SlideShare a Scribd company logo
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗ --
ทรงศึกษาในต่างประเทศ
เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑๔ พรรษา (๒๔๔๘) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บรมชนกนาถ โปรดให้ออกไปศึกษาวิชาในต่างประเทศเช่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และพระเจ้าลูก
เธอทั้งหลาย โดยได้เสด็จไปพร้อมกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธออีก ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้า
ฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย มีกรมทหารเรือจัดเรือพระที่นั่งมหาจักรีไปส่งที่ท่าเรือ
สิงคโปร์ ก่อนจะต่อเรือเดินสมุทรไปยังประเทศอังกฤษ เพื่อทรงศึกษาภาษาต่างประเทศ และเตรียมศึกษาต่อ
ในขั้นที่สูงขึ้น โดยประทับที่บ้านของครอบครัววีมส์ (Wemyss) จนกระทั่งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ จึง
ทรงเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนแฮร์โรว์ (Harrow) เป็นเวลาปีครึ่ง
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรมชนกนาถได้เจริญสัมพันธไมตรีใกล้ชิดกับ
จักรพรรดิเยอรมัน ทรงมีพระราชประสงค์ให้สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ได้ถวายการรับใช้แด่จักรพรรดิไก
เซอร์วิลเฮล์มที่ ๒ (Wilhelm II) ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาปรากฏในพระราชนิพนธ์เรื่อง "ไกลบ้าน" ใน
ระหว่างการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๕๐ ว่า
“...เอมเปอเรอพาพ่อไปให้พักที่ห้อง...ซึ่งได้จัดไว้โดยเรียบร้อยอย่างดี อยู่ข้างจะเล่นหัวหยอก
เอินกับบริพัตรมาก เปนเจ้าเข้าเจ้าของทีเดียว พ่อได้ทูลว่าจะส่งลูกแดงมาถวายอีก รับแขงแรง ยังซ้ําไป
กระซิบบริพัตรให้คิดอ่านเตือนพ่อให้ ตกลงส่งเสียเรวๆ จะได้หาครูบาอาจารย์ให้สอน บรรดานักเรียน
ทหารอยู่ข้างจะ โปรดปรานมาก เอาเปนธุระจริงๆ กําชับแล้วกําชับเล่าให้ส่งมาอีก “
สมเด็จฯ พระบรมราชชนก จึงเสด็จไปศึกษาวิชาเตรียมนายร้อยทหารบกที่โรงเรียนนายร้อยหลวง
ชั้นประถม ดาส เคอนิคลิซ ปรอยซิสเซ คาเดทเทนเฮาส์ เมืองปอตต์สดัม ประเทศ เยอรมนี (Das Koniglich
Kadettenhaus) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ และใช้เวลาศึกษาในโรงเรียนดังกล่าวเป็นเวลา ๒ ปี
การศึกษาในโรงเรียนเตรียมนายร้อยของเยอรมันนี้ เป็นหลักสูตรวิชาสามัญแบบหลักสูตรโรงเรียน
พลเรือน เพียงแต่ต้องทรงอยู่ในระเบียบวินัยและจรรยามารยาทอย่างเคร่งครัด และมีการฝึกอบรมวินัย
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘ --
อย่างนักเรียนนายทหาร โดยจักรพรรดิไกเซอร์วิลเฮล์มที่ ๒ ทรงแต่งตั้งร้อยเอก เอ๊ค เป็นนายทหารพระพี่
เลี้ยงประจําพระองค์ ซึ่งปรากฏว่าร้อยเอกเอ๊กได้กํากับควบคุมพระองค์ท่านอย่างเคร่งครัดมาก ซึ่งปรากฏ
ว่าพระองค์กลับทรงพอพระทัย มีพระราชดํารัสต่อพลตรีพระศักดาพลรักษ์ ในฐานะพระสหาย๑๓
ว่า “ดีแก
เขาบังคับฉันอย่างนี้มากๆ เพราะว่าทางเมืองไทยเขาพะนอตัวฉันเคยตัวไปหมด สบายเกินไป” อีกทั้งทรงมีน้ํา
พระทัยมุ่งมั่นที่จะนําความรู้กลับใช้พัฒนาประเทศดังได้เคยตรัสต่อพลตรีพระศักดาพลรักษ์ว่า “เรา
กลับไปประเทศไทยต้องช่วยกันทํางานทางทหารบกอย่างเข้มแข็ง”
