี้อาจารยยังเปนผูอุทิศตนทำงานเพื่อสวนรวมอยางแทจริง
ไมวาจะเปนงานของคณะฯ มหาวิทยาลัยฯ หรือสถาบันองคกรอื่นๆ ที่ตองการความชวยเหลือจากอาจารยโดยไมหวังสิ่งตอบแทน
ใด ๆ และเปนที่ปรึกษาในการถายทำภาพยนตรเกี่ยวกับนกเงือกทั้งสารคดีในประเทศและตางประเทศชั้นนำ เชน บริษัท
Panorama Documentary BBC จากประเทศอังกฤษ NHK จากประเทศญี่ปุน Fox Station จากประเทศสหรัฐอเมริกา
Antamed Asia จากประเทศฝรั่งเศส และDiscovery Channel จากประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา เปนตน ทำให
ศาสตราจารย ดร. พิไล พูลสวัสดิ์ เปนแบบอยางที่ดีเยี่ยมของนักวิจัยดานชีววิทยา ที่มีความมุงมั่นทำวิจัยระยะยาว ใหรูจริงเพื่อ
การอนุรักษสัตวปาและทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูอยางยั่งยืน ทำกิจกรรมเพื่อเผย แพรความรูในการอนุรักษนกเงือก และ
ทรัพยากรธรรมชาติอยางเขมแข็ง จนไดรับขนานนามใหเปน “มารดาแหงนกเงือก” กอใหเกิดการขับเคลื่อนทางสังคมเพื่อการคุม
ครอง-อนุรักษนกเงือกและธรรมชาติ และเปนแบบอยางที่ดีงามสำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ในความซื่อสัตย
ไมเอาเปรียบ มีความยุติธรรมกับทุกคน จึงทำใหเปนเคารพนับถือเปนที่เชื่อมั่นและไววางใจของผูรวมงาน และบุคคลอื่น ๆ มี
คุณธรรมและจริยธรรมในการดำรงชีวิต มีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ และอุทิศตนทำงานรับใชชาติ บานเมือง สรางผลงาน และ
บุคลากรรุนใหมที่มีคุณภาพ และสรางชื่อเสียงเกียรติภูมิใหแกประเทศชาติ สมควรไดรับแกการยกยองเชิดชูเกียรติใหปรากฏเพื่อเปน
แบบอยางแกอาจารยและนักวิจัยรุนใหมสืบไป
25
แก ศูนยไตเทียมทั่วประเทศ 200 แหง จัดทำเอกสารเผยแพรความรูแกประชาชนเพื่อการปองกันโรคไตเรื้อรัง รวมมือกับ
กระทรวงสาธารณสุขและสมาคมเบาหวานแหงประเทศไทยจัดทำมาตรฐานแนวทางรักษาผูปวยโรคไตจากเบาหวาน จัดสัมมนา
เพื่อกำหนดยุทธศาสตรและวิสัยทัศนของสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย จนไดขอสรุปวาสิ่งที่ควรเนน คือ มาตรฐานวิชาชีพ และ
การปองกันโรคไต อันนำไปสูการดำเนินการตาง ๆ ตามมาภายหลังอีกมากมาย
ไดอุทิศตนเพื่อการสอนทั้งในระดับนิสิตแพทยกอนปริญญา และการสอนแพทยประจำบานอายุรศาสตรทั่วไปและแพทย
ประจำบานอายุรศาสตรโรคไต ไดพยายามกระตุนใหนิสิตแพทยเรียนรูโดยการคิดไตรตรอง หาเหตุผลที่มาที่ไปของโรคและการ
เกิดโรค แทนการทองจำ และกระตุนใหนิสิตแพทยและแพทยฝกวิธีคิดเพื่อตั้งคำถามใหกับตัวเอง เพื่อเปนการกระตุน การเรียนรู
ดวยตนเอง ไดเนนย้ำแกนิสิตแพทย และแพทยประจำบานถึงปญหาดานวินัยการแพทย การปฏิบัติตอผูปวยตามแนวทางของ
พระราชบิดา การเห็นแกประโยชนของผูปวยเปนสำคัญ การไมมีผลประโยชนทับซอน ความจำเปนที่แพทยตองใหความเมตตา
ตอผูปวยตลอดเวลา และไดปฏิบัติเพื่อเปนแบบอยางแกนิสิตแพทยจนมีนิสิตแพทยและ แพทยจำนวนมากยึดถือเปนแบบอยาง
(role model) ของการเปนแพทยที่ดี
ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เปนผูอุทิศตนเพื่อประโยชนแหงองคกรอยางสม่ำเสมอมาโดยตลอด ทุกวันทำ
