SlideShare a Scribd company logo
33
34
35
1. ศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ
การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาขอมูลรายละเอียดอยางเปนระบบ ทั้งจากขอมูลเบื้องตน
จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจาหนาที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ใหไดรายละเอียดที่ถูกตอง เพื่อที่จะพระราชทาน
ความชวยเหลือไดอยางถูกตองและรวดเร็วตามความตองการของประชาชน
2. ระเบิดจากขางใน
หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนที่เราเขาไปพัฒนาใหมีสภาพพรอมที่จะรับการพัฒนาเสียกอน
มิใชการนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบานที่ยังไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว
3. แกปญหาที่จุดเล็ก
ทรงมองปญหาในภาพรวม (macro) กอนเสมอ แตการแกปญหาจะเริ่มจากจุดเล็กๆ (micro) คือ การแกไขปญหา
เฉพาะหนาที่คนมักจะมองขาม
“...ถาปวดหัวคิดอะไรไมออก...ตองแกไขการปวดหัวนี้กอน... เพื่อใหอยูในสภาพที่คิดได...”
4. ทำตามลำดับขั้น
ทรงเริ่มตนจากสิ่งที่จำเปนที่สุดของประชาชนกอน ไดแก สาธารณสุข ตอไปจึงเปนเรื่องสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน
และสิ่งจำเปนสำหรับประกอบอาชีพ
การพัฒนาประเทศตองสรางพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญกอน จึงคอยสรางคอย
เสริมความเจริญและเศรษฐกิจขั้นสูงโดยลำดับตอไป
5. ภูมิสังคม
การพัฒนาใดๆ ตองคำนึงถึง
(1) ภูมิประเทศของบริเวณนั้น (ดิน, น้ำ, ปา, เขา ฯลฯ)
(2) สังคมวิทยา (นิสัยใจคอของผูคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของทองถิ่น)
6. องครวม
• ทรงมีวิธีคิดอยางองครวม (holistic) หรือมองอยางครบวงจร
• ทรงมองเหตุการณที่เกิดขึ้นและแนวทางแกไขอยางเชื่อมโยง
36
7. ไมติดตำรา
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดลอม
และสภาพของสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน “ไมติดตำรา” ไมผูกมัดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมกับสภาพชีวิต
ความเปนอยูที่แทจริงของคนไทย
8. ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด
ทรงใชหลักในการแกไขปญหาดวยความเรียบงายและประหยัด ราษฎรสามารถทำไดเอง หาไดในทองถิ่น และประยุกต
ใชสิ่งที่มีอยูในภูมิภาพนั้นๆ มาแกไขปญหา โดยไมตองลงทุนสูง หรือใชเทคโนโลยีที่ไมยุงยากนัก
“ใหปลูกปา โดยไมตองปลูกปา โดยปลอยใหขึ้นเองตามธรรมชาติ จะไดประหยัดงบประมาณ”
9. ทำใหงาย – simplicity
ทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริโดยงาย ไมยุงยากซับซอน
ทรงโปรดที่จะทำสิ่งยากใหกลายเปนงาย ทำสิ่งที่สลับซับซอนใหเขาใจงาย “ทำใหงาย”
10. การมีสวนรวม
ทรงเปนนักประชาธิปไตย เปดโอกาสใหสาธารณชน ประชาชน หรือเจาหนาที่ทุกระดับไดมารวมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเรื่องที่ตองคำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชน หรือความตองการของสาธารณชน
“ ...ตองหัดทำใจใหกวางขวางหนักแนน รูจักรับฟงความคิดเห็น แมกระทั่งความวิพากษวิจารณจากผูอื่น
อยางฉลาด เพราะการรูจักรับฟงอยางฉลาดนั้นแทจริง คือการระดมสติปญญาและประสบการณอันหลากหลาย
มาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานใหประสบความสำเร็จที่สมบูรณนั่นเอง...”