ทรงได้รับการศึกษาด้านศิลปศาสตร์อันได้แก่วิชาด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ ทั้งยังทรงศึกษาเพิ่มเติมด้วยพระองค์เอง และทรงสนพระทัยเสด็จไปพิพิธภัณฑ์อยู่เป็นประจํา
ทรงศึกษาภาษาเยอรมันจนสามารถเข้าพระทัยในบทประพันธ์ของ เกอเต (Goethe’) ได้เป็นอย่างดี ทรงมี
อัจฉริยภาพด้านงานศิลปะ ได้ทรงเขียนภาพลายเส้น และภาพสีอันสวยงามไว้เป็นจํานวนมาก
๑๓
ครั้งหนึ่ง พลตรีพระศักดาพลรักษ์เคยมีจดหมายทูลขอให้สมเด็จฯ พระบรมราชชนกรับเป็นมหาดเล็ก ได้ทรงตอบกลับมา
ว่า “น้อม ฉันนับเธอในฐานะเพื่อนตลอดชีวิต เธอจะเป็นมหาดเล็กไม่ได้ เรารักกันทางจิตใจ เราไม่ใช่ญาติกันทางสายโลหิต” ความ
เป็นพระสหายสนิทของพลตรีพระศักดาพลรักษ์มีมากจนกระทั่งสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชชนนี ได้เคยรับสั่งต่อ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชว่า “เล็ก อยากรู้อะไรจากทูลหม่อมป๋า ถามพระศักดาฯ เขาก็ได้ เขารู้เรื่อง
มากกว่าแม่”
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙ --
ต่อมาทรงย้ายไปโรงเรียนนายร้อยหลวงชั้นมัธยม เฮาบท์ คาเดทเทน อัลสทัลท์ โรซ ลิซเตอร์
เฟลด์ (Haupt Kadettenanstalt Gross Lichterfelde) ที่ชานเมืองเบอร์ลิน อีก ๒ ปี ทรงสอบทําคะแนน
ได้ในระดับดีมาก ในบรรดานักเรียนเยอรมันกว่า ๔๐๐ คนที่ได้เรียนร่วมกันนั้น มีผู้สามารถทําคะแนนได้
เสมอพระองค์เพียงคนเดียว ทรงสอบไล่ได้ชั้นเฟนริช๑๔
ซึ่งหากศึกษาและฝึกหัดอีก ๑ ปีเศษ ก็จะจบหลักสูตร
ร้อยตรีทหารบกเยอรมัน แต่เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระราชชนก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ (๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓) ทําให้ต้องทรงเสด็จกลับมาร่วมงานถวายพระเพลิงพระ
บรมศพ (๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๔) และร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า
เจ้าอยู่หัว
และจากการเสด็จกลับมางานพระราชพิธีฯ ดังกล่าวนี้เอง ก็ทรงได้รับทราบพระราชประสงค์ของ
พระเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ที่จะให้พระองค์กลับมาช่วยงาน
ราชการทหารเรือ ซึ่งยังขาดแคลนนายทหารเรือที่มีความรู้ความสามารถที่จะมา
ช่วยปรับปรุงกองทัพเรือให้เจริญก้าวหน้า สามารถปกป้องภัยคุกคามที่มาทาง
ทะเล การมีกําลังทหารเรือที่เข้มแข็งตามมาตรฐานสากลนับเป็นความจําเป็น
เร่งด่วนในขณะนั้น ๑๕
จึงทรงยุติการศึกษาหลักสูตรนายร้อยทหารบกลงกลางคัน
ได้เพียงชั้นนายสิบ เพื่อเปลี่ยนไปเรียนด้านการทหารเรือแทน
นักเรียนนายเรือเยอรมัน
เมื่อทรงสําเร็จชั้นนายสิบจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงค์ให้เปลี่ยนไปศึกษา
วิชาการทหารเรือ๑๖
จึงได้ทรงสมัครสอบเข้าเรียนในจักพรรดินาวีเยอรมัน ณ
๑๔
ดังมีปรากฏในเอกสารของทางสยามที่บันทึกผลการเรียนของพระองค์ในขณะนั้นไว้ว่า “...สมเด็จพระเจ้าน้องยา
เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ฯ ได้ทรงทํา การสอบไล่วิชาเฟนริก ณ โรงเรียนนายร้อยชั้นสูงของ
เยอรมันสําเร็จแล้ว คือ ทรงได้คะแนนแต้มตามหลักสูตรเรียกอย่างเยอรมันว่า "Sehrgut" พิเศษ ซึ่ง
ปกติได้ โดยการเขียนแล แต่งเรียงคําถาม ได้อย่างดี ไม่ต้องสอบปาก การที่ทรงสอบได้เช่นนี้นับว่าเป็น
แต้มชั้นสูง ถึงนักเรียนเยอรมันเองก็ไม่ใคร่จะทําได้... ทําให้มีผู้ชมเชยมากที่พระองค์เป็นนักเรียนไทย
คนแรกที่ทําการสอบไล่ได้แต้มเช่นนี้...”
