SlideShare a Scribd company logo
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๔๙ --
การเสด็จต่างประเทศเพื่อเจรจาความเมือง
ระหว่างการเสด็จยุโรปในฐานะตัวแทนสยามเพื่อขอความช่วยเหลือในการพัฒนาด้านการแพทย์ การ
สาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะการขอความช่วยเหลือจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์นั้น ได้รับทราบข่าว
พระขนิษฐา สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ ซึ่งทรง
ประชวรด้วยโรคพระวักกะ จนได้รับคําแนะนําให้เสด็จไป
รับการผ่าตัดที่ประเทศอังกฤษ สมเด็จฯ พระบรมราช
ชนกและพระชายาจึงต้องเสด็จกลับมากรุงเทพฯ ในปี
พ.ศ. ๒๔๖๕ เพื่อตามเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลย
อลงกรณ์ ไปรับการผ่าตัดที่ประเทศอังกฤษ โดยเรือซี
แลนเดียที่ประทับได้แวะผ่านประเทศอียิปต์ จึงมีโอกาส
ได้เสด็จประพาสปิรามิด และทรงอูฐในระหว่างการเสด็จ
ด้วย
เรือซีแลนเดียที่ทรงประทับไปจอดเทียบท่าที่
อิตาลี ได้ทรงประทับรถไฟต่อไปยังอังกฤษ ซึ่งสมเด็จ
เจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
เอาไตออกหนึ่งข้าง แล้วจึงเสด็จไปยังโรงแรมบัวส์เดอบูโลญ (Hôtel du Bois de Boulougne) เมืองปารีส
ฝรั่งเศส เพื่อประทับพักฟื้น อย่างไรก็ตาม สมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้ทรงประชวรอีกครั้งจนต้องขอให้
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร เสด็จมาเฝ้าดูแลพระขนิษฐาแทน ส่วนตัวพระองค์เองได้เสด็จ
ไปพักฟื้นที่สถานทูตฝรั่งเศส และคงจะเป็นสถานที่นี้เองซึ่งพลตรีหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล ผู้ช่วยทูต
ในราชการทหารบกประจําประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ ได้เล่าถึงช่วงที่เคยเข้าเฝ้าสมเด็จฯ พระบรมราชชนก
ณ กรุงปารีส เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ ว่า
ทรงตรัสเล่าด้วยพระพักตร์เป็นปกติว่า "หมอเขาได้ตรวจร่างกายฉันแล้ว ว่าจะมีชีวิตอยู่ไปได้อีกไม่นาน
เพราะอวัยวะภายในหลายอย่างล้วนแต่ไม่ดี" แสดงให้เห็นถึงน้ําพระทัยอันสูงส่งบรรลุถึงมรณานุสติธรรม
สอดคล้องกับบันทึกของ ดร. เอ จี เอลลิส ที่ว่า “ .... อันที่จริงก่อนจะเสด็จกลับสยาม ในปี พ.ศ.๒๔๖๖
นายแพทย์คนหนึ่งที่ยุโรปได้กราบทูลว่าจะทรงมีพระชนม์อีกไม่เกิน ๒ ปี (เป็นคําพูดที่ไม่พึงปรารถนาที่สุดที่แพทย์ควร
พูด และสําหรัคนไข้ เป็นเมฆก้อนดําที่มาครอบคลุมชีวิตอยู่” อย่างไรก็ดี หลังจากทรงทุเลาจากการประชวรครั้ง
นี้ เสด็จไปกรุงลอนดอน ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ เพื่อปฏิบัติพระราชภารกิจต่อ
พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางเธอ กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ในระหว่างประทับพักอยู่ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร พระชายาได้มีพระประสูติกาล
พระธิดาพระองค์แรกในวันอาทิตย์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยนามแรกประสูติตามที่โรงพยาบาลตั้ง
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๐ --
ถวายคือ May ตามเดือนที่ประสูติ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ พระราชทานพระนามว่า หม่อมเจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา มหิดล โดยทรงมีพระประสงค์จะใช้เวลา
ระหว่างพํานักอยู่ในสหราชอาณาจักรเข้าศึกษาวิชาแพทย์ต่อให้จบ๖๓
ได้ทรงแวะประทับที่มหาวิทยาลัยเอดิน
เบรอะ ในสก๊อตแลนด์๖๔
แต่ด้วยสภาพอากาศที่ไม่เอื้อต่อพระพลานามัยทําให้ต้องเปลี่ยนพระทัย ดังลาย
พระหัตถเลขาถึง มจ. พูนศรีเกษม เกษมศรี (๑๓ มิย. ๒๔๖๖) ความว่า
“ฉันเคราะหรายเสียจริงๆ ที่เจ็บเทาไรก็ไมหาย เมื่อเดือนเมษายนนี้ ฉันไปตั้งตนเรียนที่
Edinburgh แตพอกลางเทอมก็ตองเลิกเพราะโรคยังไมหาย ที่จริง ใจฉันรอน รีบตั้งตนเร็วเกินไปเลยไม
สบายอีก บัดนี้หมอตัดสินวาเปนโรค Kidney เสียเลยจะพาลหามไมใหอยูเมืองอังกฤษ เพราะอากาศที่นี่
ชื้นและหนาวไป ฉันเลยลังเลวาจะทําอะไรดี มีแปลนสอง
อยาง (๑) อยูรักษาตัวจนหายเจ็บแลวกลับกรุงเทพฯ
ราวเดือนตุลาคมและกลับไปทํางานที่กรุงเทพฯ เมื่อมีโอกาสจึง
คอยคิดอานออกมาเรียนเอาปริญญา M.D. อีกทีหนึ่ง (๒)
เพราะหมอหามไมใหอยูในเมืองอังกฤษ แตไมไดหามไมให
เรียน เพราะฉะนั้นบางทีฉันจะไปเรียนที่ California ที่นั่น
อากาศอุนสบายดี”
“ผลของการรักษาก็ไดแตวา หัวใจดีขึ้น แตเรื่องไต
รั่ว๖๕
นั้นไดความวารักษาไมหาย ไดคําแนะนําใหระวังตัวอยา
ใหมี Inflammation เทานั้น ถาไมมีอะไรเกิดขึ้นแลว
การรั่วก็คงอยูเทานั้น ซึ่งยังไมถึงจะขาด Efficiency
ฉันยังไมตกลงจะกลับกรุงเทพฯ หรือจะเขาเรียนตอที่
สหรัฐอเมริกา แตหมอเห็นวาถาเรียนตอแลวจะสบายใจ
มากกวา”
๖๓
หน่วยกิต (credit) ในยุโรปนั้นสามารถโอนข้ามมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองมาตรฐานได้
๖๔
เบื้องต้น ทรงประสงค์ทีจะเรียนต่อที่ลอนดอน แต่ปรากฏว่าระบบการนับหน่วยกิตที่นั้นกําหนดให้ต้องใช้เวลาศึกษาต่อถึง
๓ ปี จึงทรงเสด็จไปที่เอดินเอระ (ประเทศสก๊อตแลนด์อนุญาตให้เรียนจบได้ใน ๒ ปี) โดยลําพังพระองค์เพื่อศึกษาลู่ทางใน
การศึกษาต่อ อย่างไรก็ตาม เมื่อทรงเสด็จไปเอดินเบอระก็พบว่าอากาศที่นั้นหนาวมาก ทรงประชวรจนต้องเลิกล้มความ
ตั้งใจลง อีกทั้งเป็นช่วงที่ หม่อมเจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา มหิดล มีพระประสูติกาล จึงได้เสด็จกลับมาลอนดอน
๖๕
คําว่า “ไตรั่ว” นั้นหมายถึงการมีโปรตีนไข่ขาว หรือ อัลบูมิน ปรากฏอยู่ในปัสสาวะ แสดงว่าความสามารถในการกรอง
ของไตเสื่อมลง มิได้มีความหมายว่าเนื้อไตฉีกรั่ว

More Related Content

Viewers also liked

17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
สุรพล ศรีบุญทรง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
สุรพล ศรีบุญทรง
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
สุรพล ศรีบุญทรง
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
สุรพล ศรีบุญทรง
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
สุรพล ศรีบุญทรง
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
สุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (11)

17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๔๙ -- การเสด็จต่างประเทศเพื่อเจรจาความเมือง ระหว่างการเสด็จยุโรปในฐานะตัวแทนสยามเพื่อขอความช่วยเหลือในการพัฒนาด้านการแพทย์ การ สาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะการขอความช่วยเหลือจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์นั้น ได้รับทราบข่าว พระขนิษฐา สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ ซึ่งทรง ประชวรด้วยโรคพระวักกะ จนได้รับคําแนะนําให้เสด็จไป รับการผ่าตัดที่ประเทศอังกฤษ สมเด็จฯ พระบรมราช ชนกและพระชายาจึงต้องเสด็จกลับมากรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๕ เพื่อตามเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลย อลงกรณ์ ไปรับการผ่าตัดที่ประเทศอังกฤษ โดยเรือซี แลนเดียที่ประทับได้แวะผ่านประเทศอียิปต์ จึงมีโอกาส ได้เสด็จประพาสปิรามิด และทรงอูฐในระหว่างการเสด็จ ด้วย เรือซีแลนเดียที่ทรงประทับไปจอดเทียบท่าที่ อิตาลี ได้ทรงประทับรถไฟต่อไปยังอังกฤษ ซึ่งสมเด็จ เจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด เอาไตออกหนึ่งข้าง แล้วจึงเสด็จไปยังโรงแรมบัวส์เดอบูโลญ (Hôtel du Bois de Boulougne) เมืองปารีส ฝรั่งเศส เพื่อประทับพักฟื้น อย่างไรก็ตาม สมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้ทรงประชวรอีกครั้งจนต้องขอให้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร เสด็จมาเฝ้าดูแลพระขนิษฐาแทน ส่วนตัวพระองค์เองได้เสด็จ ไปพักฟื้นที่สถานทูตฝรั่งเศส และคงจะเป็นสถานที่นี้เองซึ่งพลตรีหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล ผู้ช่วยทูต ในราชการทหารบกประจําประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ ได้เล่าถึงช่วงที่เคยเข้าเฝ้าสมเด็จฯ พระบรมราชชนก ณ กรุงปารีส เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ ว่า ทรงตรัสเล่าด้วยพระพักตร์เป็นปกติว่า "หมอเขาได้ตรวจร่างกายฉันแล้ว ว่าจะมีชีวิตอยู่ไปได้อีกไม่นาน เพราะอวัยวะภายในหลายอย่างล้วนแต่ไม่ดี" แสดงให้เห็นถึงน้ําพระทัยอันสูงส่งบรรลุถึงมรณานุสติธรรม สอดคล้องกับบันทึกของ ดร. เอ จี เอลลิส ที่ว่า “ .... อันที่จริงก่อนจะเสด็จกลับสยาม ในปี พ.ศ.๒๔๖๖ นายแพทย์คนหนึ่งที่ยุโรปได้กราบทูลว่าจะทรงมีพระชนม์อีกไม่เกิน ๒ ปี (เป็นคําพูดที่ไม่พึงปรารถนาที่สุดที่แพทย์ควร พูด และสําหรัคนไข้ เป็นเมฆก้อนดําที่มาครอบคลุมชีวิตอยู่” อย่างไรก็ดี หลังจากทรงทุเลาจากการประชวรครั้ง นี้ เสด็จไปกรุงลอนดอน ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ เพื่อปฏิบัติพระราชภารกิจต่อ พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางเธอ กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในระหว่างประทับพักอยู่ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร พระชายาได้มีพระประสูติกาล พระธิดาพระองค์แรกในวันอาทิตย์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยนามแรกประสูติตามที่โรงพยาบาลตั้ง
