SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา สุขศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 12 ชั่วโมง
1. สาระสําคัญ
โภชนาการมีความสําคัญต่อทุกช่วงทุกวัยของมนุษย์ ซึ่งปัจจุบันปัญหาจากภาวะโภชนาการมี
แนวโน้มที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาสุขภาพ จากภาวะโภชนาการได้เป็นอย่างดี อันมีผลสืบเนื่องมาจากการบริโภค ซึ่งผู้บริโภค
ควรได้รับการส่งเสริมให้บริโภคอย่างมีคุณภาพและปลอดภัยในการบริโภค เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ทั้ง
โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสําคัญของประเทศ จึงมีความจําเป็นที่จะต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุ , อาการเพื่อเป็น
แนวทางในการป้องกัน / หลีกเลี่ยง และการเกิดโรคติดต่อได้ จะทําให้บุคคลสามารถดูแลสุขภาพได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถช่วยในการดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุขและยืนยาว
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้
1. บอกวิธีการดูแลสุขภาพของช่วงวัยในด้านโภชนาการที่ถูกต้อง
2. บอกสาเหตุและอาการของโรคไม่ติดต่อได้
3. อธิบายแนวทางการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อได้
4. ส่งเสริมให้บุคคลรู้จักป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยตนเอง
2.2 ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
1. อ่านบทความที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพด้านโภชนาการอย่างรอบคอบ
2. คิดตรึกตรองถึงผลกระทบที่เกิดจากโภชนาการ
3. นําเสนอถึงปัญหาต่างๆและมีแนวทางการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
2.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีวินัย
- ใฝ่เรียนรู้
- อยู่อย่างพอเพียง
3. สาระการเรียนรู้
* การกําหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัยโดยคํานึงถึงความประหยัดและคุณค่า
ทางโภชนาการ
* โรคที่เป็นสาเหตุสําคัญของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย โรคไม่ติดต่อ เช่น -
โรคหัวใจ - โรคความดันโลหิตสูง -โรคเบาหวาน - โรคมะเร็ง – โรคไขมันในหลอดเลือด
* ปัญหาสุขภาพในชุมชน
* แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
กระบวนการเรียนรู้การออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์
1. ระบุปัญหา
2. รวบรวมข้อมูลปัญหา
3. ออกแบบการแก้ปัญหา
4. ดําเนินการแก้ปัญหา
5. ปรับปรุงแก้ไข
6. นําเสนอวิธีการ
5. วิธีดําเนินกิจกรรม
ชั่วโมงเรียนที่ 1 ดําเนินการปฐมนิเทศก่อนเรียนและทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน
1. ทดสอบนักเรียนก่อนเรียน เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภาวะโภชนาการว่าเกิด
จากสาเหตุใด และนักเรียนรู้จักหรือไม่ อย่างไร พร้อมทั้งให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง โภชนาการ
ตามความรู้ ความเข้าใจที่นักเรียนมีอยู่
3. นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลความรู้ เรื่อง โภชนาการ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ Blog
http://krutassanee2013.wordpress.com และสื่อ Video Clip เรื่อง โภชนาการเพื่อสุขภาพ
4. หลังจากที่นักเรียนศึกษาข้อมูลความรู้แล้ว ให้นักเรียนสรุปความรู้ของตนเองเกี่ยวกับโภชนาการ
ลงในช่องความคิดเห็นของเนื้อหาเรื่อง โภชนาการ
ชั่วโมงเรียนที่ 2 - 3 เตรียมความพร้อมกับนักเรียนในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
1. ครูพานักเรียนสนทนา ทบทวนความรู้ เรื่อง โภชนาการ ที่เรียนไปในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา
2. ครูให้นักเรียนนําเสนอความรู้ของตนเอง ด้วยการจัดทําข้อมูลสําหรับการนําเสนอโดยใช้
โปรแกรม PowerPoint และส่งชิ้นงานผ่าน Facebook ในกลุ่มที่ครูและนักเรียนร่วมกันสร้างขึ้น
3. ครูตรวจทานความถูกต้องของเนื้อหาความรู้ที่นักเรียนนําเสนอ พร้อมทั้งแก้ไข
ข้อบกพร่องของความรู้ที่นักเรียนนําเสนอให้ถูกต้อง หลังจากนั้นครูนําผลงานของนักเรียนขึ้นไปเก็บไว้บน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และให้นักเรียนนํา Link ผลงานของตนเองมาจัดทําเป็น QR Code เพื่อนําไปสะสมเป็น
ชิ้นงาน สําหรับจัดทําเป็นเอกสารเผยแพร่ความรู้ต่อไป
ชั่วโมงเรียนที่ 4
กระบวนการเรียนรู้การออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์