การจะปฏิบัติงานที่คณะฯ ประมาณ 9–10 ชั่วโมง ไดบริจาคเงินสวนตัวสำหรับกิจกรรมตางๆ ของคณะแพทยศาสตร และของส
โมสรนิสิตแพทย, ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ไดบริจาคหนังสือและวารสารวิชาการใหแกหองสมุด
ไมต่ำกวา 600 เลม
รางวัลหรือเกียรติคุณที่ไดรับ
ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เคยไดรับรางวัลยกยองเชิดชูเกียรติกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประเภท
อาจารยดีเดนของ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ.2547
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดพิจารณาแลว เห็นสมควรประกาศยกยองให
ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เปนอาจารยดีเดนแหงชาติของสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประ-เทศไทย (ปอมท.)
ประจำป พ.ศ. 2549 สาขา วิทยาศาสตรสุขภาพ
27
ตลอดระยะเวลากวา 30 ปที่ปฏิบัติหนาที่ในฐานะ “ครู” ของนักศึกษาแพทย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและต่ำกวา
ปริญญาตรีหลักสูตรตาง ๆ รวมทั้ง “ครู” ของรุนนองผูรวมงานทุกระดับ ศาสตราจารย ดร.แพทยหญิงนภาธร บานชื่น ไมเพียง
แตใหความรูดานวิชาการแกศิษยเทานั้น แตยังดำรงตนตามหลักคุณธรรมจริยธรรมโดยสม่ำเสมอ มีความซื่อสัตย ยึดมั่นใน
ความถูกตอง มองเห็นในศักยภาพและคุณคาของทุกคน มีพรหมวิหารธรรม รวมทั้งกัลยาณมิตรธรรมที่ครบถวน ชัดเจน และ
เปนรูปธรรม เปนแบบอยางใหศิษยทั้งหลายไดเรียนรู ซึมซับ และตระหนักถึงเนื้อแทแหงคุณคาของความดี และสามารถ
นำไปปรับใชในการดำเนินชีวิตเพื่อใหเกิดความผาสุกไดอยางยั่งยืน
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดพิจารณาแลว เห็นสมควรประกาศยกยองให
ศาสตราจารย ดร.แพทยหญิงนภาธร บานชื่น เปนอาจารยดีเดนแหงชาติของ ปอมท. ประจำป พ.ศ. 2549 สาขาวิทยาศาสตร
สุขภาพ
29
ไดรวมกอตั้ง”ศูนยสหวิทยาการชุมชนศึกษา” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อปพ.ศ.2549 เพื่อประมวลองคความรู
เรื่องชุมชนไทย เพื่อทำวิจัยรวมกันในลักษณะสหวิชาการ และเพื่อใหบริการฝกอบรมแกกลุม องคกร หนวยงานตางๆ
ไดแตงและแปลหนังสือที่เปนตำราและหนังสืออานประกอบประมาณ 30 เลม และบทความวิชาการเผยแพรประมาณ
200 ชิ้น ตำราเลมสำคัญ ๆ เชน “สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางศึกษา” ไดตีพิมพ 4 ครั้งแลว ในระหวางป พ.ศ. 2530-2540
ไดเปนนักเขียนคอลัมนประจำ “ละครโทรทัศนกับสังคม” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาหและยังคงเขียนงานเผยแพรผานสื่อมวลชน
ตาง ๆ ตามวาระโอกาส
ปจจุบัน รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพทำหนาที่เปนบรรณาธิการวารสารนิเทศศาสตร คณะนิเทศศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 ถึงปจจุบัน
รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพ ไดชวยงานของสถาบันการศึกษาดานนิเทศศาสตรตาง ๆ อยางมากมาย เชน
เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในหลักสูตรนิเทศศาสตรของสถาบันการศึกษาอุดมศึกษาทั่วประเทศ ประมาณ 15 แหง เปน