11. ประโยชนสวนรวม
“...ใครตอใครก็มาบอกวา ขอใหคิดถึงประโยชนสวนรวมอาจมานึกในใจวา ใหๆ อยูเรื่อยแลวสวนตัวจะไดอะไร
ขอใหคิดวา คนที่ใหเพื่อสวนรวมนั้น มิไดใหแตสวนรวมอยางเดียว เปนการใหเพื่อตัวเองสามารถที่มีสวนรวมที่จะ
อาศัยได...” (มข. 2514)
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงระลึกถึงประโยชนของสวนรวมเปนสำคัญเสมอ
12. บริการที่จุดเดียว
ทรงให “ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” เปนตนแบบในการบริหารรวมที่ จุดเดียว เพื่อประโยชน
ตอประชาชนที่จะมาใชบริการ จะประหยัดเวลาและคาใชจาย โดยมีหนวยงานราชการตางๆ มารวมดำเนินการและใหบริการ
ประชาชน ณ ที่แหงเดียว
“...เปนสองดาน ก็หมายถึงวา ที่สำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะไดรับประโยชน และตนทางของเจาหนาที
จะใหประโยชน”
13. ใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ
การเขาใจถึงธรรมชาติและตองการใหประชาชนใกลชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอยางละเอียดถึงปญหาของธรรมชาติ
หากเราตองการแกไขธรรมชาติ จะตองใชธรรมชาติเขาชวยเหลือ เชน การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรมโดยพระราชทานพระราช
ดำริ การปลูกปาโดยไมตองปลูก (ตนไม) ปลอยใหธรรมชาติชวยในการฟนฟูธรรมชาติ
37
14. ใชอธรรมปราบอธรรม
ทรงนำความจริงในเรื่องความเปนไปแหงธรรมชาติและกฎเกณฑของธรรมชาติมาเปนหลักการ และแนวปฏิบัติที่สำคัญ
ในการแกปญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไมปกติเขาสูระบบที่เปนปกติ เชน การนำน้ำดีขับไลน้ำเสีย การใชผักตบชวา
บำบัดน้ำเสียโดยดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ำ
15. ปลูกปาในใจคน
“...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดินและรักษา
ตนไมดวยตนเอง...”
การที่จะฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตองปลูกจิตสำนึกใหคนรักปาเสียกอน
16. ขาดทุนคือกำไร
“...ขาดทุนคือกำไร Our loss is our gain…การเสียคือการได ประเทศก็จะกาวหนา และการที่คนจะอยูดีมีสุขนั้น
เปนการนับที่เปนมูลคาเงินไมได...”
หลักการคือ “การให” และ “การเสียสละ” เปนการกระทำอันมีผลเปนกำไรคือ ความอยูดีมีสุขของราษฎร
“...ถาเราทำอะไรที่เราเสีย แตในที่สุดที่เราเสียนั้นเปนการไดทางออม ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาล
หรืออีกนัยหนึ่งคือเงินของประชาชน ถาอยากใหประชาชนอยูดีกินดีก็ตองลงทุน...”
17. การพึ่งตนเอง
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเพื่อแกไขปญหาในเบื้องตนดวยการแกไขปญหาเฉพาะหนา เพื่อใหเขาแข็งแรงพอ
ที่จะดำรงชีวิตไดตอไป แลวขั้นตอไปก็คือ การพัฒนาใหเขาสามารถอยูในสังคมไดตามสภาพแวดลอม และสามารถ
”พึ่งตนเองได” ในที่สุด
18. พออยูพอกิน
สำหรับประชาชนที่ตกอยูในวงจรแหงความทุกขเข็ญนั้น ไดพระราชทานความชวยเหลือใหเขาสามารถอยูในขั้น
”พออยูพอกิน” เสียกอน แลวจึงคอยขยับขยายใหมีขีดสมรรถนะที่กาวหนาตอไป
“..ถาโครงการดี ในไมชาประชาชนจะไดกำไร จะไดผล ราษฎรจะอยูดีกินดีขึ้น จะไดประโยชนตอไป..”
19. เศรษฐกิจพอเพียง
เปนแนวทางการดำเนินชีวิต เพื่อสรางความเขมแข็งหรือภูมิคุมกันทุกดาน ซึ่งจะสามารถทำใหอยูไดอยางสมดุลในโลก
แหงการเปลี่ยนแปลง
ปรัชญานี้ไดมีการประยุกตใชทั้งระดับบุคคล องคการ ชุมชน และทุกภาคสวนมาแลวอยางไดผล
20. ความซื่อสัตย สุจริต จริงใจตอกัน
“...ผูที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทำประโยชนใหแกสวนรวมได มากกวาผูที่มีความรูมากแตไม
มีความสุจริต ไมมีความบริสุทธิ์ใจ...” (18 มี.ค. 2533)
21. ทำงานอยางมีความสุข
พระบาทสมเด็จอยูหัวทรงพระเกษมสำราญและทรงมีความสุขทุกคราที่จะชวยเหลือประชาชน
“...ทำงานกับฉัน ฉันไมมีอะไรจะใหนอกจากการมีความสุขรวมกัน ในการทำประโยชนใหกับผูอื่น...”