๑๕
สอดคล้องกับเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) ที่สยามต้องเสียดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่นํ้าโขง เนื่องจากไม่สามารถ
ต่อต้านอํานาจทางกองทัพเรือของฝรั่งเศส และเป็นที่ทราบกันดีว่าจักพรรดินาวีเยอรมันนั้นมีความยิ่งใหญ่เกรียงไกรมาก
โดยเฉพาะกองเรือดํานํ้าที่สามารถสร้างผลงานอันโดดเด่นในสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง
๑๖
ทรงมีจดหมายลายพระหัตถ์ไปยังพลตรีพระศักดาพลรักษ์พระสหายถึงเหตุการณ์ในช่วงนี้ โดยพลตรีพระศักดาพลรักษ์ได้
เล่าว่า “... เสียพระทัยที่จะไม่ได้รับราชการอยู่ร่วมกับข้าพเจ้า (พลตรีพระศักดาพลรักษ์) ในกองทัพบก เพราะว่าพระองค์
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐ --
เมืองเฟลนส์บูร์ (Imperial German Naval College ณ Fleusburg) ซึ่งแม้ว่าพระจักรพรรดิไกเซอร์
วิลเฮล์มที่ ๒ จะมีความสนิทสนมผูกพันกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างดี แต่คงยัง
ต้องสอบ และสอบผ่านได้เป็นอย่างดี
ได้ทรงชนะการประกวดการออกแบบเรือดําน้ําในระหว่างเรียน และทรงสอบไล่ได้เป็นที่ ๒ เมื่อมี
พระชนมายุได้ ๒๑ ปี (๒๔๕๔) ได้รับพระราชทานยูนิฟอร์มตําแหน่งยศนายเรือตรีของเยอรมันจากสมเด็จ
พระเจ้าไกเซอร์ และได้รับพระราชทานพระยศเป็นนายเรือตรีแห่งราชนาวีสยาม๑๗
พร้อมกันไปด้วย (แต่มิได้
ประจําการในจักพรรดินาวีเยอรมัน)
ระหว่างเวลา ๓ ปี ที่ทรงรับราชการในกองทัพเรือเยอรมัน สมเด็จฯ พระบรมราชชนก มักจะ
เสด็จแปรพระราชฐาน ไปยังเมืองและประเทศต่างๆ ในช่วงพักระหว่างภาคการศึกษาแต่ละปี เพื่อทรงเยี่ยม
เยือนสถานที่ และทําความรู้จักกับบุคคลสําคัญในแต่ละประเทศ โดยทรงมีพระราชดําริว่าเพื่อ "…ให้คุ้นเคย
ไว้สําหรับราชการต่อไปข้างน่า…"
เช่นเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ พระองค์ได้เสด็จประพาสประเทศเดนมาร์ก และทรงได้เข้าเฝ้า
เจ้าชายวาลเดมาร์ (Prince Valdemar) พระราช
อนุชาพระเจ้าเฟรเดอริคที่ ๘ (Frederik VIII) แห่ง
เดนมาร์ก โดยได้ประทับที่พระราชวังฤดูร้อนแบน
สตอร์ฟ (Bernstorff) ณ กรุงโคเปนเฮเกน และทรง
ร่วมเสวยพระกระยาหารค่ํากับพระเจ้าเฟรเดอริคที่
๘ ด้วย ได้มีโอกาสพบปะคุ้นเคยกับเจ้านายชั้นสูง
จากประเทศต่างๆ อีกหลายพระองค์ ได้แก่
จักรพรรดินีแห่งรัสเซีย สมเด็จพระนางเจ้าอเล็กซานดรา (Alexandra) แห่งอังกฤษ และกษัตริย์แห่งกรีซ
ฯลฯ ยังประโยชน์อย่างมาก เมื่อทรงเป็นผู้แทนพระองค์ หรือตัวแทนประเทศสยามในการเดินทางเจรจาขอ
ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาการศึกษา การแพทย์ และการสาธารณสุขในระยะเวลาต่อมา
ได้รับลายพระหัตถ์จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ให้ทรงเปลี่ยนไปเรียนวิชาทหารเรือ พอพระองค์
สอบไล่สําเร็จจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกจะไปรับราชการเป็นนายสิบประจํากรมกองอย่างนักเรียนอื่นๆ ได้แล้ว แต่
พระองค์ต้องเสด็จไปเป็นนักเรียนนายเรือที่เมืองเฟลนส์บูรก์ และสอบไล่เป็นนักเรียนนายเรือที่เมืองคีล รับสั่งว่าการฝึกเป็น
นักเรียนนายเรือหนักมากหน่อย เพราะว่าต้องฝึกอย่างพลทหารเสียทุกสิ่งทุกอย่าง มีการตีกันเชียงเรือทุกวัน ถูล้างดาดฟ้า