อนุกรรมการของคณะกรรมการสงเสริม และประสานงานสตรีแหงชาติ (กสส) สำนักงานสำนักปลัดนายกรัฐมนตรี (2540-45)
เปนกรรมการสภาวิจัยแหงชาติสาขาเทคโนโลยีการสื่อสารและนิเทศศาสตร (2540-43) เปนประธานมูลนิธิเพื่อนหญิง (2545-47)
เปนอนุกรรมการวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง สำนักงานวัฒนธรรมแหงชาติ (สวช.) เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการกอ
งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) (2545-47) เปนคณะกรรมการประเมินผล (ตัวแทนกระทรวง
การคลัง) ของ สสส. (2549-2551) เปนคณะกรรมการกลุมผูผลิตตำราชุดการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปนตน
รางวัลที่เคยไดรับคือ รางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ ประจำป 2548 สาขาเทคโนโลยีการสื่อสารและนิเทศศาสตร
สำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ (สว.) และรางวัลเมธีวิจัยอาวุโส จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ระหวางป พ.ศ. 2549-2551
31
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท จบการศึกษาสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม จากจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2518 จบปริญญาโทและเอกจากมหาวิทยาลัยอิลินอยสและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐ
อเมริกาในป พ.ศ. 2524 และ พ.ศ. 2532 ตามลำดับ เขารับราชการสังกัดภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2524 และในป พ.ศ. 2537 ดำรงตำแหนงรองศาสตราจารย ระดับ 9 ป พ.ศ. 2524 และปจจุบันรับผิดชอบ
งานบริหารในตำแหนงรองคณบดีฝายวิชาการ
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท อยูในครอบครัวขาราชการ เกิดที่จังหวัดขอนแกนครั้งที่บิดารับราชการเปน
นายอำเภอบานไผ จากนั้นก็ยายตามบิดาไปอยูในหลายจังหวัด จนจบมัธยมตนที่โรงเรียนสตรีพัทลุง และจบการศึกษามัธยมปลาย
ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาประสบการณที่ไดเรียนรูจากโรงเรียนในจังหวัดตางๆ และจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย นับเปนคุณูปการตอชีวิตที่เปนครูในเวลาตอมา ไดเรียนรูการใหที่แสนยิ่งใหญของครู ไดเรียนรูวิธี “ปลูก” ความรู
ความคิด และจิตสำนึกที่ดี ใหเจริญงอกงามขึ้นในใจของศิษย ไดเรียนรูวิธีที่ทำใหโรงเรียนเปน “โรง+เรียน” ไมใช “โลง+เลียน”
จวบจนปจจุบันไดสืบภารกิจที่ “ครู” ไดมอบเปนมรดกแหงใจไวให
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท นอกจากสอนวิชา การออกแบบสถาปตยกรรม แลว ไดสอนวิชา
ปรากฏการณศาสตรในสถาปตยกรรม มาเปนเวลากวาสิบป เปนวิชาที่วาดวยการสะสม สืบสาย และสานสัมพันธ ความรูใน
แงมุมตางๆ ในปรากฏการณตางๆ อยางเปนกระบวนระบบ เพื่อใหนิสิตมีความรอบรู หลักแหลม และคมคายในการวิเคราะหและ
สังเคราะหความรูดวย “จิต” ดวย “กร” สรรคสรางงานออกแบบสถาปตยกรรม ที่มีปรากฏเปนถิ่นแหงชีวิตที่สวัสดี และสอน
วิชาจิตวิทยาสถาปตยกรรม ที่มุงใหนิสิตมีความเขาใจถึงจิตใจของผูใชอาคาร และถือเอาความเขาใจนั้นเปนที่ตั้งของการออกแบบ