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๐ -- ถวายคือ May ตามเดือนที่ประสูติ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานพระนามว่า หม่อมเจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา มหิดล โดยทรงมีพระประสงค์จะใช้เวลา ระหว่างพํานักอยู่ในสหราชอาณาจักรเข้าศึกษาวิชาแพทย์ต่อให้จบ๖๓ ได้ทรงแวะประทับที่มหาวิทยาลัยเอดิน เบรอะ ในสก๊อตแลนด์๖๔ แต่ด้วยสภาพอากาศที่ไม่เอื้อต่อพระพลานามัยทําให้ต้องเปลี่ยนพระทัย ดังลาย พระหัตถเลขาถึง มจ. พูนศรีเกษม เกษมศรี (๑๓ มิย. ๒๔๖๖) ความว่า “ฉันเคราะหรายเสียจริงๆ ที่เจ็บเทาไรก็ไมหาย เมื่อเดือนเมษายนนี้ ฉันไปตั้งตนเรียนที่ Edinburgh แตพอกลางเทอมก็ตองเลิกเพราะโรคยังไมหาย ที่จริง ใจฉันรอน รีบตั้งตนเร็วเกินไปเลยไม สบายอีก บัดนี้หมอตัดสินวาเปนโรค Kidney เสียเลยจะพาลหามไมใหอยูเมืองอังกฤษ เพราะอากาศที่นี่ ชื้นและหนาวไป ฉันเลยลังเลวาจะทําอะไรดี มีแปลนสอง อยาง (๑) อยูรักษาตัวจนหายเจ็บแลวกลับกรุงเทพฯ ราวเดือนตุลาคมและกลับไปทํางานที่กรุงเทพฯ เมื่อมีโอกาสจึง คอยคิดอานออกมาเรียนเอาปริญญา M.D. อีกทีหนึ่ง (๒) เพราะหมอหามไมใหอยูในเมืองอังกฤษ แตไมไดหามไมให เรียน เพราะฉะนั้นบางทีฉันจะไปเรียนที่ California ที่นั่น อากาศอุนสบายดี” “ผลของการรักษาก็ไดแตวา หัวใจดีขึ้น แตเรื่องไต รั่ว๖๕ นั้นไดความวารักษาไมหาย ไดคําแนะนําใหระวังตัวอยา ใหมี Inflammation เทานั้น ถาไมมีอะไรเกิดขึ้นแลว การรั่วก็คงอยูเทานั้น ซึ่งยังไมถึงจะขาด Efficiency ฉันยังไมตกลงจะกลับกรุงเทพฯ หรือจะเขาเรียนตอที่ สหรัฐอเมริกา แตหมอเห็นวาถาเรียนตอแลวจะสบายใจ มากกวา” ๖๓ หน่วยกิต (credit) ในยุโรปนั้นสามารถโอนข้ามมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองมาตรฐานได้ ๖๔ เบื้องต้น ทรงประสงค์ทีจะเรียนต่อที่ลอนดอน แต่ปรากฏว่าระบบการนับหน่วยกิตที่นั้นกําหนดให้ต้องใช้เวลาศึกษาต่อถึง ๓ ปี จึงทรงเสด็จไปที่เอดินเอระ (ประเทศสก๊อตแลนด์อนุญาตให้เรียนจบได้ใน ๒ ปี) โดยลําพังพระองค์เพื่อศึกษาลู่ทางใน การศึกษาต่อ อย่างไรก็ตาม เมื่อทรงเสด็จไปเอดินเบอระก็พบว่าอากาศที่นั้นหนาวมาก ทรงประชวรจนต้องเลิกล้มความ ตั้งใจลง อีกทั้งเป็นช่วงที่ หม่อมเจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา มหิดล มีพระประสูติกาล จึงได้เสด็จกลับมาลอนดอน ๖๕ คําว่า “ไตรั่ว” นั้นหมายถึงการมีโปรตีนไข่ขาว หรือ อัลบูมิน ปรากฏอยู่ในปัสสาวะ แสดงว่าความสามารถในการกรอง ของไตเสื่อมลง มิได้มีความหมายว่าเนื้อไตฉีกรั่ว