39
เปนปรัชญาการดำรงอยูและปฏิบัติตน – ครอบครัว – บริษัท – องคการ – หนวยงาน
หรือแมแตประเทศชาติ ใหเกิดสมดุลในทามกลางการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและภายใน
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานปรัชญานี้ใหแกคนไทยมานานกวา 25 ปแลว
และรัฐบาลไดถือเอา “ปรัชญาแหงเศรษฐกิจพอเพียง” เปนหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)
1. การเปลี่ยนแปลง
(1) ทุกสิ่งทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลง
(2) การเปลี่ยนแปลงเกิดจากเหตุปจจัย
- ทั้งเหตุปจจัยภายนอกและเหตุปจจัยภายใน
- ทั้งเหตุปจจัยที่เราควบคุมไดและควบคุมไมได
(3) การเปลี่ยนแปลงอาจปรากฏเปนวงจร
- มีทั้งขาขึ้นและขาลง
- อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาขึ้น” ?
- อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาลง” ?
- เราจะคาดหมายและควบคุมไดมากแคไหน ?
(4) ในปจจุบันและอนาคต การเปลี่ยนแปลงจะยิ่งเกิดผลกระทบที่เร็ว – รุนแรง
และกวางขวาง
(5) ผลกระทบนั้นมีทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม
2. ปรัชญา
(1) แนวคิดหลัก คือ ทางสายกลาง
(2) องคประกอบของ ความพอเพียง ไดแก
ก. ความพอประมาณ
ข. ความมีเหตุผล
ค. ความจำเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบ ใด ๆ อันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
3. ปจจัยแหงความสำเร็จ
(1) ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมี
สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต
(2) ใหมีความรอบรูที่เหมาะสม
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)

More Related Content

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
สุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)

  • 1. 33
  • 2. 34
  • 3. 35 1. ศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาขอมูลรายละเอียดอยางเปนระบบ ทั้งจากขอมูลเบื้องตน จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจาหนาที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ใหไดรายละเอียดที่ถูกตอง เพื่อที่จะพระราชทาน ความชวยเหลือไดอยางถูกตองและรวดเร็วตามความตองการของประชาชน 2. ระเบิดจากขางใน หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนที่เราเขาไปพัฒนาใหมีสภาพพรอมที่จะรับการพัฒนาเสียกอน มิใชการนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบานที่ยังไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว 3. แกปญหาที่จุดเล็ก ทรงมองปญหาในภาพรวม (macro) กอนเสมอ แตการแกปญหาจะเริ่มจากจุดเล็กๆ (micro) คือ การแกไขปญหา เฉพาะหนาที่คนมักจะมองขาม “...ถาปวดหัวคิดอะไรไมออก...ตองแกไขการปวดหัวนี้กอน... เพื่อใหอยูในสภาพที่คิดได...” 4. ทำตามลำดับขั้น ทรงเริ่มตนจากสิ่งที่จำเปนที่สุดของประชาชนกอน ไดแก สาธารณสุข ตอไปจึงเปนเรื่องสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน และสิ่งจำเปนสำหรับประกอบอาชีพ การพัฒนาประเทศตองสรางพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญกอน จึงคอยสรางคอย เสริมความเจริญและเศรษฐกิจขั้นสูงโดยลำดับตอไป 5. ภูมิสังคม การพัฒนาใดๆ ตองคำนึงถึง (1) ภูมิประเทศของบริเวณนั้น (ดิน, น้ำ, ปา, เขา ฯลฯ) (2) สังคมวิทยา (นิสัยใจคอของผูคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของทองถิ่น) 6. องครวม • ทรงมีวิธีคิดอยางองครวม (holistic) หรือมองอยางครบวงจร • ทรงมองเหตุการณที่เกิดขึ้นและแนวทางแกไขอยางเชื่อมโยง