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท มีผลงานเขียนหนังสือและตำราตั้งแตป พ.ศ. 2535 จนถึงปจจุบัน รวม 17
เลม เกือบทุกเลมเขียนดวยลายมือ ซึ่งเปนที่รูจักกันดีในวงวิชาการสถาปตยกรรม ดวยสัมผัสของมือไดสานใจขึ้นเปนตัวบทของ
หนังสือ สง “ใจ” ของความ และ “หมาย” ของความ ออกไปเปนความหมายสูใจของผูอาน อาทิ ปรากฏการณศาสตรใน
สถาปตยกรรม (2536) กำเนิดสถาปตยกรรม (2537) ภาษาภาพ (2540) สถาปตยกรรมกัมปนาทแหงความสงัด (2540) เสนสาย
ลายเสน (2542) สถาปตยกรรมกังสดาลแหงความคิด (2543) จิตวิทยาสถาปตยกรรม : มนุษยปฏิสันถาร (2547) จิตวิทยา
สถาปตยกรรมสวัสดี (2549) จิตวิทยาจิตสุนทรีย : ศิลปอุบัติการณแหงการสรางสรรค และ จิตวิทยาจิตสุนทรีย : บาน
ปรากฏการณแหงจินตนาการ (กำลังจะตีพิมพ) ตลอดเวลาที่เขียนหนังสือไดทำวิจัยประกอบการเขียนหนังสือ ไดแกการวิจัย
เรื่อง “บานที่ฉันรัก” เรื่อง “สเปซแบบมาตุลักษณ - ปตุลักษณ” และไดวิจัยการอยูอาศัยในวิถีแหงปรัชญาอัตถิภาวนิยมและ
ปรากฏการณศาสตรในหนังสือ เรือน+ไทย (2545) ที่ “ปลูก” และ “ปรุง” เรือนขึ้นเพื่อทดลองการอาศัยอยูอยางพอเพียง และอยาง
สมดุลใน “ปาธรรมชาติ” ที่ปลูกสรางขึ้นในที่ดินแปลงเล็ก ตามวิถีการเปน+อยูแบบมาตุลักษณ และไดศึกษาสถาปตยกรรม
ดวยการเขียนภาพที่ใชวิธีที่มีเสนสายสีสันเฉพาะตัว นำเสนอแงมุมตางๆ ในสถาปตยกรรมที่เปนมิตรตอโลก
32
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท ไดนำรูปแบบการอยูอาศัยแบบไทยมาใชในงานออกแบบสถาปตยกรรมใน
อาคารหลายหลังของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ออกแบบรวมกับรองศาสตราจารย เลอสม สถาปตานนท อาทิ อาคาร วิทยกิตติ์
อาคารจามจุรี 5 และอาคารมหาจักรีสิรินธร ในการออกแบบไดใชมโนทัศนของการมีชานเรือนที่ปรับมาใชอยูในใตถุนอาคาร
ขนาดใหญ เพื่อใหเกิดเปนสถานที่แหงปฏิสันถารอันสมบูรณของชีวิตผูใชอาคาร
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท นิยมสอนหนังสือยูใตตนไม มีนิสิตและคณาจารยจากคณะสถาปตยกรรม
ศาสตร จากมหาวิทยาลัยตางๆ แวะไปขอฟงคำบรรยายอยูเสมอมา ในการบรรยาย อาทิเรื่อง “จักรวาลสถาปตยกรรม” และ
”สถาปนาสถาปตยกรรม” เปนการเปดประเด็น และมุมมองใหมๆ เพื่อสังเคราะหบทกวีแหงชีวิต แหงโลก และแหงจักรวาลขึ้น
เปนสถาปตยกรรมสวัสดี
รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท ไดอุทิศตนใหกับการสอนและการเขียนหนังสือ ใหกับนิสิตมาตลอดเวลา
25 ป เมื่อป พ.ศ. 2545 สภาคณาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยยกยองใหเปน “อาจารยแบบอยาง” ในป พ.ศ. 2548 ในวาระ
คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยครบรอบ 72 ป ไดรับเกียรติเปนหนึ่งใน “นิสิตเกาดีเดน” และในป
พ.ศ. 2550 ในวาระนี้ นับเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดรับการยกยองเปน “อาจารยดีเดนแหงชาติ” ประจำป พ.ศ. 2549 ของที่ประชุม
ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทยและในวาระนี้ขอมอบคุณความดีและเกียรติที่ไดรับเปนสิ่งบูชาครู
ผูเปนบูรพคณาจารย และครูผูเปนผูใหทุกทานในกาลปจจุบันนี้