ขั้นตอนที่ 1. ระบุปัญหา
1. ครูและนักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง โภชนาการ ที่เรียนไปในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา
1) ความหมายของ อาหาร หมายถึงอะไร และประกอบด้วยอะไรบ้าง
2) สารอาหารคืออะไร
3) โภชนาการ หมายถึง อะไร
4) ภาวะโภชนาการ คืออะไร
5) บอกความหมายของธงโภชนาการ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงปัญหาที่สามารถเกิดขึ้นได้จาก “โภชนาการ” ตามหัวข้อ
ต่อไปนี้
1) นักเรียนบอกถึงสาเหตุสําคัญของการเกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการของคนในยุค
ปัจจุบัน
- มีพฤติกรรมการบริโภคไม่ถูกต้อง
- ขาดความรู้ทางด้านโภชนาการ
- ร่างกายได้รับอาหารอาหารไม่ เหมาะสม ขาดแคลนอาหาร
- ความผิดปกติจากการทํางานต่อมไร้ท่อในร่างกาย
- พันธุกรรม
- ขาดการออกกําลังกาย
2) นักเรียนบอกผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะโภชนาการที่ส่งผลต่อสุขภาพ
- ทําให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคขาดสารอาหาร
- หงุดหงิด เครียด วิตกกังวล ขาดความมั่นใจในตนเอง
- ทําให้ระบบการหายใจผิดปกติ
- ประสบปัญหาครอบครัวหรือปัญหาการประกอบอาชีพ
- บุคลิกภาพ ความสวยงามและการยอมรับของสังคม
3. นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยร่วมกันสนทนาภายในกลุ่มด้วยการแสดงความ
คิดเห็น เกี่ยวกับโภชนาการและปัญหาของโภชนาการว่ามีอะไรบ้างและส่งผลต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง พร้อมทั้ง
เขียนแสดงคิดเห็น จากใบงาน การอ่าน คิดวิเคราะห์ เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ตามที่นักเรียน
ในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น
4. จากใบงาน การอ่าน คิดวิเคราะห์ เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ให้นักเรียน
ส่งตัวแทนกลุ่มนําเสนอ ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตน ของคนในสังคมปัจจุบัน
- พฤติกรรมการรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ด (Fast food) จั๊งค์ฟู้ด (Junk Food) อาหาร
ปิ้งย่าง การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่
- ความเครียด วิตก กังวล สิ่งแวดล้อมรอบตัว
- พฤติกรรมการขาดการออกกําลังกาย
5. นักเรียนตัวแทนกลุ่ม 3 - 4 กลุ่ม ออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียนถึงผลการแสดงความ
คิดเห็นของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมกันสรุปปัญหาของสุขภาพที่เกิดจากโภชนาการ
ชั่วโมงเรียนที่ 5 – 6
ขั้นตอนที่ 2. รวบรวมข้อมูลปัญหา
1. นักเรียนเข้ากลุ่มเดิม เพื่อเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาเพื่อแนวทางในการแก้ไข
ปัญหา และตกลงกันในกลุ่มอย่างชัดเจนเพื่อการค้นคว้า เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
- นักเรียนกําหนดจุดประสงค์ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่นักเรียนสนใจ
- นักเรียนในกลุ่มร่วมกันกําหนดวิธีการศึกษาตามหัวข้อที่นักเรียนเลือกไว้
- นักเรียนในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องของกลุ่ม
- ดําเนินการจัดทําโครงร่างของข้อมูล และสื่อการเรียนรู้ในเนื้อหาที่นักเรียนได้รับ
มอบหมายจากกลุ่ม
2. นักเรียนแต่ละคน นําหัวข้อที่ได้รับจากกลุ่ม ไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้เกิด
ความชัดเจนในเนื้อหาที่ได้รับมอบหมาย
3. นักเรียนในกลุ่มนําข้อมูลที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่มมาเสนอภายในกลุ่มของนักเรียนแล้ว
ร่วมกันสรุปข้อมูลให้ได้เนื้อหาสาระที่ถูกต้อง
4. นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับเนื้อหาของข้อมูล
ชั่วโมงเรียนที่ 7 - 8
ขั้นตอนที่ 3. ออกแบบการแก้ปัญหา
1. ครูให้นักเรียนทบทวนข้อมูล เนื้อหาของกลุ่มที่แต่ละคนได้รับมอบหมายไปศึกษาค้นคว้า
2. ครูนําเสนอ เทคนิค วิธีการ/แนวทางในการออกแบบชิ้นงานในการแก้ปัญหาสุขภาพโดย
การนําข้อมูลที่นักเรียนในกลุ่มได้ศึกษาไว้เป็นพื้นฐานความรู้ เพื่อพัฒนาสุขภาพให้สมบูรณ์และแข็งแรง โดยครู
นําเสนอ Video Clip เรื่อง ทักษะทางอารมณ์ เป็นตัวอย่างให้นักเรียนได้เรียนรู้
3. นักเรียนในกลุ่ม เตรียมข้อมูลในการออกแบบชิ้นงาน/วิธีการในการแก้ปัญหา โดยครูแจก