  • 4. 36 7. ไมติดตำรา การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน “ไมติดตำรา” ไมผูกมัดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมกับสภาพชีวิต ความเปนอยูที่แทจริงของคนไทย 8. ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด ทรงใชหลักในการแกไขปญหาดวยความเรียบงายและประหยัด ราษฎรสามารถทำไดเอง หาไดในทองถิ่น และประยุกต ใชสิ่งที่มีอยูในภูมิภาพนั้นๆ มาแกไขปญหา โดยไมตองลงทุนสูง หรือใชเทคโนโลยีที่ไมยุงยากนัก “ใหปลูกปา โดยไมตองปลูกปา โดยปลอยใหขึ้นเองตามธรรมชาติ จะไดประหยัดงบประมาณ” 9. ทำใหงาย – simplicity ทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริโดยงาย ไมยุงยากซับซอน ทรงโปรดที่จะทำสิ่งยากใหกลายเปนงาย ทำสิ่งที่สลับซับซอนใหเขาใจงาย “ทำใหงาย” 10. การมีสวนรวม ทรงเปนนักประชาธิปไตย เปดโอกาสใหสาธารณชน ประชาชน หรือเจาหนาที่ทุกระดับไดมารวมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ตองคำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชน หรือความตองการของสาธารณชน “ ...ตองหัดทำใจใหกวางขวางหนักแนน รูจักรับฟงความคิดเห็น แมกระทั่งความวิพากษวิจารณจากผูอื่น อยางฉลาด เพราะการรูจักรับฟงอยางฉลาดนั้นแทจริง คือการระดมสติปญญาและประสบการณอันหลากหลาย มาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานใหประสบความสำเร็จที่สมบูรณนั่นเอง...” 11. ประโยชนสวนรวม “...ใครตอใครก็มาบอกวา ขอใหคิดถึงประโยชนสวนรวมอาจมานึกในใจวา ใหๆ อยูเรื่อยแลวสวนตัวจะไดอะไร ขอใหคิดวา คนที่ใหเพื่อสวนรวมนั้น มิไดใหแตสวนรวมอยางเดียว เปนการใหเพื่อตัวเองสามารถที่มีสวนรวมที่จะ อาศัยได...” (มข. 2514) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงระลึกถึงประโยชนของสวนรวมเปนสำคัญเสมอ 12. บริการที่จุดเดียว ทรงให “ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” เปนตนแบบในการบริหารรวมที่ จุดเดียว เพื่อประโยชน ตอประชาชนที่จะมาใชบริการ จะประหยัดเวลาและคาใชจาย โดยมีหนวยงานราชการตางๆ มารวมดำเนินการและใหบริการ ประชาชน ณ ที่แหงเดียว “...เปนสองดาน ก็หมายถึงวา ที่สำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะไดรับประโยชน และตนทางของเจาหนาที จะใหประโยชน” 13. ใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ การเขาใจถึงธรรมชาติและตองการใหประชาชนใกลชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอยางละเอียดถึงปญหาของธรรมชาติ หากเราตองการแกไขธรรมชาติ จะตองใชธรรมชาติเขาชวยเหลือ เชน การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรมโดยพระราชทานพระราช ดำริ การปลูกปาโดยไมตองปลูก (ตนไม) ปลอยใหธรรมชาติชวยในการฟนฟูธรรมชาติ
  • 5. 37 14. ใชอธรรมปราบอธรรม ทรงนำความจริงในเรื่องความเปนไปแหงธรรมชาติและกฎเกณฑของธรรมชาติมาเปนหลักการ และแนวปฏิบัติที่สำคัญ ในการแกปญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไมปกติเขาสูระบบที่เปนปกติ เชน การนำน้ำดีขับไลน้ำเสีย การใชผักตบชวา บำบัดน้ำเสียโดยดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ำ 15. ปลูกปาในใจคน “...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดินและรักษา ตนไมดวยตนเอง...” การที่จะฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตองปลูกจิตสำนึกใหคนรักปาเสียกอน 16. ขาดทุนคือกำไร “...