More Related Content

Viewers also liked

Aprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en ProyectosAprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en Proyectos
Reichel96
 
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016ELISE STALLWORTH
 
Security Transformation
Security TransformationSecurity Transformation
Security Transformation
Faisal Yahya
 
Congresso
CongressoCongresso
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-ImaginedA Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
MX Publishing
 
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
IAEME Publication
 
Comparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y BloggerComparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y Blogger
Melissa Leòn
 
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADOGENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
Ela Zambrano
 
School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14
Scott McLeod
 

Viewers also liked (10)

Aprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en ProyectosAprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en Proyectos
 
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
 
Security Transformation
Security TransformationSecurity Transformation
Security Transformation
 
Congresso
CongressoCongresso
Congresso
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
 
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-ImaginedA Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
 
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
 
Comparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y BloggerComparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y Blogger
 
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADOGENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
 
School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14
 

Similar to ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)

ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Lib Rru
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
jompon rattana
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
Satapon Yosakonkun
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Drsek Sai
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
Rujira Lertkittivarakul
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkaewta242524
 
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนาประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
ผศ.ดร.ขวัญชัย ขัวนา
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
Maewmeow Srichan
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556คุกกี้ ซังกะตัง
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 

Similar to ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32) (20)

ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
V 282
V 282V 282
V 282
 
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
V250
V250V250
V250
 
V250
V250V250
V250
 
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
 
Information2012
Information2012Information2012
Information2012
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนาประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
V 293
V 293V 293
V 293
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
สุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. 23 for Enterprise 2006 จาก Rolex SA ประเทศสวิตเซอรแลนด รางวัล The 52nd Annual Chevron Conservation Awards จาก Chevron Corporation, USA รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย จากมหาวิทยาลัยมหิดล และรางวัลอาจารยตัวอยาง คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จากสภาอาจารยคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ป 2547 ไดรับโลเกียรติยศครุศาสตร ดีเดน จากสมาคมครุศาสตรสัมพันธ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป 2546 ไดทุนสงเสริมกลุมนักวิจัยอาชีพ จากศูนย พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รางวัลจากโครงการรวมใจพัฒนาสิ่งแวดลอม และสังคมไทย ครั้งที่ 1-3 (2544-2546) เรื่อง โครงการชุมชนอนุรักษนกเงือกเทือกเขาบูโด จากบริษัท ฟอรดโอเปอเรชั่นส (ประเทศไทย) จำกัด ป 2539 ไดรับโลเกียรติยศ นักอนุรักษดีเดน สาขาการวิจัยสัตวปา จากคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร และกรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ นอกจากนี้อาจารยยังเปนผูอุทิศตนทำงานเพื่อสวนรวมอยางแทจริง ไมวาจะเปนงานของคณะฯ มหาวิทยาลัยฯ หรือสถาบันองคกรอื่นๆ ที่ตองการความชวยเหลือจากอาจารยโดยไมหวังสิ่งตอบแทน ใด ๆ และเปนที่ปรึกษาในการถายทำภาพยนตรเกี่ยวกับนกเงือกทั้งสารคดีในประเทศและตางประเทศชั้นนำ เชน บริษัท Panorama Documentary BBC จากประเทศอังกฤษ NHK จากประเทศญี่ปุน Fox Station จากประเทศสหรัฐอเมริกา Antamed Asia จากประเทศฝรั่งเศส และDiscovery Channel จากประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา เปนตน ทำให ศาสตราจารย ดร. พิไล พูลสวัสดิ์ เปนแบบอยางที่ดีเยี่ยมของนักวิจัยดานชีววิทยา ที่มีความมุงมั่นทำวิจัยระยะยาว ใหรูจริงเพื่อ การอนุรักษสัตวปาและทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูอยางยั่งยืน ทำกิจกรรมเพื่อเผย แพรความรูในการอนุรักษนกเงือก และ ทรัพยากรธรรมชาติอยางเขมแข็ง จนไดรับขนานนามใหเปน “มารดาแหงนกเงือก” กอใหเกิดการขับเคลื่อนทางสังคมเพื่อการคุม ครอง-อนุรักษนกเงือกและธรรมชาติ และเปนแบบอยางที่ดีงามสำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ในความซื่อสัตย ไมเอาเปรียบ มีความยุติธรรมกับทุกคน จึงทำใหเปนเคารพนับถือเปนที่เชื่อมั่นและไววางใจของผูรวมงาน และบุคคลอื่น ๆ มี คุณธรรมและจริยธรรมในการดำรงชีวิต มีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ และอุทิศตนทำงานรับใชชาติ บานเมือง สรางผลงาน และ บุคลากรรุนใหมที่มีคุณภาพ และสรางชื่อเสียงเกียรติภูมิใหแกประเทศชาติ สมควรไดรับแกการยกยองเชิดชูเกียรติใหปรากฏเพื่อเปน แบบอยางแกอาจารยและนักวิจัยรุนใหมสืบไป
  • 5.
  • 6. 25 แก ศูนยไตเทียมทั่วประเทศ 200 แหง จัดทำเอกสารเผยแพรความรูแกประชาชนเพื่อการปองกันโรคไตเรื้อรัง รวมมือกับ กระทรวงสาธารณสุขและสมาคมเบาหวานแหงประเทศไทยจัดทำมาตรฐานแนวทางรักษาผูปวยโรคไตจากเบาหวาน จัดสัมมนา เพื่อกำหนดยุทธศาสตรและวิสัยทัศนของสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย จนไดขอสรุปวาสิ่งที่ควรเนน คือ มาตรฐานวิชาชีพ และ การปองกันโรคไต อันนำไปสูการดำเนินการตาง ๆ ตามมาภายหลังอีกมากมาย ไดอุทิศตนเพื่อการสอนทั้งในระดับนิสิตแพทยกอนปริญญา และการสอนแพทยประจำบานอายุรศาสตรทั่วไปและแพทย ประจำบานอายุรศาสตรโรคไต ไดพยายามกระตุนใหนิสิตแพทยเรียนรูโดยการคิดไตรตรอง หาเหตุผลที่มาที่ไปของโรคและการ เกิดโรค แทนการทองจำ และกระตุนใหนิสิตแพทยและแพทยฝกวิธีคิดเพื่อตั้งคำถามใหกับตัวเอง เพื่อเปนการกระตุน การเรียนรู ดวยตนเอง ไดเนนย้ำแกนิสิตแพทย และแพทยประจำบานถึงปญหาดานวินัยการแพทย การปฏิบัติตอผูปวยตามแนวทางของ พระราชบิดา การเห็นแกประโยชนของผูปวยเปนสำคัญ การไมมีผลประโยชนทับซอน ความจำเปนที่แพทยตองใหความเมตตา ตอผูปวยตลอดเวลา และไดปฏิบัติเพื่อเปนแบบอยางแกนิสิตแพทยจนมีนิสิตแพทยและ แพทยจำนวนมากยึดถือเปนแบบอยาง (role model) ของการเปนแพทยที่ดี ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เปนผูอุทิศตนเพื่อประโยชนแหงองคกรอยางสม่ำเสมอมาโดยตลอด ทุกวันทำ การจะปฏิบัติงานที่คณะฯ ประมาณ 9–10 ชั่วโมง ไดบริจาคเงินสวนตัวสำหรับกิจกรรมตางๆ ของคณะแพทยศาสตร และของส โมสรนิสิตแพทย, ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ไดบริจาคหนังสือและวารสารวิชาการใหแกหองสมุด ไมต่ำกวา 600 เลม รางวัลหรือเกียรติคุณที่ไดรับ ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เคยไดรับรางวัลยกยองเชิดชูเกียรติกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประเภท อาจารยดีเดนของ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ.2547 ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดพิจารณาแลว เห็นสมควรประกาศยกยองให ศาสตราจารยนายแพทยเกรียง ตั้งสงา เปนอาจารยดีเดนแหงชาติของสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประ-เทศไทย (ปอมท.) ประจำป พ.ศ. 2549 สาขา วิทยาศาสตรสุขภาพ