ใบงานที่ 1 ออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียน โดยเน้นหลัก พอกิน พออยู่ พอดี ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้หลัก 3 ห่วง (พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี)
2 เงื่อนไข (ความรู้ คุณธรรม)
เพื่อจัดทําเป็นนวัตกรรมทางสุขภาพ สําหรับนําไปพัฒนาและใช้เผยแพร่ให้เกิดประโยชน์
ในด้านการดูแลสุขภาพกับผู้อื่นต่อไป
4. ครูตรวจสอบ ให้คําปรึกษา และอนุมัติภาระงาน(ชิ้นงาน/วิธีการ)ให้นักเรียนได้พัฒนา
ความรู้ของกลุ่มเป็นนวัตกรรมสุขภาพ
ชั่วโมงเรียนที่ 9
ขั้นตอนที่ 4. ดําเนินการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนทบทวนข้อมูลในการออกแบบชิ้นงาน/วิธีการในการแก้ปัญหา โดยยึด
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. นักเรียนนําชิ้นงาน/วิธีการของกลุ่มมาดําเนินการวางแผนเพื่อดําเนินการแก้ปัญหา ดังนี้
1) กําหนดลําดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงาน หรือวิธีการ เพื่อจัดทําเป็นนวัตกรรมทาง
สุขภาพ
2) แบ่งหน้าที่การทํางานและความรับผิดชอบในกลุ่ม
3) นักเรียนช่วยกันลงมือสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อเป็น
นวัตกรรมทางสุขภาพ
3. ครูและนักเรียนนัดหมายเวลาในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ
ในเวลาก่อนเข้าเรียนตอนเช้า พักกลางวัน และก่อนเลิกเรียน
ชั่วโมงเรียนที่ 10
ขั้นตอนที่ 5. ปรับปรุงแก้ไข
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความก้าวหน้าในการพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ
ของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม
2. นักเรียนทุกกลุ่มเตรียมตัวนํานวัตกรรมของตนเองไปใช้กับเพื่อนในชั้นเรียน โดยครู
กําหนดให้ได้ทดสอบนวัตกรรมทางสุขภาพเป็นฐานการเรียนรู้ จํานวน 7 ฐาน และให้นักเรียนเข้าเรียนรู้ตาม
ฐานโดยเวียนตามเข็มนาฬิกา กําหนดให้ใช้เวลาในแต่ละฐาน เป็นเวลา 7 นาที
3. หลังจากเข้าเรียนรู้ตามฐานแล้ว นักเรียนร่วมกันให้ข้อเสนอแนะความคิดเห็นเกี่ยวกับ
นวัตกรรมสุขภาพของฐานนั้นๆ เพื่อให้กลุ่มที่พัฒนานวัตกรรมสุขภาพขึ้นมาสามารถนําผลที่ได้มาใช้ในการ
ปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพ
ชั่วโมงเรียนที่ 11-12
ขั้นตอนที่ 6. นําเสนอวิธีการ
1. ครูให้นักเรียนทบทวนถึงแนวคิด และขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ
2. ครูแจกเอกสารหัวข้อ และรายการที่นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องนําเสนอวิธีการแก้ปัญหา
จนได้นวัตกรรมทางสุขภาพโดยให้แต่ละกลุ่มได้เขียนบรรยาย และแบ่งหน้าที่กันเพื่อเตรียมตัวนําเสนอ
นวัตกรรมทางสุขภาพของกลุ่ม
สิ่งที่นักเรียนต้องนําเสนอ มีดังนี้
- แนวคิดตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียง
- ขั้นตอนการแก้ปัญหาของกลุ่ม
- นวัตกรรมทางสุขภาพที่ได้สร้างสรรค์
- วิธีการใช้นวัตกรรมทางสุขภาพ
- ประโยชน์ของนวัตกรรมทางสุขภาพ
3. ครูนัดหมายเวลาในการถ่ายทํา Video เพื่อนําเสนอนวัตกรรมทางสุขภาพ
ณ ห้องถ่ายทอดสด ทรูปลูกปัญญาของโรงเรียน
4. นักเรียนนํา Video ของกลุ่มตนเอง มาผลิตเป็น Video Clip โดยใช้โปรแกรมตัดต่อ
Corel VideoStudio และส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากนั้นครูนําผลงานของนักเรียนขึ้นไปเก็บไว้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และให้นักเรียนนํา Link ผลงานของตนเองมาจัดทําเป็น QR Code เพื่อนําไปสะสม
เป็นชิ้นงาน สําหรับจัดทําเป็นเอกสารเผยแพร่ความรู้ต่อไป
5. นักเรียนทุกคนนํานวัตกรรมทางสุขภาพของกลุ่มตนเองไปเผยแพร่ ให้เกิดประโยชน์
ทางด้านสุขภาพกับบุคคลทั่วไป
6. ทดสอบหลังเรียน พร้อมทั้งเฉลยคําตอบ
6. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงานการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร
2. ใบงานที่ 1 ออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหา
3. ใบงานนวัตกรรมทางสุขภาพ
4. ห้องคอมพิวเตอร์
5. Tablet สําหรับค้นคว้าข้อมูล ความรู้
6. http://krutassanee2013.wordpress.com
7. Youtube
8. Microsoft Office
9. โปรแกรมตัดต่อ Corel VideoStudio
10. เว็บไซต์สร้าง QR Code
7. การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัดผลประเมินผล
1.1 ตรวจชิ้นงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน
1.2 ตรวจชิ้นงานนวัตกรรมสุขภาพของนักเรียน
1.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
1.3 สังเกตพฤติกรรมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล
2.1 แบบบันทึกคะแนนชิ้นงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน
2.2 แบบบันทึกคะแนนชิ้นงานนวัตกรรมสุขภาพของนักเรียน
2.3 แบบบันทึกคะแนนอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
2.4 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
3.1 ผลงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน
ระดับ 1. รวบรวมเนื้อหาไม่ครบถ้วน ไม่เชื่อมโยงต่อเนื่องกัน
2. รวบรวมเนื้อหาได้ครบถ้วน มีความเชื่อมโยงกัน
3. อธิบายข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ มีผลต่อเนื่องกัน
4. อธิบายข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบมีผลต่อเนื่องกัน
และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
3.2 การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ระดับ 1. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ไม่ชัดเจน
2. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ไม่ชัดเจน
แต่มีแนวโน้มที่ดี
3. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ชัดเจน
แต่ยังขาดความสมบูรณ์ของเนื้อหา
4. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ชัดเจน
เนื้อหามีความสมบูรณ์
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.3.1 มีวินัย ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง และรับผิดชอบในการทํางาน
ระดับ 1. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ
ตรงต่อเวลา อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุง
2. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ
ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์พอใช้
3. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ
ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์ดี
4. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ
ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
3.3.2 ใฝ่เรียนรู้
ระดับ 1. ไม่ตั้งใจเรียน
2. ตั้งใจและเอาใจใส่ในการเรียน
3. ตั้งใจเรียนเอาใจใส่ และมีความเพียรพยายามในการเรียน
4. ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้
และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
3.3.3 อยู่อย่างพอเพียง
ระดับ 1. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ใช้เวลา
อย่างเหมาะสม
2. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล
ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
3. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล
ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปฏิบัติ
ตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล
4. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล
ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปฏิบัติ
ตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล ใช้เวลาอย่าง
เหมาะสม
8. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................ผู้บันทึก
( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ )
ครูเชี่ยวชาญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต

More Related Content

What's hot

บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
Namfon fon
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKM117
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
tatlaolom
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
nin261
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
Pir Jnn
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
Intaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
Intaruechai Intaruechai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
Noon Nantaporn
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพsivakorn35
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
onginzone
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาAoraoraor Pattraporn
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)LolliLK
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
tassanee chaicharoen
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Onrapanee Kettawong