ขาดทุนคือกำไร Our loss is our gain…การเสียคือการได ประเทศก็จะกาวหนา และการที่คนจะอยูดีมีสุขนั้น เปนการนับที่เปนมูลคาเงินไมได...” หลักการคือ “การให” และ “การเสียสละ” เปนการกระทำอันมีผลเปนกำไรคือ ความอยูดีมีสุขของราษฎร “...ถาเราทำอะไรที่เราเสีย แตในที่สุดที่เราเสียนั้นเปนการไดทางออม ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาล หรืออีกนัยหนึ่งคือเงินของประชาชน ถาอยากใหประชาชนอยูดีกินดีก็ตองลงทุน...” 17. การพึ่งตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเพื่อแกไขปญหาในเบื้องตนดวยการแกไขปญหาเฉพาะหนา เพื่อใหเขาแข็งแรงพอ ที่จะดำรงชีวิตไดตอไป แลวขั้นตอไปก็คือ การพัฒนาใหเขาสามารถอยูในสังคมไดตามสภาพแวดลอม และสามารถ ”พึ่งตนเองได” ในที่สุด 18. พออยูพอกิน สำหรับประชาชนที่ตกอยูในวงจรแหงความทุกขเข็ญนั้น ไดพระราชทานความชวยเหลือใหเขาสามารถอยูในขั้น ”พออยูพอกิน” เสียกอน แลวจึงคอยขยับขยายใหมีขีดสมรรถนะที่กาวหนาตอไป “..ถาโครงการดี ในไมชาประชาชนจะไดกำไร จะไดผล ราษฎรจะอยูดีกินดีขึ้น จะไดประโยชนตอไป..” 19. เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางการดำเนินชีวิต เพื่อสรางความเขมแข็งหรือภูมิคุมกันทุกดาน ซึ่งจะสามารถทำใหอยูไดอยางสมดุลในโลก แหงการเปลี่ยนแปลง ปรัชญานี้ไดมีการประยุกตใชทั้งระดับบุคคล องคการ ชุมชน และทุกภาคสวนมาแลวอยางไดผล 20. ความซื่อสัตย สุจริต จริงใจตอกัน “...ผูที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทำประโยชนใหแกสวนรวมได มากกวาผูที่มีความรูมากแตไม มีความสุจริต ไมมีความบริสุทธิ์ใจ...” (18 มี.ค. 2533) 21. ทำงานอยางมีความสุข พระบาทสมเด็จอยูหัวทรงพระเกษมสำราญและทรงมีความสุขทุกคราที่จะชวยเหลือประชาชน “...ทำงานกับฉัน ฉันไมมีอะไรจะใหนอกจากการมีความสุขรวมกัน ในการทำประโยชนใหกับผูอื่น...”
  • 6.
  • 7. 39 เปนปรัชญาการดำรงอยูและปฏิบัติตน – ครอบครัว – บริษัท – องคการ – หนวยงาน หรือแมแตประเทศชาติ ใหเกิดสมดุลในทามกลางการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและภายใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานปรัชญานี้ใหแกคนไทยมานานกวา 25 ปแลว และรัฐบาลไดถือเอา “ปรัชญาแหงเศรษฐกิจพอเพียง” เปนหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) 1. การเปลี่ยนแปลง (1) ทุกสิ่งทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลง (2) การเปลี่ยนแปลงเกิดจากเหตุปจจัย - ทั้งเหตุปจจัยภายนอกและเหตุปจจัยภายใน - ทั้งเหตุปจจัยที่เราควบคุมไดและควบคุมไมได (3) การเปลี่ยนแปลงอาจปรากฏเปนวงจร - มีทั้งขาขึ้นและขาลง - อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาขึ้น” ? - อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาลง” ? - เราจะคาดหมายและควบคุมไดมากแคไหน ? (4) ในปจจุบันและอนาคต การเปลี่ยนแปลงจะยิ่งเกิดผลกระทบที่เร็ว – รุนแรง และกวางขวาง (5) ผลกระทบนั้นมีทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม 2. ปรัชญา (1) แนวคิดหลัก คือ ทางสายกลาง (2) องคประกอบของ ความพอเพียง ไดแก ก. ความพอประมาณ ข. ความมีเหตุผล ค. ความจำเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบ ใด ๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน 3. ปจจัยแหงความสำเร็จ (1) ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมี สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต (2) ใหมีความรอบรูที่เหมาะสม