เรือ และหัดเป็นช่างไฟใส่ถ่านหิน รับสั่งว่าสนุกมาก รับสั่งว่าต้องทําหน้าที่ทุกอย่างๆ ที่นักเรียนเยอรมันเขาต้องฝึกกัน”
๑๗
หนังสือนี้ใช้ชื่อเรียกประเทศว่า “สยาม” ตามความเป็นจริงในขณะนั้น เพราะล้นเกล้ารัชกาลที่ ๔ ได้เปลี่ยนจากคําว่ากรุง
ศรีอยุธยาฯ มาใช้คําว่าประเทศสยามในการติดต่อกับต่างบ้านต่างเมือง และได้รับความนิยมใช้มาโดยตลอด ดังจะเห็นได้
จากการที่ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ ทรงระบุนามพระองค์เองว่า “สยามินทร์” คําว่า “สยามประเทศ” เพิ่งถูกเปลี่ยนไปใช้ “ประเทศ
ไทย” ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อย่างไรก็ดี จะพบคําว่า “สยาม” และ “ไทย” ปรากฏอยู่ในเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง
กับสมเด็จฯ พระบรมราชชนก เป็นจํานวนมาก ทั้งที่เป็นจดหมาย และที่เป็นเอกสารประเภทบทความ หรือบันทึกความทรง
จํา เข้าใจว่าเป็นช่วงคาบเกี่ยว ซึ่งน่าจะนําไปสู่การศึกษาของนักประวัติศาสตร์ ถึงความเป็นมาของการเปลี่ยนชื่อประเทศ
แทนที่จะกล่าวเพียงลอยๆ ว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นผู้เปลี่ยนชื่อประเทศ
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๑ --
แลเมื่อทรงเสด็จกลับมาศึกษาในเยอรมัน ก็ทรงรับการฝึกภาคทฤษฎีและการฝึกภาคสนามอย่าง
หนัก ทรงฝึกร่วมกับนักเรียนนายเรือเยอรมันที่เมืองมือร์วิค ๖ สัปดาห์ จนได้เข้าร่วมพิธีสาบานธงของ
นักเรียนนายเรือ (Crew 1912) วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ ต่อจากนั้น ได้ร่วมฝึกภาคทะเลในเรือ
ฝึกวิคตอเรีย หลุยส์ (S.M.S. Victoria Louise) ซึ่งเป็นเรือหุ้มเกราะขนาดใหญ่ ระวางขับน้ํา ๕,๖๐๐ ตัน มี
นาวาเอก เฟรย์ เป็นผู้บังคับการเดินเรือตระเวนไปยังพื้นที่สําคัญๆ ของโลก อันได้แก่ ทะเลบอลติก ทะเล
เหนือ อเมริกากลาง และหมู่เกาะอินเดียตะวันตก ฯลฯ รวมระยะเวลาการฝึก ๑๐ เดือน๑๘
และได้รับการ
ยกย่องจากผู้บังคับการเรือถึงความอุตสาหะและความรับผิดชอบ แม้จะมีพระวรกายเล็กกว่าทหารเรืออื่นๆ
และมีพระโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลําไส้
เสร็จจากการฝึกภาคทะเล ได้เสด็จกลับมาศึกษาวิชาการทหารเรือ อันได้แก่ การทหาร การเรือ
การเดินเรือ การต่อเรือ เครื่องยนต์ ไฟฟ้า คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศและกีฬา ฯลฯ เป็นเวลา ๑๑
เดือน ที่โรงเรียนนายเรือมือร์วิค (Marineschule Murwik) ก่อนจะเสด็จไปฝึกหัดวิชาการทหารราบในกอง
พันนาวิกโยธินที่ ๒ (II Seebattaillon) เมืองวิลเฮมส์เฮาเฟน ในหลักสูตรการตอร์ปิโดหุ้มเกราะวือร์เทม
แบร์ก (S.M.S Wurttemberg) และได้ฝึกหัดหลักสูตรสุดท้าย เป็นวิชาการปืนใหญ่ทหารเรือ
(Marineartillerie Schule) ที่เมืองซอนเดอร์บวร์ก
๑๘
ทรงบันทึกเหตุการณ์เป็นภาษาเยอรมัน พร้อมภาพถ่าย ไปรษณียบัตร พร้อมเอกสารประกอบ ในสมุดจดหมายเหตุความ
หนา ๑๘๐ หน้า

More Related Content

Viewers also liked

17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
สุรพล ศรีบุญทรง
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
สุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
สุรพล ศรีบุญทรง
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
สุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (11)

17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗ -- ทรงศึกษาในต่างประเทศ เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑๔ พรรษา (๒๔๔๘) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บรมชนกนาถ โปรดให้ออกไปศึกษาวิชาในต่างประเทศเช่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และพระเจ้าลูก เธอทั้งหลาย โดยได้เสด็จไปพร้อมกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธออีก ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้า ฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย มีกรมทหารเรือจัดเรือพระที่นั่งมหาจักรีไปส่งที่ท่าเรือ สิงคโปร์ ก่อนจะต่อเรือเดินสมุทรไปยังประเทศอังกฤษ เพื่อทรงศึกษาภาษาต่างประเทศ และเตรียมศึกษาต่อ ในขั้นที่สูงขึ้น โดยประทับที่บ้านของครอบครัววีมส์ (Wemyss) จนกระทั่งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ จึง ทรงเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนแฮร์โรว์ (Harrow) เป็นเวลาปีครึ่ง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรมชนกนาถได้เจริญสัมพันธไมตรีใกล้ชิดกับ จักรพรรดิเยอรมัน ทรงมีพระราชประสงค์ให้สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ได้ถวายการรับใช้แด่จักรพรรดิไก เซอร์วิลเฮล์มที่ ๒ (Wilhelm II) ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาปรากฏในพระราชนิพนธ์เรื่อง "ไกลบ้าน" ใน ระหว่างการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๕๐ ว่า “...เอมเปอเรอพาพ่อไปให้พักที่ห้อง...ซึ่งได้จัดไว้โดยเรียบร้อยอย่างดี อยู่ข้างจะเล่นหัวหยอก เอินกับบริพัตรมาก เปนเจ้าเข้าเจ้าของทีเดียว พ่อได้ทูลว่าจะส่งลูกแดงมาถวายอีก รับแขงแรง ยังซ้ําไป กระซิบบริพัตรให้คิดอ่านเตือนพ่อให้ ตกลงส่งเสียเรวๆ จะได้หาครูบาอาจารย์ให้สอน บรรดานักเรียน ทหารอยู่ข้างจะ โปรดปรานมาก เอาเปนธุระจริงๆ กําชับแล้วกําชับเล่าให้ส่งมาอีก “ สมเด็จฯ พระบรมราชชนก จึงเสด็จไปศึกษาวิชาเตรียมนายร้อยทหารบกที่โรงเรียนนายร้อยหลวง ชั้นประถม ดาส เคอนิคลิซ ปรอยซิสเซ คาเดทเทนเฮาส์ เมืองปอตต์สดัม ประเทศ เยอรมนี (Das Koniglich Kadettenhaus) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ และใช้เวลาศึกษาในโรงเรียนดังกล่าวเป็นเวลา ๒ ปี การศึกษาในโรงเรียนเตรียมนายร้อยของเยอรมันนี้ เป็นหลักสูตรวิชาสามัญแบบหลักสูตรโรงเรียน พลเรือน เพียงแต่ต้องทรงอยู่ในระเบียบวินัยและจรรยามารยาทอย่างเคร่งครัด และมีการฝึกอบรมวินัย
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘ -- อย่างนักเรียนนายทหาร โดยจักรพรรดิไกเซอร์วิลเฮล์มที่ ๒ ทรงแต่งตั้งร้อยเอก เอ๊ค เป็นนายทหารพระพี่ เลี้ยงประจําพระองค์ ซึ่งปรากฏว่าร้อยเอกเอ๊กได้กํากับควบคุมพระองค์ท่านอย่างเคร่งครัดมาก ซึ่งปรากฏ ว่าพระองค์กลับทรงพอพระทัย มีพระราชดํารัสต่อพลตรีพระศักดาพลรักษ์ ในฐานะพระสหาย๑๓ ว่า “ดีแก เขาบังคับฉันอย่างนี้มากๆ เพราะว่าทางเมืองไทยเขาพะนอตัวฉันเคยตัวไปหมด สบายเกินไป” อีกทั้งทรงมีน้ํา พระทัยมุ่งมั่นที่จะนําความรู้กลับใช้พัฒนาประเทศดังได้เคยตรัสต่อพลตรีพระศักดาพลรักษ์ว่า “เรา กลับไปประเทศไทยต้องช่วยกันทํางานทางทหารบกอย่างเข้มแข็ง” ทรงได้รับการศึกษาด้านศิลปศาสตร์อันได้แก่วิชาด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ทั้งยังทรงศึกษาเพิ่มเติมด้วยพระองค์เอง และทรงสนพระทัยเสด็จไปพิพิธภัณฑ์อยู่เป็นประจํา ทรงศึกษาภาษาเยอรมันจนสามารถเข้าพระทัยในบทประพันธ์ของ เกอเต (Goethe’) ได้เป็นอย่างดี ทรงมี อัจฉริยภาพด้านงานศิลปะ ได้ทรงเขียนภาพลายเส้น และภาพสีอันสวยงามไว้เป็นจํานวนมาก ๑๓ ครั้งหนึ่ง พลตรีพระศักดาพลรักษ์เคยมีจดหมายทูลขอให้สมเด็จฯ พระบรมราชชนกรับเป็นมหาดเล็ก ได้ทรงตอบกลับมา ว่า “น้อม ฉันนับเธอในฐานะเพื่อนตลอดชีวิต เธอจะเป็นมหาดเล็กไม่ได้ เรารักกันทางจิตใจ เราไม่ใช่ญาติกันทางสายโลหิต” ความ เป็นพระสหายสนิทของพลตรีพระศักดาพลรักษ์มีมากจนกระทั่งสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชชนนี ได้เคยรับสั่งต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชว่า “เล็ก อยากรู้อะไรจากทูลหม่อมป๋า ถามพระศักดาฯ เขาก็ได้ เขารู้เรื่อง มากกว่าแม่”
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙ -- ต่อมาทรงย้ายไปโรงเรียนนายร้อยหลวงชั้นมัธยม เฮาบท์ คาเดทเทน อัลสทัลท์ โรซ ลิซเตอร์ เฟลด์ (Haupt Kadettenanstalt Gross Lichterfelde) ที่ชานเมืองเบอร์ลิน อีก ๒ ปี ทรงสอบทําคะแนน ได้ในระดับดีมาก ในบรรดานักเรียนเยอรมันกว่า ๔๐๐ คนที่ได้เรียนร่วมกันนั้น มีผู้สามารถทําคะแนนได้ เสมอพระองค์เพียงคนเดียว ทรงสอบไล่ได้ชั้นเฟนริช๑๔ ซึ่งหากศึกษาและฝึกหัดอีก ๑ ปีเศษ ก็จะจบหลักสูตร ร้อยตรีทหารบกเยอรมัน แต่เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระราชชนก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ (๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓) ทําให้ต้องทรงเสด็จกลับมาร่วมงานถวายพระเพลิงพระ บรมศพ (๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๔) และร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว และจากการเสด็จกลับมางานพระราชพิธีฯ ดังกล่าวนี้เอง ก็ทรงได้รับทราบพระราชประสงค์ของ พระเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ที่จะให้พระองค์กลับมาช่วยงาน ราชการทหารเรือ ซึ่งยังขาดแคลนนายทหารเรือที่มีความรู้ความสามารถที่จะมา ช่วยปรับปรุงกองทัพเรือให้เจริญก้าวหน้า สามารถปกป้องภัยคุกคามที่มาทาง ทะเล การมีกําลังทหารเรือที่เข้มแข็งตามมาตรฐานสากลนับเป็นความจําเป็น เร่งด่วนในขณะนั้น ๑๕ จึงทรงยุติการศึกษาหลักสูตรนายร้อยทหารบกลงกลางคัน ได้เพียงชั้นนายสิบ เพื่อเปลี่ยนไปเรียนด้านการทหารเรือแทน นักเรียนนายเรือเยอรมัน เมื่อทรงสําเร็จชั้นนายสิบจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงค์ให้เปลี่ยนไปศึกษา วิชาการทหารเรือ๑๖ จึงได้ทรงสมัครสอบเข้าเรียนในจักพรรดินาวีเยอรมัน ณ ๑๔ ดังมีปรากฏในเอกสารของทางสยามที่บันทึกผลการเรียนของพระองค์ในขณะนั้นไว้ว่า “...