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)LolliLK
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 

What's hot (20)

บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blog
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
weskaew yodmongkol
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
Bream Mie
 
56540121
5654012156540121
56540121
Kopp Ctn-Dm
 
งานท Template 5
งานท   Template 5งานท   Template 5
งานท Template 5
Apichart Wattanasiri
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1Aom Chamchoi
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
NUCHITAJUMGUDRUNG
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
56540121
5654012156540121
56540121
 
งานท Template 5
งานท   Template 5งานท   Template 5
งานท Template 5
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 

More from tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
tassanee chaicharoen
 

More from tassanee chaicharoen (20)

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 12 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ โภชนาการมีความสําคัญต่อทุกช่วงทุกวัยของมนุษย์ ซึ่งปัจจุบันปัญหาจากภาวะโภชนาการมี แนวโน้มที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ จากภาวะโภชนาการได้เป็นอย่างดี อันมีผลสืบเนื่องมาจากการบริโภค ซึ่งผู้บริโภค ควรได้รับการส่งเสริมให้บริโภคอย่างมีคุณภาพและปลอดภัยในการบริโภค เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ทั้ง โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสําคัญของประเทศ จึงมีความจําเป็นที่จะต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุ , อาการเพื่อเป็น แนวทางในการป้องกัน / หลีกเลี่ยง และการเกิดโรคติดต่อได้ จะทําให้บุคคลสามารถดูแลสุขภาพได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถช่วยในการดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุขและยืนยาว 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้ 1. บอกวิธีการดูแลสุขภาพของช่วงวัยในด้านโภชนาการที่ถูกต้อง 2. บอกสาเหตุและอาการของโรคไม่ติดต่อได้ 3. อธิบายแนวทางการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อได้ 4. ส่งเสริมให้บุคคลรู้จักป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยตนเอง 2.2 ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน 1. อ่านบทความที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพด้านโภชนาการอย่างรอบคอบ 2. คิดตรึกตรองถึงผลกระทบที่เกิดจากโภชนาการ 3. นําเสนอถึงปัญหาต่างๆและมีแนวทางการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง 2.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง 3. สาระการเรียนรู้ * การกําหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัยโดยคํานึงถึงความประหยัดและคุณค่า ทางโภชนาการ * โรคที่เป็นสาเหตุสําคัญของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย โรคไม่ติดต่อ เช่น - โรคหัวใจ - โรคความดันโลหิตสูง -โรคเบาหวาน - โรคมะเร็ง – โรคไขมันในหลอดเลือด * ปัญหาสุขภาพในชุมชน * แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
  • 2. 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา กระบวนการเรียนรู้การออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ 1. ระบุปัญหา 2. รวบรวมข้อมูลปัญหา 3. ออกแบบการแก้ปัญหา 4. ดําเนินการแก้ปัญหา 5. ปรับปรุงแก้ไข 6. นําเสนอวิธีการ 5. วิธีดําเนินกิจกรรม ชั่วโมงเรียนที่ 1 ดําเนินการปฐมนิเทศก่อนเรียนและทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน 1. ทดสอบนักเรียนก่อนเรียน เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ 2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภาวะโภชนาการว่าเกิด จากสาเหตุใด และนักเรียนรู้จักหรือไม่ อย่างไร พร้อมทั้งให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง โภชนาการ ตามความรู้ ความเข้าใจที่นักเรียนมีอยู่ 3. นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลความรู้ เรื่อง โภชนาการ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ Blog http://krutassanee2013.wordpress.com และสื่อ Video Clip เรื่อง โภชนาการเพื่อสุขภาพ 4. หลังจากที่นักเรียนศึกษาข้อมูลความรู้แล้ว ให้นักเรียนสรุปความรู้ของตนเองเกี่ยวกับโภชนาการ ลงในช่องความคิดเห็นของเนื้อหาเรื่อง โภชนาการ ชั่วโมงเรียนที่ 2 - 3 เตรียมความพร้อมกับนักเรียนในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 1. ครูพานักเรียนสนทนา ทบทวนความรู้ เรื่อง โภชนาการ ที่เรียนไปในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา 2. ครูให้นักเรียนนําเสนอความรู้ของตนเอง ด้วยการจัดทําข้อมูลสําหรับการนําเสนอโดยใช้ โปรแกรม PowerPoint และส่งชิ้นงานผ่าน Facebook ในกลุ่มที่ครูและนักเรียนร่วมกันสร้างขึ้น 3. ครูตรวจทานความถูกต้องของเนื้อหาความรู้ที่นักเรียนนําเสนอ พร้อมทั้งแก้ไข ข้อบกพร่องของความรู้ที่นักเรียนนําเสนอให้ถูกต้อง หลังจากนั้นครูนําผลงานของนักเรียนขึ้นไปเก็บไว้บน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และให้นักเรียนนํา Link ผลงานของตนเองมาจัดทําเป็น QR Code เพื่อนําไปสะสมเป็น ชิ้นงาน สําหรับจัดทําเป็นเอกสารเผยแพร่ความรู้ต่อไป ชั่วโมงเรียนที่ 4 กระบวนการเรียนรู้การออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ ขั้นตอนที่ 1. ระบุปัญหา 1. ครูและนักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง โภชนาการ ที่เรียนไปในชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา 1) ความหมายของ อาหาร หมายถึงอะไร และประกอบด้วยอะไรบ้าง 2) สารอาหารคืออะไร 3) โภชนาการ หมายถึง อะไร
  • 3. 4) ภาวะโภชนาการ คืออะไร 5) บอกความหมายของธงโภชนาการ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงปัญหาที่สามารถเกิดขึ้นได้จาก “โภชนาการ” ตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1) นักเรียนบอกถึงสาเหตุสําคัญของการเกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการของคนในยุค ปัจจุบัน - มีพฤติกรรมการบริโภคไม่ถูกต้อง - ขาดความรู้ทางด้านโภชนาการ - ร่างกายได้รับอาหารอาหารไม่ เหมาะสม ขาดแคลนอาหาร - ความผิดปกติจากการทํางานต่อมไร้ท่อในร่างกาย - พันธุกรรม - ขาดการออกกําลังกาย 2) นักเรียนบอกผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะโภชนาการที่ส่งผลต่อสุขภาพ - ทําให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคขาดสารอาหาร - หงุดหงิด เครียด วิตกกังวล ขาดความมั่นใจในตนเอง - ทําให้ระบบการหายใจผิดปกติ - ประสบปัญหาครอบครัวหรือปัญหาการประกอบอาชีพ - บุคลิกภาพ ความสวยงามและการยอมรับของสังคม 3. นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยร่วมกันสนทนาภายในกลุ่มด้วยการแสดงความ คิดเห็น เกี่ยวกับโภชนาการและปัญหาของโภชนาการว่ามีอะไรบ้างและส่งผลต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง พร้อมทั้ง เขียนแสดงคิดเห็น จากใบงาน การอ่าน คิดวิเคราะห์ เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ตามที่นักเรียน ในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น 4. จากใบงาน การอ่าน คิดวิเคราะห์ เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร ให้นักเรียน ส่งตัวแทนกลุ่มนําเสนอ ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตน ของคนในสังคมปัจจุบัน - พฤติกรรมการรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ด (Fast food) จั๊งค์ฟู้ด (Junk Food) อาหาร ปิ้งย่าง การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ - ความเครียด วิตก กังวล สิ่งแวดล้อมรอบตัว - พฤติกรรมการขาดการออกกําลังกาย 5. นักเรียนตัวแทนกลุ่ม 3 - 4 กลุ่ม ออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียนถึงผลการแสดงความ คิดเห็นของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมกันสรุปปัญหาของสุขภาพที่เกิดจากโภชนาการ ชั่วโมงเรียนที่ 5 – 6 ขั้นตอนที่ 2. รวบรวมข้อมูลปัญหา 1. นักเรียนเข้ากลุ่มเดิม เพื่อเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาเพื่อแนวทางในการแก้ไข ปัญหา และตกลงกันในกลุ่มอย่างชัดเจนเพื่อการค้นคว้า เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - นักเรียนกําหนดจุดประสงค์ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่นักเรียนสนใจ - นักเรียนในกลุ่มร่วมกันกําหนดวิธีการศึกษาตามหัวข้อที่นักเรียนเลือกไว้