  • 7.
  • 8. 27 ตลอดระยะเวลากวา 30 ปที่ปฏิบัติหนาที่ในฐานะ “ครู” ของนักศึกษาแพทย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและต่ำกวา ปริญญาตรีหลักสูตรตาง ๆ รวมทั้ง “ครู” ของรุนนองผูรวมงานทุกระดับ ศาสตราจารย ดร.แพทยหญิงนภาธร บานชื่น ไมเพียง แตใหความรูดานวิชาการแกศิษยเทานั้น แตยังดำรงตนตามหลักคุณธรรมจริยธรรมโดยสม่ำเสมอ มีความซื่อสัตย ยึดมั่นใน ความถูกตอง มองเห็นในศักยภาพและคุณคาของทุกคน มีพรหมวิหารธรรม รวมทั้งกัลยาณมิตรธรรมที่ครบถวน ชัดเจน และ เปนรูปธรรม เปนแบบอยางใหศิษยทั้งหลายไดเรียนรู ซึมซับ และตระหนักถึงเนื้อแทแหงคุณคาของความดี และสามารถ นำไปปรับใชในการดำเนินชีวิตเพื่อใหเกิดความผาสุกไดอยางยั่งยืน ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดพิจารณาแลว เห็นสมควรประกาศยกยองให ศาสตราจารย ดร.แพทยหญิงนภาธร บานชื่น เปนอาจารยดีเดนแหงชาติของ ปอมท. ประจำป พ.ศ. 2549 สาขาวิทยาศาสตร สุขภาพ
  • 9.
  • 10. 29 ไดรวมกอตั้ง”ศูนยสหวิทยาการชุมชนศึกษา” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อปพ.ศ.2549 เพื่อประมวลองคความรู เรื่องชุมชนไทย เพื่อทำวิจัยรวมกันในลักษณะสหวิชาการ และเพื่อใหบริการฝกอบรมแกกลุม องคกร หนวยงานตางๆ ไดแตงและแปลหนังสือที่เปนตำราและหนังสืออานประกอบประมาณ 30 เลม และบทความวิชาการเผยแพรประมาณ 200 ชิ้น ตำราเลมสำคัญ ๆ เชน “สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางศึกษา” ไดตีพิมพ 4 ครั้งแลว ในระหวางป พ.ศ. 2530-2540 ไดเปนนักเขียนคอลัมนประจำ “ละครโทรทัศนกับสังคม” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาหและยังคงเขียนงานเผยแพรผานสื่อมวลชน ตาง ๆ ตามวาระโอกาส ปจจุบัน รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพทำหนาที่เปนบรรณาธิการวารสารนิเทศศาสตร คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 ถึงปจจุบัน รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพ ไดชวยงานของสถาบันการศึกษาดานนิเทศศาสตรตาง ๆ อยางมากมาย เชน เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในหลักสูตรนิเทศศาสตรของสถาบันการศึกษาอุดมศึกษาทั่วประเทศ ประมาณ 15 แหง เปน อนุกรรมการของคณะกรรมการสงเสริม และประสานงานสตรีแหงชาติ (กสส) สำนักงานสำนักปลัดนายกรัฐมนตรี (2540-45) เปนกรรมการสภาวิจัยแหงชาติสาขาเทคโนโลยีการสื่อสารและนิเทศศาสตร (2540-43) เปนประธานมูลนิธิเพื่อนหญิง (2545-47) เปนอนุกรรมการวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง สำนักงานวัฒนธรรมแหงชาติ (สวช.) เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการกอ งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) (2545-47) เปนคณะกรรมการประเมินผล (ตัวแทนกระทรวง การคลัง) ของ สสส. (2549-2551) เปนคณะกรรมการกลุมผูผลิตตำราชุดการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปนตน รางวัลที่เคยไดรับคือ รางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ ประจำป 2548 สาขาเทคโนโลยีการสื่อสารและนิเทศศาสตร สำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ (สว.) และรางวัลเมธีวิจัยอาวุโส จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหวางป พ.ศ. 2549-2551
  • 11.
  • 12. 31 รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท จบการศึกษาสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม จากจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2518 จบปริญญาโทและเอกจากมหาวิทยาลัยอิลินอยสและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐ อเมริกาในป พ.ศ. 2524 และ พ.ศ. 2532 ตามลำดับ เขารับราชการสังกัดภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2524 และในป พ.ศ. 2537 ดำรงตำแหนงรองศาสตราจารย ระดับ 9 ป พ.ศ. 2524 และปจจุบันรับผิดชอบ งานบริหารในตำแหนงรองคณบดีฝายวิชาการ รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท อยูในครอบครัวขาราชการ เกิดที่จังหวัดขอนแกนครั้งที่บิดารับราชการเปน นายอำเภอบานไผ จากนั้นก็ยายตามบิดาไปอยูในหลายจังหวัด จนจบมัธยมตนที่โรงเรียนสตรีพัทลุง และจบการศึกษามัธยมปลาย ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาประสบการณที่ไดเรียนรูจากโรงเรียนในจังหวัดตางๆ และจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย นับเปนคุณูปการตอชีวิตที่เปนครูในเวลาตอมา ไดเรียนรูการใหที่แสนยิ่งใหญของครู ไดเรียนรูวิธี “ปลูก” ความรู ความคิด และจิตสำนึกที่ดี ใหเจริญงอกงามขึ้นในใจของศิษย ไดเรียนรูวิธีที่ทำใหโรงเรียนเปน “โรง+เรียน” ไมใช “โลง+เลียน” จวบจนปจจุบันไดสืบภารกิจที่ “ครู” ไดมอบเปนมรดกแหงใจไวให รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท นอกจากสอนวิชา การออกแบบสถาปตยกรรม แลว ไดสอนวิชา ปรากฏการณศาสตรในสถาปตยกรรม มาเปนเวลากวาสิบป เปนวิชาที่วาดวยการสะสม สืบสาย และสานสัมพันธ ความรูใน แงมุมตางๆ ในปรากฏการณตางๆ อยางเปนกระบวนระบบ เพื่อใหนิสิตมีความรอบรู หลักแหลม และคมคายในการวิเคราะหและ สังเคราะหความรูดวย “จิต” ดวย “กร” สรรคสรางงานออกแบบสถาปตยกรรม ที่มีปรากฏเปนถิ่นแหงชีวิตที่สวัสดี และสอน วิชาจิตวิทยาสถาปตยกรรม ที่มุงใหนิสิตมีความเขาใจถึงจิตใจของผูใชอาคาร และถือเอาความเขาใจนั้นเปนที่ตั้งของการออกแบบ รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท มีผลงานเขียนหนังสือและตำราตั้งแตป พ.ศ. 2535 จนถึงปจจุบัน รวม 17 เลม เกือบทุกเลมเขียนดวยลายมือ ซึ่งเปนที่รูจักกันดีในวงวิชาการสถาปตยกรรม ดวยสัมผัสของมือไดสานใจขึ้นเปนตัวบทของ หนังสือ สง “ใจ” ของความ และ “หมาย” ของความ ออกไปเปนความหมายสูใจของผูอาน อาทิ ปรากฏการณศาสตรใน สถาปตยกรรม (2536) กำเนิดสถาปตยกรรม (2537) ภาษาภาพ (2540) สถาปตยกรรมกัมปนาทแหงความสงัด (2540) เสนสาย ลายเสน (2542) สถาปตยกรรมกังสดาลแหงความคิด (2543) จิตวิทยาสถาปตยกรรม : มนุษยปฏิสันถาร (2547) จิตวิทยา สถาปตยกรรมสวัสดี (2549) จิตวิทยาจิตสุนทรีย : ศิลปอุบัติการณแหงการสรางสรรค และ จิตวิทยาจิตสุนทรีย : บาน ปรากฏการณแหงจินตนาการ (กำลังจะตีพิมพ) ตลอดเวลาที่เขียนหนังสือไดทำวิจัยประกอบการเขียนหนังสือ ไดแกการวิจัย เรื่อง “บานที่ฉันรัก” เรื่อง “สเปซแบบมาตุลักษณ - ปตุลักษณ” และไดวิจัยการอยูอาศัยในวิถีแหงปรัชญาอัตถิภาวนิยมและ ปรากฏการณศาสตรในหนังสือ เรือน+ไทย (2545) ที่ “ปลูก” และ “ปรุง” เรือนขึ้นเพื่อทดลองการอาศัยอยูอยางพอเพียง และอยาง สมดุลใน “ปาธรรมชาติ” ที่ปลูกสรางขึ้นในที่ดินแปลงเล็ก ตามวิถีการเปน+อยูแบบมาตุลักษณ และไดศึกษาสถาปตยกรรม ดวยการเขียนภาพที่ใชวิธีที่มีเสนสายสีสันเฉพาะตัว นำเสนอแงมุมตางๆ ในสถาปตยกรรมที่เปนมิตรตอโลก
  • 13. 32 รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท ไดนำรูปแบบการอยูอาศัยแบบไทยมาใชในงานออกแบบสถาปตยกรรมใน อาคารหลายหลังของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ออกแบบรวมกับรองศาสตราจารย เลอสม สถาปตานนท อาทิ อาคาร วิทยกิตติ์ อาคารจามจุรี 5 และอาคารมหาจักรีสิรินธร ในการออกแบบไดใชมโนทัศนของการมีชานเรือนที่ปรับมาใชอยูในใตถุนอาคาร ขนาดใหญ เพื่อใหเกิดเปนสถานที่แหงปฏิสันถารอันสมบูรณของชีวิตผูใชอาคาร รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท นิยมสอนหนังสือยูใตตนไม มีนิสิตและคณาจารยจากคณะสถาปตยกรรม ศาสตร จากมหาวิทยาลัยตางๆ แวะไปขอฟงคำบรรยายอยูเสมอมา ในการบรรยาย อาทิเรื่อง “จักรวาลสถาปตยกรรม” และ ”สถาปนาสถาปตยกรรม” เปนการเปดประเด็น และมุมมองใหมๆ เพื่อสังเคราะหบทกวีแหงชีวิต แหงโลก และแหงจักรวาลขึ้น เปนสถาปตยกรรมสวัสดี รองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท ไดอุทิศตนใหกับการสอนและการเขียนหนังสือ ใหกับนิสิตมาตลอดเวลา 25 ป เมื่อป พ.ศ. 2545 สภาคณาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยยกยองใหเปน “อาจารยแบบอยาง” ในป พ.ศ. 2548 ในวาระ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยครบรอบ 72 ป ไดรับเกียรติเปนหนึ่งใน “นิสิตเกาดีเดน” และในป พ.ศ. 2550 ในวาระนี้ นับเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดรับการยกยองเปน “อาจารยดีเดนแหงชาติ” ประจำป พ.ศ. 2549 ของที่ประชุม ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทยและในวาระนี้ขอมอบคุณความดีและเกียรติที่ไดรับเปนสิ่งบูชาครู ผูเปนบูรพคณาจารย และครูผูเปนผูใหทุกทานในกาลปจจุบันนี้