สมเด็จพระเจ้าน้องยา เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ฯ ได้ทรงทํา การสอบไล่วิชาเฟนริก ณ โรงเรียนนายร้อยชั้นสูงของ เยอรมันสําเร็จแล้ว คือ ทรงได้คะแนนแต้มตามหลักสูตรเรียกอย่างเยอรมันว่า "Sehrgut" พิเศษ ซึ่ง ปกติได้ โดยการเขียนแล แต่งเรียงคําถาม ได้อย่างดี ไม่ต้องสอบปาก การที่ทรงสอบได้เช่นนี้นับว่าเป็น แต้มชั้นสูง ถึงนักเรียนเยอรมันเองก็ไม่ใคร่จะทําได้... ทําให้มีผู้ชมเชยมากที่พระองค์เป็นนักเรียนไทย คนแรกที่ทําการสอบไล่ได้แต้มเช่นนี้...” ๑๕ สอดคล้องกับเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) ที่สยามต้องเสียดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่นํ้าโขง เนื่องจากไม่สามารถ ต่อต้านอํานาจทางกองทัพเรือของฝรั่งเศส และเป็นที่ทราบกันดีว่าจักพรรดินาวีเยอรมันนั้นมีความยิ่งใหญ่เกรียงไกรมาก โดยเฉพาะกองเรือดํานํ้าที่สามารถสร้างผลงานอันโดดเด่นในสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ๑๖ ทรงมีจดหมายลายพระหัตถ์ไปยังพลตรีพระศักดาพลรักษ์พระสหายถึงเหตุการณ์ในช่วงนี้ โดยพลตรีพระศักดาพลรักษ์ได้ เล่าว่า “... เสียพระทัยที่จะไม่ได้รับราชการอยู่ร่วมกับข้าพเจ้า (พลตรีพระศักดาพลรักษ์) ในกองทัพบก เพราะว่าพระองค์
  • 4. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐ -- เมืองเฟลนส์บูร์ (Imperial German Naval College ณ Fleusburg) ซึ่งแม้ว่าพระจักรพรรดิไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ ๒ จะมีความสนิทสนมผูกพันกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างดี แต่คงยัง ต้องสอบ และสอบผ่านได้เป็นอย่างดี ได้ทรงชนะการประกวดการออกแบบเรือดําน้ําในระหว่างเรียน และทรงสอบไล่ได้เป็นที่ ๒ เมื่อมี พระชนมายุได้ ๒๑ ปี (๒๔๕๔) ได้รับพระราชทานยูนิฟอร์มตําแหน่งยศนายเรือตรีของเยอรมันจากสมเด็จ พระเจ้าไกเซอร์ และได้รับพระราชทานพระยศเป็นนายเรือตรีแห่งราชนาวีสยาม๑๗ พร้อมกันไปด้วย (แต่มิได้ ประจําการในจักพรรดินาวีเยอรมัน) ระหว่างเวลา ๓ ปี ที่ทรงรับราชการในกองทัพเรือเยอรมัน สมเด็จฯ พระบรมราชชนก มักจะ เสด็จแปรพระราชฐาน ไปยังเมืองและประเทศต่างๆ ในช่วงพักระหว่างภาคการศึกษาแต่ละปี เพื่อทรงเยี่ยม เยือนสถานที่ และทําความรู้จักกับบุคคลสําคัญในแต่ละประเทศ โดยทรงมีพระราชดําริว่าเพื่อ "…ให้คุ้นเคย ไว้สําหรับราชการต่อไปข้างน่า…" เช่นเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ พระองค์ได้เสด็จประพาสประเทศเดนมาร์ก และทรงได้เข้าเฝ้า เจ้าชายวาลเดมาร์ (Prince Valdemar) พระราช อนุชาพระเจ้าเฟรเดอริคที่ ๘ (Frederik VIII) แห่ง เดนมาร์ก โดยได้ประทับที่พระราชวังฤดูร้อนแบน สตอร์ฟ (Bernstorff) ณ กรุงโคเปนเฮเกน และทรง ร่วมเสวยพระกระยาหารค่ํากับพระเจ้าเฟรเดอริคที่ ๘ ด้วย ได้มีโอกาสพบปะคุ้นเคยกับเจ้านายชั้นสูง จากประเทศต่างๆ อีกหลายพระองค์ ได้แก่ จักรพรรดินีแห่งรัสเซีย สมเด็จพระนางเจ้าอเล็กซานดรา (Alexandra) แห่งอังกฤษ และกษัตริย์แห่งกรีซ ฯลฯ ยังประโยชน์อย่างมาก เมื่อทรงเป็นผู้แทนพระองค์ หรือตัวแทนประเทศสยามในการเดินทางเจรจาขอ ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาการศึกษา การแพทย์ และการสาธารณสุขในระยะเวลาต่อมา ได้รับลายพระหัตถ์จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ให้ทรงเปลี่ยนไปเรียนวิชาทหารเรือ พอพระองค์ สอบไล่สําเร็จจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกจะไปรับราชการเป็นนายสิบประจํากรมกองอย่างนักเรียนอื่นๆ ได้แล้ว แต่ พระองค์ต้องเสด็จไปเป็นนักเรียนนายเรือที่เมืองเฟลนส์บูรก์ และสอบไล่เป็นนักเรียนนายเรือที่เมืองคีล รับสั่งว่าการฝึกเป็น นักเรียนนายเรือหนักมากหน่อย เพราะว่าต้องฝึกอย่างพลทหารเสียทุกสิ่งทุกอย่าง มีการตีกันเชียงเรือทุกวัน ถูล้างดาดฟ้า เรือ และหัดเป็นช่างไฟใส่ถ่านหิน รับสั่งว่าสนุกมาก รับสั่งว่าต้องทําหน้าที่ทุกอย่างๆ ที่นักเรียนเยอรมันเขาต้องฝึกกัน” ๑๗ หนังสือนี้ใช้ชื่อเรียกประเทศว่า “สยาม” ตามความเป็นจริงในขณะนั้น เพราะล้นเกล้ารัชกาลที่ ๔ ได้เปลี่ยนจากคําว่ากรุง ศรีอยุธยาฯ มาใช้คําว่าประเทศสยามในการติดต่อกับต่างบ้านต่างเมือง และได้รับความนิยมใช้มาโดยตลอด ดังจะเห็นได้ จากการที่ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ ทรงระบุนามพระองค์เองว่า “สยามินทร์” คําว่า “สยามประเทศ” เพิ่งถูกเปลี่ยนไปใช้ “ประเทศ ไทย” ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อย่างไรก็ดี จะพบคําว่า “สยาม” และ “ไทย” ปรากฏอยู่ในเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง กับสมเด็จฯ พระบรมราชชนก เป็นจํานวนมาก ทั้งที่เป็นจดหมาย และที่เป็นเอกสารประเภทบทความ หรือบันทึกความทรง จํา เข้าใจว่าเป็นช่วงคาบเกี่ยว ซึ่งน่าจะนําไปสู่การศึกษาของนักประวัติศาสตร์ ถึงความเป็นมาของการเปลี่ยนชื่อประเทศ แทนที่จะกล่าวเพียงลอยๆ ว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นผู้เปลี่ยนชื่อประเทศ
  • 5. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๑ -- แลเมื่อทรงเสด็จกลับมาศึกษาในเยอรมัน ก็ทรงรับการฝึกภาคทฤษฎีและการฝึกภาคสนามอย่าง หนัก ทรงฝึกร่วมกับนักเรียนนายเรือเยอรมันที่เมืองมือร์วิค ๖ สัปดาห์ จนได้เข้าร่วมพิธีสาบานธงของ นักเรียนนายเรือ (Crew 1912) วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ ต่อจากนั้น ได้ร่วมฝึกภาคทะเลในเรือ ฝึกวิคตอเรีย หลุยส์ (S.M.S. Victoria Louise) ซึ่งเป็นเรือหุ้มเกราะขนาดใหญ่ ระวางขับน้ํา ๕,๖๐๐ ตัน มี นาวาเอก เฟรย์ เป็นผู้บังคับการเดินเรือตระเวนไปยังพื้นที่สําคัญๆ ของโลก อันได้แก่ ทะเลบอลติก ทะเล เหนือ อเมริกากลาง และหมู่เกาะอินเดียตะวันตก ฯลฯ รวมระยะเวลาการฝึก ๑๐ เดือน๑๘ และได้รับการ ยกย่องจากผู้บังคับการเรือถึงความอุตสาหะและความรับผิดชอบ แม้จะมีพระวรกายเล็กกว่าทหารเรืออื่นๆ และมีพระโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลําไส้ เสร็จจากการฝึกภาคทะเล ได้เสด็จกลับมาศึกษาวิชาการทหารเรือ อันได้แก่ การทหาร การเรือ การเดินเรือ การต่อเรือ เครื่องยนต์ ไฟฟ้า คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศและกีฬา ฯลฯ เป็นเวลา ๑๑ เดือน ที่โรงเรียนนายเรือมือร์วิค (Marineschule Murwik) ก่อนจะเสด็จไปฝึกหัดวิชาการทหารราบในกอง พันนาวิกโยธินที่ ๒ (II Seebattaillon) เมืองวิลเฮมส์เฮาเฟน ในหลักสูตรการตอร์ปิโดหุ้มเกราะวือร์เทม แบร์ก (S.M.S Wurttemberg) และได้ฝึกหัดหลักสูตรสุดท้าย เป็นวิชาการปืนใหญ่ทหารเรือ (Marineartillerie Schule) ที่เมืองซอนเดอร์บวร์ก ๑๘ ทรงบันทึกเหตุการณ์เป็นภาษาเยอรมัน พร้อมภาพถ่าย ไปรษณียบัตร พร้อมเอกสารประกอบ ในสมุดจดหมายเหตุความ หนา ๑๘๐ หน้า