  • 4. - นักเรียนในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องของกลุ่ม - ดําเนินการจัดทําโครงร่างของข้อมูล และสื่อการเรียนรู้ในเนื้อหาที่นักเรียนได้รับ มอบหมายจากกลุ่ม 2. นักเรียนแต่ละคน นําหัวข้อที่ได้รับจากกลุ่ม ไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้เกิด ความชัดเจนในเนื้อหาที่ได้รับมอบหมาย 3. นักเรียนในกลุ่มนําข้อมูลที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่มมาเสนอภายในกลุ่มของนักเรียนแล้ว ร่วมกันสรุปข้อมูลให้ได้เนื้อหาสาระที่ถูกต้อง 4. นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับเนื้อหาของข้อมูล ชั่วโมงเรียนที่ 7 - 8 ขั้นตอนที่ 3. ออกแบบการแก้ปัญหา 1. ครูให้นักเรียนทบทวนข้อมูล เนื้อหาของกลุ่มที่แต่ละคนได้รับมอบหมายไปศึกษาค้นคว้า 2. ครูนําเสนอ เทคนิค วิธีการ/แนวทางในการออกแบบชิ้นงานในการแก้ปัญหาสุขภาพโดย การนําข้อมูลที่นักเรียนในกลุ่มได้ศึกษาไว้เป็นพื้นฐานความรู้ เพื่อพัฒนาสุขภาพให้สมบูรณ์และแข็งแรง โดยครู นําเสนอ Video Clip เรื่อง ทักษะทางอารมณ์ เป็นตัวอย่างให้นักเรียนได้เรียนรู้ 3. นักเรียนในกลุ่ม เตรียมข้อมูลในการออกแบบชิ้นงาน/วิธีการในการแก้ปัญหา โดยครูแจก ใบงานที่ 1 ออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียน โดยเน้นหลัก พอกิน พออยู่ พอดี ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลัก 3 ห่วง (พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี) 2 เงื่อนไข (ความรู้ คุณธรรม) เพื่อจัดทําเป็นนวัตกรรมทางสุขภาพ สําหรับนําไปพัฒนาและใช้เผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ ในด้านการดูแลสุขภาพกับผู้อื่นต่อไป 4. ครูตรวจสอบ ให้คําปรึกษา และอนุมัติภาระงาน(ชิ้นงาน/วิธีการ)ให้นักเรียนได้พัฒนา ความรู้ของกลุ่มเป็นนวัตกรรมสุขภาพ ชั่วโมงเรียนที่ 9 ขั้นตอนที่ 4. ดําเนินการแก้ปัญหา 1. ครูและนักเรียนทบทวนข้อมูลในการออกแบบชิ้นงาน/วิธีการในการแก้ปัญหา โดยยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. นักเรียนนําชิ้นงาน/วิธีการของกลุ่มมาดําเนินการวางแผนเพื่อดําเนินการแก้ปัญหา ดังนี้ 1) กําหนดลําดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงาน หรือวิธีการ เพื่อจัดทําเป็นนวัตกรรมทาง สุขภาพ 2) แบ่งหน้าที่การทํางานและความรับผิดชอบในกลุ่ม 3) นักเรียนช่วยกันลงมือสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อเป็น นวัตกรรมทางสุขภาพ 3. ครูและนักเรียนนัดหมายเวลาในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ ในเวลาก่อนเข้าเรียนตอนเช้า พักกลางวัน และก่อนเลิกเรียน
  • 5. ชั่วโมงเรียนที่ 10 ขั้นตอนที่ 5. ปรับปรุงแก้ไข 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความก้าวหน้าในการพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ ของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม 2. นักเรียนทุกกลุ่มเตรียมตัวนํานวัตกรรมของตนเองไปใช้กับเพื่อนในชั้นเรียน โดยครู กําหนดให้ได้ทดสอบนวัตกรรมทางสุขภาพเป็นฐานการเรียนรู้ จํานวน 7 ฐาน และให้นักเรียนเข้าเรียนรู้ตาม ฐานโดยเวียนตามเข็มนาฬิกา กําหนดให้ใช้เวลาในแต่ละฐาน เป็นเวลา 7 นาที 3. หลังจากเข้าเรียนรู้ตามฐานแล้ว นักเรียนร่วมกันให้ข้อเสนอแนะความคิดเห็นเกี่ยวกับ นวัตกรรมสุขภาพของฐานนั้นๆ เพื่อให้กลุ่มที่พัฒนานวัตกรรมสุขภาพขึ้นมาสามารถนําผลที่ได้มาใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพ ชั่วโมงเรียนที่ 11-12 ขั้นตอนที่ 6. นําเสนอวิธีการ 1. ครูให้นักเรียนทบทวนถึงแนวคิด และขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2. ครูแจกเอกสารหัวข้อ และรายการที่นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องนําเสนอวิธีการแก้ปัญหา จนได้นวัตกรรมทางสุขภาพโดยให้แต่ละกลุ่มได้เขียนบรรยาย และแบ่งหน้าที่กันเพื่อเตรียมตัวนําเสนอ นวัตกรรมทางสุขภาพของกลุ่ม สิ่งที่นักเรียนต้องนําเสนอ มีดังนี้ - แนวคิดตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียง - ขั้นตอนการแก้ปัญหาของกลุ่ม - นวัตกรรมทางสุขภาพที่ได้สร้างสรรค์ - วิธีการใช้นวัตกรรมทางสุขภาพ - ประโยชน์ของนวัตกรรมทางสุขภาพ 3. ครูนัดหมายเวลาในการถ่ายทํา Video เพื่อนําเสนอนวัตกรรมทางสุขภาพ ณ ห้องถ่ายทอดสด ทรูปลูกปัญญาของโรงเรียน 4. นักเรียนนํา Video ของกลุ่มตนเอง มาผลิตเป็น Video Clip โดยใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel VideoStudio และส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากนั้นครูนําผลงานของนักเรียนขึ้นไปเก็บไว้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และให้นักเรียนนํา Link ผลงานของตนเองมาจัดทําเป็น QR Code เพื่อนําไปสะสม เป็นชิ้นงาน สําหรับจัดทําเป็นเอกสารเผยแพร่ความรู้ต่อไป 5. นักเรียนทุกคนนํานวัตกรรมทางสุขภาพของกลุ่มตนเองไปเผยแพร่ ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านสุขภาพกับบุคคลทั่วไป 6. ทดสอบหลังเรียน พร้อมทั้งเฉลยคําตอบ 6. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เรื่อง โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร 2. ใบงานที่ 1 ออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหา 3. ใบงานนวัตกรรมทางสุขภาพ
  • 6. 4. ห้องคอมพิวเตอร์ 5. Tablet สําหรับค้นคว้าข้อมูล ความรู้ 6. http://krutassanee2013.wordpress.com 7. Youtube 8. Microsoft Office 9. โปรแกรมตัดต่อ Corel VideoStudio 10. เว็บไซต์สร้าง QR Code 7. การวัดผลประเมินผล 1. วิธีการวัดผลประเมินผล 1.1 ตรวจชิ้นงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน 1.2 ตรวจชิ้นงานนวัตกรรมสุขภาพของนักเรียน 1.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน 1.3 สังเกตพฤติกรรมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล 2.1 แบบบันทึกคะแนนชิ้นงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน 2.2 แบบบันทึกคะแนนชิ้นงานนวัตกรรมสุขภาพของนักเรียน 2.3 แบบบันทึกคะแนนอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน 2.4 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 3.1 ผลงานเอกสารเผยแพร่ของนักเรียน ระดับ 1. รวบรวมเนื้อหาไม่ครบถ้วน ไม่เชื่อมโยงต่อเนื่องกัน 2. รวบรวมเนื้อหาได้ครบถ้วน มีความเชื่อมโยงกัน 3. อธิบายข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ มีผลต่อเนื่องกัน 4. อธิบายข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบมีผลต่อเนื่องกัน และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง 3.2 การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ 1. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ไม่ชัดเจน 2. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ไม่ชัดเจน แต่มีแนวโน้มที่ดี 3. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ชัดเจน แต่ยังขาดความสมบูรณ์ของเนื้อหา 4. อธิบาย แยกแยะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ชัดเจน เนื้อหามีความสมบูรณ์
  • 7. 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 มีวินัย ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง และรับผิดชอบในการทํางาน ระดับ 1. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ ตรงต่อเวลา อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุง 2. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 3. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์ดี 4. การปฏิบัติกิจกรรมต่าง มีความรับผิดชอบในการทํางาน และ ตรงต่อเวลาอยู่ในเกณฑ์ดีมาก 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ ระดับ 1. ไม่ตั้งใจเรียน 2. ตั้งใจและเอาใจใส่ในการเรียน 3. ตั้งใจเรียนเอาใจใส่ และมีความเพียรพยายามในการเรียน 4. ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ 3.3.3 อยู่อย่างพอเพียง ระดับ 1. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ใช้เวลา อย่างเหมาะสม 2. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 3. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปฏิบัติ ตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล 4. สามารถวางแผนการทํางานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ใช้เวลาอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปฏิบัติ ตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล ใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 8. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...................................................ผู้บันทึก ( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ ) ครูเชี่ยวชาญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต