SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
 เป็นการให้อาหารทางทางเดินอาหารเป็นวิธีที่ใกล้เคียงกับสรีรวิทยาปกติ
มากที่สุด สามารถดารงสภาพโครงสร้างและหน้าที่ของทางเดินอาหารได้
ดีกว่า ปลอดภัย และราคาถูกมากกว่าการให้ทางหลอดเลือด การให้อาหาร
ทางทางเดินอาหารนี้ ควรเลือกให้ในผู้ที่ทางเดินอาหารยังมีความสามารถ
ย่อยและดูดซึมอาหารได้
 คือให้ในผู้ป่วยที่ยังมีความสามารถในการย่อยและการดูดซึมอาหารเพียงพอแต่ไม่
สามารถกินเองได้เพียงพอกับความต้องการ จากโรคต่างๆ ดังนี้
1. โรคทางระบบประสาทและทางจิตเวช
2. โรคของช่องปาก คอ และหลอดอาหาร
3. โรคของทางเดินอาหาร
 1. รับประทานเอง รวมถึงการให้อาหารเสริมหากอาหารปกติที่ได้รับยังไม่เพียงพอกับ
ความต้องการ การให้โภชนบาบัดแบบนี้ เป็นการให้ที่เหมือนกับธรรมชาติที่สุด
 2. การให้อาหารทางสายให้อาหาร (enteral tube feeding) ให้อาหารเข้าสู่ทางเดิน
อาหารโดยผ่านท่อให้อาหาร ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ การใส่สายเข้าทางเดิน
อาหารโดยผ่านจมูก หรือสายสวนจมูก ได้แก่ nasogastric tube หรือ nasoenteric tube
feeding และการใส่สายให้อาหารผ่านทางหน้าท้อง ได้แก่ gastrostromy,
duodinostomy และ jejunostomy tube feeding
 การให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถกินอาหารได้ตามปกติแม้ว่าการกินอาหารทาง
ปากตามปกติจะเป็นสิ่งที่เหมาะสมและควรทามากที่สุดแต่ในผู้ป่วยบางท่านไม่
สามารถรับอาหารได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากการของ
โรคมะเร็งหรือผลจากการรักษา เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็งบริเวณศีรษะลาคอ หลอด
อาหาร หรือกระเพาะอาหารเป็นต้น ผู้ป่วยอาจมีความจาเป็นที่จะ ต้องรับอาหาร
ทางท่อสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารหรือให้ทางเส้นเลือด โดยรับสารอาหารในสูตร
ต่างๆ โดยมากมักเป็นของเหลวที่ประกอบด้วยน้า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต
วิตามิน และ/หรือเกลือแร่ซึ่งเลือกให้ตามความต้องการและวิธีการให้สารอาหาร
 แม้ว่า การให้สารอาหารเสริมจะสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้แต่
วิธีการนี้ก็อาจจะมีความ เสี่ยงและข้อเสียที่ควรพิจารณาก่อนตัดสินใจโดยหนึ่งใน
ความเสี่ยงก็คือขณะนี้ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัดว่าสารอาหารเหล่านั้น จะส่งผลต่อ
การเติบโตของมะเร็งอย่างไร นอกจากนี้ การให้สารอาหาร แต่ละวิธียังมีผลดีและ
ผลเสียต่างกัน เช่น การให้ผ่านระบบทางเดินอาหารจะทาให้กระเพาะและลาไส้
ทางานได้อย่างปกติและมีความยุ่งยากในการดาเนิน การน้อยกว่า การให้ทางเส้น
เลือดดังนั้นจึงควรมีการปรึกษากับคนไข้ในประเด็นเหล่านี้ก่อนทาการรักษา
 น้าหนักตัวน้อย
 ไม่สามารถดูดซึมอาหารได้
 มีรูหรือการรั่วไหลในกระเพาะอาหารหรือช่องท้อง
 ไม่สามารถดื่มหรือกินอาหารได้เป็นเวลานานกว่า5 วัน
 มีความเสี่ยงของการขาดสารอาหารในระดับปานกลางขึ้นไป
 ผู้ป่วยและผู้ดูแลสามารถดาเนินการให้อาหารทางสายยางได้ที่บ้าน
 Enteral Nutrition (การให้สารอาหารผ่านระบบทางเดินอาหาร) ซึ่งการ
ให้สารอาหารวิธีนี้รวมถึงการให้สารอาหารทางสายยางด้วย
 Enteral Nutrition คือการให้อาหารในรูปของเหลวให้แก่ผู้ป่วยผ่านทาง
สายยางที่ต่อเข้ากับกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กซึ่งอาจจะอยู่ในรูปต่างๆ
 การให้อาหารทางสายยางที่เข้าสู่กระเพาะ/ลาไส้เล็กผ่านทางจมูกและคอ ซึ่งเป็นวิธีที่
นิยมสาหรับการให้อาหารในระยะสั้น
 การให้อาหารทางสายยางผ่านรูเปิดบนหน้าท้อง ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมสาหรับการให้
อาหารในระยะยาวหรือในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้อาหารผ่านทางจมูกและคอได้
 Enteral Nutrition สามารถดาเนินการได้ในหลายรูปแบบ การให้อาหารผ่านทางสาย
ยางที่ต่อเข้ากับกระเพาะอาหารนั้นจะสามารถให้อาหารได้ทั้งในลักษณะต่อเนื่อง
หรือในลักษณะให้หลายๆ ครั้งต่อวัน ขณะที่การให้อาหารโดยต่อเข้ากับลาไส้เล็กนั้น
ทาให้ส่งผ่านอาหารได้อย่างต่อ เนื่องและสามารถเลือกสูตรของสารอาหารที่ให้ได้
ตามความเหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยด้วย แม้ว่า Enteral Nutrition จะใช้ในกรณีที่
ไม่สามารถทานอาหารทางปากได้หรือทานได้ไม่เพียงพอ แต่วิธี การนี้ควรใช้เป็น
เพียงวิธีเสริมให้ผู้ป่วยสามารถได้รับอาหารได้อย่างเพียงพอเท่านั้น โดยผู้ป่วยควรที่จะ
พยายามรับ สารอาหารด้วยวิธีการปกติเท่าที่ผู้ป่วยจะสามารถทาได้ด้วย
 Enteral Nutrition เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่ยังมีการทางานของระบบ
ทางเดินอาหารอยู่
 Enteral Nutrition เป็นวิธีการที่ยังคงใช้การทางานของกระเพาะและ
ลาไส้ของผู้ป่วยในการรับและย่อยอาหาร วิธีนี้เหมาะสาหรับผู้ป่วยมะเร็งบริเวณ
ศีรษะ คอ ระบบย่อยอาหารและผู้ป่วยที่มีข้อจากัดในการทานตามปกติ เนื่องมาจาก
ผลข้างเคียงของเคมีและรังสีบาบัด
 ผู้ป่วยที่มีปัญหาในการทางานของกระเพาะและลาไส้หรือมีการตัดกระเพาะ/ลาไส้
ออกไป
 ผู้ป่วยที่มีภาวะการอุดตันของลาไส้
 ผู้ป่วยที่มีอาการ อาเจียน และหรือถ่ายเหลว
 ผู้ป่วยที่มีอาการเกล็ดเลือดต่า
 ผู้ป่วยที่มีจานวนเม็ดเลือด (ไม่ว่าจะเป็นเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และเกล็ดเลือด)
ในระดับต่า
 Enternal Nutrition ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องแม้ว่าผู้ป่วยจะออก
จากโรงพยาบาลแล้ว ในกรณีที่ผู้ป่วยจะต้องได้รับ Enteral Nutrition
หลังจากออกจากโรงพยาบาลแล้ว ทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแลจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้
สายยาง และการดูแลตัวผู้ป่วยนอกจากนี้ที่พักของผู้ป่วยจะต้องสะอาดและตัวผู้ป่วย
จะต้องได้รับการตรวจโดยทีมงานโภชนาการเป็นประจา
Parenteral Nutrition (การให้สารอาหารทางเส้นเลือด)
Parenteral Nutrition เป็นการให้สารอาหารแก่ผู้ป่วยผ่านทางระบบเลือด
โดยจะใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับอาหารทางปากหรือทาง Enteral
• การใส่และวางปลายสายอยู่ในตาแหน่งที่ไม่ถูกต้อง
• เกิดก้อนแข็งตัวของเลือด
• ภาวะปอดล้มเหลว
• ระดับน้าตาลในเลือดสูงหรือต่าเกินไป
• ระดับโปแตสเซียมในเลือดต่า
• ระดับเอนไซม์ของตับมีค่าสูงขึ้น
Parenteral Nutrition ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องแม้ว่าผู้ป่วยจะออกจากโรงพยาบาล
แล้ว ในกรณีที่ผู้ป่วยจะต้องได้รับการ Parenteral Nutrition หลังจากออกจาก
โรงพยาบาลแล้ว ทั้งผู้ป่วย และผู้ดูแลจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้สายยาง ปั๊มและ
การดูแลตัวผู้ป่วย นอกจากนี้ที่พักของผู้ป่วยจะต้องสะอาด และตัวผู้ป่วยจะต้องได้รับ
การตรวจโดยทีมผู้เชี่ยวชาญเป็นประจา
 การถอด/ยกเลิก Parenteral Nutrition Support ควรดาเนินการ
โดยบุคลากรทางการแพทย์ ที่มีประสบการณ์ การถอด/ยกเลิก Parenteral
Nutrition Support ควรดาเนินการภายใต้การดูแลโดยบุคลากรทาง
การแพทย์ โดย Parenteral Nutrition นี้ควรค่อยๆ ลดปริมาณลงก่อน
จะยกเลิกและเปลี่ยนไปให้อาหารโดยวิธีอื่น เช่น Enteral Nutrition หรือ
การให้อาหารทางปาก
การแนะนาด้านโภชนาการเพื่อการบรรเทาอาการของผู้ป่วยในกรณีที่
ผลข้างเคียงจากโรคมะเร็งหรือจากการรักษาส่งผลกระทบต่อการกินอาหารของผู้ป่วย
ควรมี การปรับเปลี่ยนอาหารเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วยจะสามารถได้รับสารอาหารที่จาเป็น
ได้อย่างเพียงพอ โดยในกรณีนี้ อาจจะมีการให้ยาเพื่อกระตุ้นความอยากอาหาร และเน้น
อาหารที่ให้ พลังงาน โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่สูงควบคู่ไปกับการวางแผนทาง
โภชนาการที่เหมาะสมกับความต้องการสารอาหารและชนิดอาหารที่ผู้ป่วยพึงพอ ใจใน
รสชาติ
เป็นอาหารที่ให้ทางสายให้อาหารชนิดหนึ่ง ซึ่งเตรียม
จากการนาอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งคานวณสัดส่วนให้มี
สารอาหารเพียงพอมาทาให้สุก แล้วปั่นหรือบดให้ละเอียด
ด้วยเครื่องปั่นพร้อมกับการเติมนาสุก หรือนาต้มผักให้มี
ความหนืดพอดี ไหลผ่านสายให้อาหารได้โดยไม่ติดขัด
หมายถึง อาหารที่ให้กับผู้ป่วยโดยผ่านทางสายให้อาหาร ซึ่ง
มักเป็นสายยาง ลักษณะของอาหารเป็นของเหลว สามารถไหล
ผ่านสายให้อาหารได้โดยไม่ติดขัด อาหารทางสายให้อาหารจะ
ให้แก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากอย่างปกติ
แต่ระบบทางเดินอาหารยังทางานมีการย่อยและดูดซึมอาหารได้
ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่าง ๆ บางคนสามารถรับประทานอาหารได้
ตามปกติ แต่บางคนรู้สึกเบื่ออาหาร รับประทานได้ปริมาณน้อย ไม่เพียงพอที่
ร่างกายต้องการ บางคนไม่สามารถรับประทานทางปากได้ บางคนมีปัญหา
ทางปาก และคอ และหลอดอาหาร หรือบางรายที่ได้รับอุบัติเหตุและไม่
รู้สึกตัว ไม่สามารถรับประทานอาหารเป็นเวลานาน แพทย์จะเป็นผู้พิจารณา
ว่าผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับอาหารทางสายให้อาหาร และใช้สูตรอาหารใด
ปริมาณเท่าใด เพื่อวัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ ให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่มีพลังงาน
และปริมาณสารอาหารเพียงพอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุพโภชนาการ และ
เมื่อผู้ป่วยได้รับอาหารเหมาะสมอย่างเพียง พอจะช่วยให้ฟื้นตัวจากการ
เจ็บป่วยได้เร็วขึน
อาหารทางสาย มีหลายแบบ พอจะจัดเป็น 3 กลุ่มใหญ่คือ
 อาหารสูตรน้านมผสม (milk base formula)
อาหารสูตรนี้มีน้้านม และผลิตภัณฑ์ของน้้านมเป็นส่วนประกอบ
ส้าคัญ และอาจมีอาหารอื่นเพิ่มเพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหาร
เพียงพอ เช่น ไข่ ครีม น้้าตาล น้้ามันพืช น้้าผลไม้ เป็นต้น สัดส่วนของ
วัตถุดิบที่น้ามาใช้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพลังงานและสารอาหารที่
แพทย์ก้าหนด ซึ่งนักก้าหนดอาหารจะค้านวณสูตรอาหารและจัดเตรียม
ให้ แต่ละโรงพยาบาลควรก้าหนดสูตร และมาตรฐานอาหารไว้ เพื่อให้
สะดวกในการจัดเตรียม
 สูตรอาหารปั่นผสม (blenderized formula) อาหาร
ทางสายให้อาหารสูตรนี้เตรียมมาจากอาหาร 5 หมู่ โดยเลือกวัตถุดิบมา
จากอาหารแต่ละหมู่ ซึ่งมีทั้งผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ น้าตาลและไขมัน นามาทา
ให้สุกแล้วปั่นผสมเข้าด้วยกัน ปริมาณของวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้มากน้อย
เพียงใด ขึ้นอยู่กับความต้องการพลังงานและสารอาหารของผู้ป่วย ซึ่งแพทย์
จะเป็นผู้กาหนดและแจ้งให้นักกาหนดอาหารทราบ เพื่อดาเนินการ
คานวณหาสัดส่วนของวัตถุดิบและเตรียมอาหารให้แต่ละโรงพยาบาลอาจจะ
ทาการทดลองหาสัดส่วนของวัตถุดิบ หรือคัดเลือกวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมา
ดัดแปลงทาอาหาร และใช้เป็นสูตรมาตรฐานในการผลิตอาหารชนิดนี้ของ
ตนเองก็ได้
 ส่วนประกอบ ปริมาณ (กรัม)
ตับหมูหรือตับไก่ 100 กรัม
ฟักทองหรือผักชนิดอื่น 100 กรัม
กล้วยหรือมะละกอ 100 กรัม
ไข่ไก่ 200 กรัม
น้าตาล 100 กรัม
เติมน้าสุกให้ได้ 1,000 มล. กรัม
อาหารสูตรนีให้พลังงาน 1 กิโลแคลอรี/มล และมีการกระจายตัวของ
สารอาหารต่าง ๆ คือโปรตีนร้อยละ15-20 ไขมันร้อยละ 30-35 และ
คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50-60 ของพลังงานวัตถุดิบที่ใช้ท้าอาหารสามารถ
ดัดแปลงให้แตกต่างกันออกไปได้ตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม
ราคา และความสะดวกของการจัดเตรียม เช่น ใช้เนือไก่ ปลา หรือเนือหมู
แทนตับ ใช้ผักหัวหรือผักใบแทน ฟักทองก็ได้ แต่ที่ควรระวังก็คือ อาหาร
นันต้องมีคุณค่าและสารอาหารใกล้เคียงตามที่เคยก้าหนดมา อาหารทาง
สายให้อาหารสูตรนี มักจะเตรียมให้ผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่ เพื่อหลีกเลี่ยง
ปัญหาของ lactose intolerance ที่เกิดจากการใช้สูตรนม แต่ผู้ป่วยอาจเกิด
ปัญหาท้องเสียได้จากกล้วยหรือมะละกอ ซึ่งแก้ไขปัญหาด้วยการงดผลไม้
เหล่านันได้
 สูตรอาหารสาเร็จรูป (commercial formula)
อาหารชนิดนี้เป็นอาหารที่มีสูตรเฉพาะ เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัท
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ มีมากมายหลายสูตรให้
เลือกใช้ตามสภาพความเจ็บป่วยและความต้องการของร่างกายใน
ขณะนั้น ๆ สะดวกในการเลือกใช้ของแพทย์ และบางชนิดยังสามารถให้
รับประทานทางปากได้ด้วย ขณะนี้ในท้องตลาดมีจาหน่ายหลายสูตร
เช่น Elental, Isocal, Pan-enteral, Pregestemil, Prosobee, Sustagen เป็น
ต้น
แพทย์เจ้าของผู้ป่วยจะต้องเป็นผู้กาหนด
1. จ้านวนพลังงานต่อวัน
2. ปริมาณของอาหารแต่ละวัน
3. จ้านวนมื้อและปริมาณที่จะให้ต่อมื้อ
4. ก้าหนดปริมาณของสารอาหารมาด้วย ถ้าต้องการ
สารอาหาร นอกเหนือหรือต่้ากว่าสูตรอาหาร
มาตรฐานที่ก้าหนดไว้
5. ใช้เป็นอาหารเสริมระหว่างมื้อ โดยแต่งกลิ่น รสให้
 จะต้องเตรียมอาหารสูตรอะไร เช่น สูตรน้านม สูตรปั่นผสม และ
ในสูตรนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
 วิธีการเตรียม
 วิธีการให้อาหาร จานวนมื้อ และปริมาณในแต่ละมื้อ
◦ เตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ได้แก่ เครื่องใช้ในครัว เช่น เขียง มีด หม้อนึ่ง
หม้อ ผ้ากรอง กะชอน ตะแกรงลวด ถ้วยตวง ช้อนตวง สิ่งที่อาจต้องหา
เพิ่มเติมคือ เครื่องปั่น (Blender) และเครื่องชั่งอาหาร
◦ อาหารที่จะนามาปั่นผสม เตรียมตามที่กาหนดไว้ในสูตร ว่าใช้อะไรบ้าง
จานวนเท่าใด
◦ วิธีการเตรียม ขั้นตอนแรก ทาความสะอาดอุปกรณ์ทุกชิ้น และบริเวณที่
ใช้เตรียมต้องสะอาดปราศจากเชื้อโรค ดังนั้นอุปกรณ์ทุกอย่างควรนึ่ง
หรือต้ม หรือลวกน้าเดือดก่อนใช้ ยกเว้นเครื่องปั่นกับเครื่องชั่ง
◦ การเตรียมอาหารที่จะนามาปั่นผสม มีแนวปฏิบัติดังนี้
 อาหารโปรตีนซึ่งอาจเป็น เนื้อไก่ เนื้อปลาแล่หนังพังผืด
ออก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วนึ่ง 10-15
นาที ถั่วเหลือง ต้องต้มสุกหรือนึ่งให้เปื่อยนุ่มก่อน
◦ไข่ ต้องนามาลวกในน้าเดือด 3 - 5 นาที
◦คาร์โบไฮเดรต อาจใช้แป้ง ข้าว น้าตาล น้าผลไม้ ผัก
และผลไม้ ซึ่งแป้ง, ข้าว , ผัก, ต้องต้มสุก
◦ผลไม้ นิยมใช้ผลไม้สุก ที่นิ่ม อ่อนนุ่ม เช่น กล้วย
มะละกอ นาต้มสุก หรือนาต้มผัก
◦ไขมัน อาจใช้น้ามันถั่วเหลือง น้ามันข้าวโพด
◦ การปั่นผสม เริ่มปั่นอาหารที่มีความแข็งมากที่สุดก่อน แล้วจึงเติม
อาหารชนิดที่อ่อนนุ่มกว่าลงไปปั่น แล้วจึงเติมน้าตาล น้ามัน และ
ค่อย ๆ เติมน้าต้มสุก ปรับปริมาตรให้ครบตามสูตรที่กาหนดไว้
◦ ถ้าอาหารมีกากมากเกินไป เช่น ผัก ควรกรองผ่านกะชอน หรือผ้า
กรองก่อน
◦ ปั่นผสมเรียบร้อยแล้ว เก็บอาหารใส่ขวดแล้วปิดฝาเก็บในตู้เย็น
อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ขวดที่ใช้ต้องต้มหรือลวกในน้าเดือดไว้
ก่อนแล้วเพื่อฆ่าเชื้อโรค
◦ ลักษณะอาหาร เป็นของเหลว สีน้าตาลเทา-เหลือง ไหลผ่านสาย
อาหารได้ดีไม่ติขัด
◦ เตรียมตามสูตรที่แพทย์กาหนด
◦ ใช้วัตถุดิบที่สด สะอาด
◦ อุปกรณ์ที่ใช้ บริเวณที่เตรียมต้องสะอาด รวมทังตัวผู้ปรุงด้วย
◦ ตรวจสอบว่าตู้เย็นที่เก็บอาหารมีความเย็นเพียงพอหรือไม่
 โดยปกติจะเก็บได้ 1 วัน (24 ชั่วโมง) หลังจากเตรียมแล้วและเก็บใน
ตู้เย็น แต่มีการทดลองเตรียมอาหารปั่นผสมแล้วบรรจุใส่ขวดแล้วนาไป
ฆ่าเชื้อโดยการพาสเจอไรส์เซชั่น ในหม้อน้าร้อน 95องศาเซลเซียส
20 นาที รีบนามาทาให้เย็นลงโดยเร็วเก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส
จะเก็บได้ 3 วัน
 อาหารปั่นผสมอาจมีการดัดแปลงเป็นอาหารที่ให้โดยการดื่มได้
ในกรณีที่ผู้ป่วยยังกลืนอาหารได้เองและปฎิเสธการใช้สายให้
อาหาร
 วิธีการเตรียมอาหารสูตรปั่นผสมสาหรับดื่ม ก็อาจมีการ
ดัดแปลงแต่งสี กลิ่น รสให้เป็นที่พอใจแก่ผู้ป่วยได้ เช่น เติม
กล้วยหอม น้าส้มคั้น ใช้น้าใบเตยแทน น้าสุก หรือแต่งกลิ่น
สังเคราะห์ก็ได้เช่นกัน
สูตรอาหารปั่นทางสาย 1000 ml
ลาดับ ส่วนผสม สูตร 1:1 สูตร 1.25:1 สูตร 1.5:1 สูตร 2:1
1 ไข่ไก่(ฟอง) 3 4 5 6
2 เนื้อไก่ดิบ/ปลา(กรัม) 90 112.5 135 180
3 ฟักทอง/ผักใบเขียวขาว/แครอท(กรัม) 100 125 150 200
4 ข้าวสุก(กรัม) 65 81.25 97.5 130
5 ขนมปัง(แผ่นใหญ่) 1 1.25 1.5 2
6 น้าตาลทราย(กรัม) 90 112.5 135 180
7 น้ามันพืช(ช้อนชา) 1 1.25 1.5 2
8 เกลือ(ช้อนชา) 1/4 1.25/4 1.5/4 1/2
พลังงาน (Kcal) 1000 1250 1500 2000
 1 นมถั่วเหลือง 2 กล่อง
 2 เครกเกอร์ 2 ห่อ
 3 แครอท 200 กรัม
 4 ข้าวสุก 100 กรัม
 5 นาแดงเฮลบลูบอยด์ 1 ช้อนโต๊ะ
1. ระวังความสะอาดในการเตรียมอาหารทุกครั้ง รวมทั้งภาชนะที่ใช้ทั้งหมด
2. มีการชั่ง-ตวง ส่วนประกอบของอาหารทุกชนิดและแม่นย้าเพื่อหลีกเลี่ยงค่าผัน
แปรในเรื่องคุณค่าทางโภชนาการน้อยที่สุด
3. การเตรียมสูตรอาหาร จะท้าให้ผู้ป่วยแต่ละรายๆ และท้าเฉพาะวันโดยใช้ตลอด
วัน เมื่อเตรียมเสร็จแล้วเก็บเข้าตู้เย็นทันที่และแบ่งให้ผู้ป่วยเป็นมื้อๆ ตามที่แพทย์
สั่ง ข้อควรระวังต้องสังเกตในมื้อสุดท้ายว่า อาหารผสมนั้นมีกลิ่นหรือสีผิดปกติ
หรือไม่ เพราะการน้าอาหารผสมเข้าออกจากตู้เย็นบ่อยครั้งอาจท้าให้เกิดการ
fermentation ถ้าจะให้ดีควรมีการชิมหรือดมกลิ่นก่อนให้ผู้ป่วยทุกครั้ง
www.themegallery.com
www.themegallery.com
 อาหารที่มีคุณค่าสูงและมีประโยชน์ครบถ้วนในแต่ละวันผู้ป่วยควร
ได้รับสารอาหาร ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่
 อาหารที่สะอาดเพราะผู้ป่วยมะเร็งจะมีความต้านทานเชื้อโรคน้อยจึง
ควรเอาใจใส่ เรื่องความสะอาดให้ดี ดังนั้น อาหารจึงควร ปรุงให้สุก
ผัก ผลไม้ ล้างให้สะอาด
 หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์และ อาจมีโทษ เช่น ของหมักดอง
อาหารใส่สี
 เลือกอาหารเสริมที่ผลิตส้าเร็จหรืออาหารทางการแพทย์ ที่มีคุณค่า
ครบถ้วนและมีโปรตีนสูง
www.themegallery.com
 การรับประทานอาหารที่พอเหมาะคือต้องได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ
 ปริมาณ ต้องมีปริมาณที่เพียงพอถ้าร่างกายผอมลงแสดงว่ารับประทานอาหารน้อยไป
 คุณภาพ มีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความส้าคัญและจ้าเป็นในการน้าไปใช้ประโยชน์
ต่อร่างกาย วันหนึ่งๆ ควรจะรับประทานเท่าไร ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละคน
แต่ละวันจะไม่เท่ากัน อย่างเช่น ในระหว่างการรักษาต้องการมากกว่าช่วงที่ท้าการ
รักษาเสร็จแล้ว เนื่องจากอาหารถูกน้าไปใช้ เพื่อเสริมสร้างส่วนที่สึกหรอ ดังนั้น ใน
ระยะการรักษาควรพยายามรับประทานให้ได้มาก เพื่อร่างกายจะไม่อ่อนเพลีย
สามารถรับการรักษาต่อไปจนครบตามแผนการรักษาของแพทย์
www.themegallery.com
 อาหารกลุ่มที่จะทาให้ท้องอืด แน่นท้อง
◦ ผู้ป่วยมะเร็งนั้นต้องระมัดระวังเรื่องระบบย่อยอาหารเป็นพิเศษ เพราะถ้าเกิดท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือ
แน่นท้องแล้ว มักจะแก้ไขยาก อาหารกลุ่มนี้ได้แก่ ข้าวเหนียว เพราะรับประทานแล้วจุกแน่น ย่อย
ยาก ทาให้เกิดแผลในกระเพาะ และเนื้อสัตว์ที่ย่อยยาก เปลี่ยนเป็นรับประทานโปรตีนจากเนื้อปลา
แทน
 อาหารเผ็ดจัด
◦ เพราะนอกจากจะทาให้แสบร้อนและระคายเคืองทางเดินอาหารแล้ว ยังจะทาให้พื้นที่ดูดซึม
สารอาหารให้ลาไส้ลดลง ร่างกายก็จะรับสารอาหารได้ไม่เต็มที่ ผู้ป่วยมะเร็งมักจะมีอาการเบื่อ
อาหารอยู่แล้ว หากรับประทานแล้วแต่ยังได้รับสารอาหารไม่เพียงพออีก อย่างนี้จะเอาสารอาหารที่
ไหนไปเลี้ยงร่างกาย และสารในพริกจะกระตุ้นการบีบรัดตัวของลาไส้และกระตุ้นกระเพาะอาหาร
จึงอาจทาให้เกิดอาหารท้องเดิน และมีแผลในกระเพาะได้
www.themegallery.com
 อาหารที่มีส่วนผสมของน้าตาลมาก
◦ เช่น เครื่องดื่มพวกน้าอัดลม ลูกกวาด เพื่อป้องกันไม่ให้น้าตาลซึ่งดูดซึมได้ง่าย
ไปก่อให้เกิดระดับแรงดันสูงที่ลาไส้ อันจะนาไปสู่อาการท้องเสีย
www.themegallery.com
 อาหารไขมันสูง
◦ เพราะไขมันจะไปเกาะที่ตับทาให้ตับไม่สามารถทางานได้เต็มที่
 อาหารเค็มจัด
◦ เพราะกรณีที่ผู้ป่วยมีระบบปัสสาวะไม่ดี การรับประทานโซเดียมเข้าไปมาก ๆ
อาจทาให้เกิดอาการบวมได้
www.themegallery.com
 ความต้องการพลังงาน
◦ ประมาณ 2000 แคลอรี / วัน หรือ 25-30 แคลอรี/นน.1 กก. แต่ถ้าผู้ป่วย
มีภาวะทุพโภชนาการ ต้องการพลังงานวันละ 3000 - 4000 แคลอรี หรือ
35-40 แคลอรี/นน.1กก. ต้องได้รับคาร์โบไฮเดรตเพียงพอเพื่อสงวนการใช้
โปรตีน
 ความต้องการโปรตีน
◦ จาเป็นสาหรับการหายของแผลและการฟื้นฟูสภาพ ต้องการกรดอะมิโน
ชนิดที่จาเป็น ผู้ป่วยที่มีภาวะโภชนาการปกติ ต้องการโปรตีนวันละ 80-
100 กรัม ถ้ามีภาวะทุพโภชนาการต้องการ 100 - 200 กรัม / วัน หรือ 1.5
กรัม/นน. 1 กก.
www.themegallery.com
 ความต้องการวิตามินและเกลือแร่
◦ ควบคุมเมตาบอลิซึมของโปรตีนและพลังงานโดยระบบน้าย่อย และมี
บทบาทในการพัฒนาโครงสร้างของเนื้อเยื่อ ดังนั้นควรให้วิตามินและเกลือ
แร่เสริมเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเร็งที่กระจายไปยังกระดูก ผู้ป่วย
โรคมะเร็งที่รุนแรงจะขาดวิตามินซีรุนแรง และโรคมะเร็งปอดและปาก
มดลูกจะขาดวิตามินดี
 ความต้องการน้า
◦ จาเป็นสาหรับชดเชยที่สูญเสียไปในกระเพาะและลาไส้ หรือจากสาเหตุ
โรคติดเชื้อและไข้สูง ช่วยไตขับของเสียที่ถูกมะเร็งทาลาย และพิษยาที่ใช้
รักษา
www.themegallery.com
 ข้าวแป้ง
◦ รับประทานข้าวแป้งโดยได้รับคาร์โบไฮเดรต50-55%ของพลังงานที่ร่างกาย
ต้องการทั้งหมดต่อวัน ควรรับประทานข้าวแป้งเป็นอาหารหลักทั้ง 3 มื้อ ในผู้ที่
อยู่ในภาวะเจ็บป่วยควรได้รับข้าวอย่างน้อยมื้อละ 2-3ทัพพี พบว่าการได้รับ
ธัญพืช โดยเฉพาะธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น จะช่วยให้
ร่างกายได้รับโฟเลทซึ่งสามารถให้ผลดีต่อผู้ป่วยมะเร็งได้
www.themegallery.com
 เนือสัตว์
◦ เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูงควรหลีกเลี่ยง อีกทั้งเนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการปิ้งย่างจน
เกิดเขม่าควันควรหลีกเลี่ยงรวมไปถึงเนื้อสัตว์ที่ผ่านการแปรรูป เช่น ไส้กรอก
กุนเชียง ควรหลีกเลี่ยง นอกจากนี้การรับประทานเต้าหู้หรือน้้านมถั่วเหลืองวัน
ละ 1 แก้วสามารถให้ผลดีต่อการป้องกันการเกิดมะเร็งและลดอัตราการ
เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้แต่ทั้งนี้ต้องไม่รับประทานในปริมาณมากเกิน
เพราะการได้รับถั่วเหลืองในปริมาณมากเกิน ก็สามารถส่งผลให้เซลล์มะเร็ง
เจริญเติบโตขึ้นจากฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกับฮอร์โมนเพศหญิงของถั่วเหลืองได้
www.themegallery.com
 ไขมัน
◦ ควรได้รับไขมันวันละ 30% ของพลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน และไม่
รับประทานไขมันอิ่มตัว รวมไปถึงอาหารที่ใช้น้ามันทอดซ้า หลีกเลี่ยงอาหารที่
มีไขมันแฝง เช่น เบเกอร์รี่ ไอศกรีม เนื่องจากจะเสี่ยงต่อการได้รับพลังงานมาก
เกินทาให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งเป็นสาเหตุส่งเสริมการเกิดโรคมะเร็งได้ สาหรับ
ไขมันชนิดไม่อิ่มตัว โอเมก้า-3 จะมีผลในการลดการเสี่ยงการเกิดมะเร็ง แต่บาง
งานวิจัยก็ไม่มีผล ดังนั้นการรับประทานไขมันจึงควรรับประทานแต่พอดี
www.themegallery.com
 ผัก
◦ ผู้ที่เป็นมะเร็งหากได้รับผักเป็นปริมาณมาก จะดีกว่าการได้รับผลไม้ในปริมาณ
มาก เพราะในผลไม้จะมีน้าตาลสูงทาให้เกิดไขมันสะสมได้ โดยหาก
รับประทานพวกผักใบเขียวจะไม่จากัดจานวนในการรับประทาน แต่ในผู้ป่วย
บางกลุ่มที่ได้รับยาต้านฮอร์โมนกลุ่ม Tamoxifen ควรได้รับแครอทและดอก
กะหล่าเพิ่มบ้าง เพื่อลดอาการร้อนๆ หนาวๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างได้รับยา
www.themegallery.com
 ผลไม้
◦ เลือกรับประทานผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัดและควรเลือกรับประทานผลไม้ที่มี
เส้นใยสูง เช่น ฝรั่ง ชมพู่ ผลไม้ที่มีสีแดงสดและมีสีออกแดงหรือสีส้ม ที่สามารถ
รับประทานได้ทั้งเปลือกเพราะให้สาร flavonoid ลดการเกิดมะเร็งได้
การให้ Enteral nutrition

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

Similar to การให้ Enteral nutrition

การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Pavit Tansakul
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
Nutrition
NutritionNutrition
NutritionPir Jnn
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 

Similar to การให้ Enteral nutrition (20)

การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 

More from techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 

More from techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 

การให้ Enteral nutrition

  • 1.
  • 2.  เป็นการให้อาหารทางทางเดินอาหารเป็นวิธีที่ใกล้เคียงกับสรีรวิทยาปกติ มากที่สุด สามารถดารงสภาพโครงสร้างและหน้าที่ของทางเดินอาหารได้ ดีกว่า ปลอดภัย และราคาถูกมากกว่าการให้ทางหลอดเลือด การให้อาหาร ทางทางเดินอาหารนี้ ควรเลือกให้ในผู้ที่ทางเดินอาหารยังมีความสามารถ ย่อยและดูดซึมอาหารได้
  • 3.  คือให้ในผู้ป่วยที่ยังมีความสามารถในการย่อยและการดูดซึมอาหารเพียงพอแต่ไม่ สามารถกินเองได้เพียงพอกับความต้องการ จากโรคต่างๆ ดังนี้ 1. โรคทางระบบประสาทและทางจิตเวช 2. โรคของช่องปาก คอ และหลอดอาหาร 3. โรคของทางเดินอาหาร
  • 4.  1. รับประทานเอง รวมถึงการให้อาหารเสริมหากอาหารปกติที่ได้รับยังไม่เพียงพอกับ ความต้องการ การให้โภชนบาบัดแบบนี้ เป็นการให้ที่เหมือนกับธรรมชาติที่สุด  2. การให้อาหารทางสายให้อาหาร (enteral tube feeding) ให้อาหารเข้าสู่ทางเดิน อาหารโดยผ่านท่อให้อาหาร ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ การใส่สายเข้าทางเดิน อาหารโดยผ่านจมูก หรือสายสวนจมูก ได้แก่ nasogastric tube หรือ nasoenteric tube feeding และการใส่สายให้อาหารผ่านทางหน้าท้อง ได้แก่ gastrostromy, duodinostomy และ jejunostomy tube feeding
  • 5.  การให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถกินอาหารได้ตามปกติแม้ว่าการกินอาหารทาง ปากตามปกติจะเป็นสิ่งที่เหมาะสมและควรทามากที่สุดแต่ในผู้ป่วยบางท่านไม่ สามารถรับอาหารได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากการของ โรคมะเร็งหรือผลจากการรักษา เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็งบริเวณศีรษะลาคอ หลอด อาหาร หรือกระเพาะอาหารเป็นต้น ผู้ป่วยอาจมีความจาเป็นที่จะ ต้องรับอาหาร ทางท่อสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารหรือให้ทางเส้นเลือด โดยรับสารอาหารในสูตร ต่างๆ โดยมากมักเป็นของเหลวที่ประกอบด้วยน้า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และ/หรือเกลือแร่ซึ่งเลือกให้ตามความต้องการและวิธีการให้สารอาหาร
  • 6.  แม้ว่า การให้สารอาหารเสริมจะสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้แต่ วิธีการนี้ก็อาจจะมีความ เสี่ยงและข้อเสียที่ควรพิจารณาก่อนตัดสินใจโดยหนึ่งใน ความเสี่ยงก็คือขณะนี้ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัดว่าสารอาหารเหล่านั้น จะส่งผลต่อ การเติบโตของมะเร็งอย่างไร นอกจากนี้ การให้สารอาหาร แต่ละวิธียังมีผลดีและ ผลเสียต่างกัน เช่น การให้ผ่านระบบทางเดินอาหารจะทาให้กระเพาะและลาไส้ ทางานได้อย่างปกติและมีความยุ่งยากในการดาเนิน การน้อยกว่า การให้ทางเส้น เลือดดังนั้นจึงควรมีการปรึกษากับคนไข้ในประเด็นเหล่านี้ก่อนทาการรักษา
  • 7.  น้าหนักตัวน้อย  ไม่สามารถดูดซึมอาหารได้  มีรูหรือการรั่วไหลในกระเพาะอาหารหรือช่องท้อง  ไม่สามารถดื่มหรือกินอาหารได้เป็นเวลานานกว่า5 วัน  มีความเสี่ยงของการขาดสารอาหารในระดับปานกลางขึ้นไป  ผู้ป่วยและผู้ดูแลสามารถดาเนินการให้อาหารทางสายยางได้ที่บ้าน
  • 8.  Enteral Nutrition (การให้สารอาหารผ่านระบบทางเดินอาหาร) ซึ่งการ ให้สารอาหารวิธีนี้รวมถึงการให้สารอาหารทางสายยางด้วย  Enteral Nutrition คือการให้อาหารในรูปของเหลวให้แก่ผู้ป่วยผ่านทาง สายยางที่ต่อเข้ากับกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กซึ่งอาจจะอยู่ในรูปต่างๆ
  • 9.  การให้อาหารทางสายยางที่เข้าสู่กระเพาะ/ลาไส้เล็กผ่านทางจมูกและคอ ซึ่งเป็นวิธีที่ นิยมสาหรับการให้อาหารในระยะสั้น  การให้อาหารทางสายยางผ่านรูเปิดบนหน้าท้อง ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมสาหรับการให้ อาหารในระยะยาวหรือในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้อาหารผ่านทางจมูกและคอได้
  • 10.  Enteral Nutrition สามารถดาเนินการได้ในหลายรูปแบบ การให้อาหารผ่านทางสาย ยางที่ต่อเข้ากับกระเพาะอาหารนั้นจะสามารถให้อาหารได้ทั้งในลักษณะต่อเนื่อง หรือในลักษณะให้หลายๆ ครั้งต่อวัน ขณะที่การให้อาหารโดยต่อเข้ากับลาไส้เล็กนั้น ทาให้ส่งผ่านอาหารได้อย่างต่อ เนื่องและสามารถเลือกสูตรของสารอาหารที่ให้ได้ ตามความเหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยด้วย แม้ว่า Enteral Nutrition จะใช้ในกรณีที่ ไม่สามารถทานอาหารทางปากได้หรือทานได้ไม่เพียงพอ แต่วิธี การนี้ควรใช้เป็น เพียงวิธีเสริมให้ผู้ป่วยสามารถได้รับอาหารได้อย่างเพียงพอเท่านั้น โดยผู้ป่วยควรที่จะ พยายามรับ สารอาหารด้วยวิธีการปกติเท่าที่ผู้ป่วยจะสามารถทาได้ด้วย
  • 11.  Enteral Nutrition เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่ยังมีการทางานของระบบ ทางเดินอาหารอยู่  Enteral Nutrition เป็นวิธีการที่ยังคงใช้การทางานของกระเพาะและ ลาไส้ของผู้ป่วยในการรับและย่อยอาหาร วิธีนี้เหมาะสาหรับผู้ป่วยมะเร็งบริเวณ ศีรษะ คอ ระบบย่อยอาหารและผู้ป่วยที่มีข้อจากัดในการทานตามปกติ เนื่องมาจาก ผลข้างเคียงของเคมีและรังสีบาบัด
  • 12.  ผู้ป่วยที่มีปัญหาในการทางานของกระเพาะและลาไส้หรือมีการตัดกระเพาะ/ลาไส้ ออกไป  ผู้ป่วยที่มีภาวะการอุดตันของลาไส้  ผู้ป่วยที่มีอาการ อาเจียน และหรือถ่ายเหลว  ผู้ป่วยที่มีอาการเกล็ดเลือดต่า  ผู้ป่วยที่มีจานวนเม็ดเลือด (ไม่ว่าจะเป็นเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และเกล็ดเลือด) ในระดับต่า
  • 13.  Enternal Nutrition ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องแม้ว่าผู้ป่วยจะออก จากโรงพยาบาลแล้ว ในกรณีที่ผู้ป่วยจะต้องได้รับ Enteral Nutrition หลังจากออกจากโรงพยาบาลแล้ว ทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแลจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้ สายยาง และการดูแลตัวผู้ป่วยนอกจากนี้ที่พักของผู้ป่วยจะต้องสะอาดและตัวผู้ป่วย จะต้องได้รับการตรวจโดยทีมงานโภชนาการเป็นประจา
  • 14. Parenteral Nutrition (การให้สารอาหารทางเส้นเลือด) Parenteral Nutrition เป็นการให้สารอาหารแก่ผู้ป่วยผ่านทางระบบเลือด โดยจะใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับอาหารทางปากหรือทาง Enteral
  • 15.
  • 16. • การใส่และวางปลายสายอยู่ในตาแหน่งที่ไม่ถูกต้อง • เกิดก้อนแข็งตัวของเลือด • ภาวะปอดล้มเหลว • ระดับน้าตาลในเลือดสูงหรือต่าเกินไป • ระดับโปแตสเซียมในเลือดต่า • ระดับเอนไซม์ของตับมีค่าสูงขึ้น
  • 17. Parenteral Nutrition ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องแม้ว่าผู้ป่วยจะออกจากโรงพยาบาล แล้ว ในกรณีที่ผู้ป่วยจะต้องได้รับการ Parenteral Nutrition หลังจากออกจาก โรงพยาบาลแล้ว ทั้งผู้ป่วย และผู้ดูแลจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้สายยาง ปั๊มและ การดูแลตัวผู้ป่วย นอกจากนี้ที่พักของผู้ป่วยจะต้องสะอาด และตัวผู้ป่วยจะต้องได้รับ การตรวจโดยทีมผู้เชี่ยวชาญเป็นประจา
  • 18.  การถอด/ยกเลิก Parenteral Nutrition Support ควรดาเนินการ โดยบุคลากรทางการแพทย์ ที่มีประสบการณ์ การถอด/ยกเลิก Parenteral Nutrition Support ควรดาเนินการภายใต้การดูแลโดยบุคลากรทาง การแพทย์ โดย Parenteral Nutrition นี้ควรค่อยๆ ลดปริมาณลงก่อน จะยกเลิกและเปลี่ยนไปให้อาหารโดยวิธีอื่น เช่น Enteral Nutrition หรือ การให้อาหารทางปาก
  • 19. การแนะนาด้านโภชนาการเพื่อการบรรเทาอาการของผู้ป่วยในกรณีที่ ผลข้างเคียงจากโรคมะเร็งหรือจากการรักษาส่งผลกระทบต่อการกินอาหารของผู้ป่วย ควรมี การปรับเปลี่ยนอาหารเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วยจะสามารถได้รับสารอาหารที่จาเป็น ได้อย่างเพียงพอ โดยในกรณีนี้ อาจจะมีการให้ยาเพื่อกระตุ้นความอยากอาหาร และเน้น อาหารที่ให้ พลังงาน โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่สูงควบคู่ไปกับการวางแผนทาง โภชนาการที่เหมาะสมกับความต้องการสารอาหารและชนิดอาหารที่ผู้ป่วยพึงพอ ใจใน รสชาติ
  • 20.
  • 21. เป็นอาหารที่ให้ทางสายให้อาหารชนิดหนึ่ง ซึ่งเตรียม จากการนาอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งคานวณสัดส่วนให้มี สารอาหารเพียงพอมาทาให้สุก แล้วปั่นหรือบดให้ละเอียด ด้วยเครื่องปั่นพร้อมกับการเติมนาสุก หรือนาต้มผักให้มี ความหนืดพอดี ไหลผ่านสายให้อาหารได้โดยไม่ติดขัด
  • 22. หมายถึง อาหารที่ให้กับผู้ป่วยโดยผ่านทางสายให้อาหาร ซึ่ง มักเป็นสายยาง ลักษณะของอาหารเป็นของเหลว สามารถไหล ผ่านสายให้อาหารได้โดยไม่ติดขัด อาหารทางสายให้อาหารจะ ให้แก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากอย่างปกติ แต่ระบบทางเดินอาหารยังทางานมีการย่อยและดูดซึมอาหารได้
  • 23. ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่าง ๆ บางคนสามารถรับประทานอาหารได้ ตามปกติ แต่บางคนรู้สึกเบื่ออาหาร รับประทานได้ปริมาณน้อย ไม่เพียงพอที่ ร่างกายต้องการ บางคนไม่สามารถรับประทานทางปากได้ บางคนมีปัญหา ทางปาก และคอ และหลอดอาหาร หรือบางรายที่ได้รับอุบัติเหตุและไม่ รู้สึกตัว ไม่สามารถรับประทานอาหารเป็นเวลานาน แพทย์จะเป็นผู้พิจารณา ว่าผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับอาหารทางสายให้อาหาร และใช้สูตรอาหารใด ปริมาณเท่าใด เพื่อวัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ ให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่มีพลังงาน และปริมาณสารอาหารเพียงพอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุพโภชนาการ และ เมื่อผู้ป่วยได้รับอาหารเหมาะสมอย่างเพียง พอจะช่วยให้ฟื้นตัวจากการ เจ็บป่วยได้เร็วขึน
  • 24. อาหารทางสาย มีหลายแบบ พอจะจัดเป็น 3 กลุ่มใหญ่คือ  อาหารสูตรน้านมผสม (milk base formula) อาหารสูตรนี้มีน้้านม และผลิตภัณฑ์ของน้้านมเป็นส่วนประกอบ ส้าคัญ และอาจมีอาหารอื่นเพิ่มเพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหาร เพียงพอ เช่น ไข่ ครีม น้้าตาล น้้ามันพืช น้้าผลไม้ เป็นต้น สัดส่วนของ วัตถุดิบที่น้ามาใช้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพลังงานและสารอาหารที่ แพทย์ก้าหนด ซึ่งนักก้าหนดอาหารจะค้านวณสูตรอาหารและจัดเตรียม ให้ แต่ละโรงพยาบาลควรก้าหนดสูตร และมาตรฐานอาหารไว้ เพื่อให้ สะดวกในการจัดเตรียม
  • 25.  สูตรอาหารปั่นผสม (blenderized formula) อาหาร ทางสายให้อาหารสูตรนี้เตรียมมาจากอาหาร 5 หมู่ โดยเลือกวัตถุดิบมา จากอาหารแต่ละหมู่ ซึ่งมีทั้งผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ น้าตาลและไขมัน นามาทา ให้สุกแล้วปั่นผสมเข้าด้วยกัน ปริมาณของวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้มากน้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับความต้องการพลังงานและสารอาหารของผู้ป่วย ซึ่งแพทย์ จะเป็นผู้กาหนดและแจ้งให้นักกาหนดอาหารทราบ เพื่อดาเนินการ คานวณหาสัดส่วนของวัตถุดิบและเตรียมอาหารให้แต่ละโรงพยาบาลอาจจะ ทาการทดลองหาสัดส่วนของวัตถุดิบ หรือคัดเลือกวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมา ดัดแปลงทาอาหาร และใช้เป็นสูตรมาตรฐานในการผลิตอาหารชนิดนี้ของ ตนเองก็ได้
  • 26.  ส่วนประกอบ ปริมาณ (กรัม) ตับหมูหรือตับไก่ 100 กรัม ฟักทองหรือผักชนิดอื่น 100 กรัม กล้วยหรือมะละกอ 100 กรัม ไข่ไก่ 200 กรัม น้าตาล 100 กรัม เติมน้าสุกให้ได้ 1,000 มล. กรัม
  • 27.
  • 28. อาหารสูตรนีให้พลังงาน 1 กิโลแคลอรี/มล และมีการกระจายตัวของ สารอาหารต่าง ๆ คือโปรตีนร้อยละ15-20 ไขมันร้อยละ 30-35 และ คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50-60 ของพลังงานวัตถุดิบที่ใช้ท้าอาหารสามารถ ดัดแปลงให้แตกต่างกันออกไปได้ตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม ราคา และความสะดวกของการจัดเตรียม เช่น ใช้เนือไก่ ปลา หรือเนือหมู แทนตับ ใช้ผักหัวหรือผักใบแทน ฟักทองก็ได้ แต่ที่ควรระวังก็คือ อาหาร นันต้องมีคุณค่าและสารอาหารใกล้เคียงตามที่เคยก้าหนดมา อาหารทาง สายให้อาหารสูตรนี มักจะเตรียมให้ผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่ เพื่อหลีกเลี่ยง ปัญหาของ lactose intolerance ที่เกิดจากการใช้สูตรนม แต่ผู้ป่วยอาจเกิด ปัญหาท้องเสียได้จากกล้วยหรือมะละกอ ซึ่งแก้ไขปัญหาด้วยการงดผลไม้ เหล่านันได้
  • 29.  สูตรอาหารสาเร็จรูป (commercial formula) อาหารชนิดนี้เป็นอาหารที่มีสูตรเฉพาะ เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัท อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ มีมากมายหลายสูตรให้ เลือกใช้ตามสภาพความเจ็บป่วยและความต้องการของร่างกายใน ขณะนั้น ๆ สะดวกในการเลือกใช้ของแพทย์ และบางชนิดยังสามารถให้ รับประทานทางปากได้ด้วย ขณะนี้ในท้องตลาดมีจาหน่ายหลายสูตร เช่น Elental, Isocal, Pan-enteral, Pregestemil, Prosobee, Sustagen เป็น ต้น
  • 30. แพทย์เจ้าของผู้ป่วยจะต้องเป็นผู้กาหนด 1. จ้านวนพลังงานต่อวัน 2. ปริมาณของอาหารแต่ละวัน 3. จ้านวนมื้อและปริมาณที่จะให้ต่อมื้อ 4. ก้าหนดปริมาณของสารอาหารมาด้วย ถ้าต้องการ สารอาหาร นอกเหนือหรือต่้ากว่าสูตรอาหาร มาตรฐานที่ก้าหนดไว้ 5. ใช้เป็นอาหารเสริมระหว่างมื้อ โดยแต่งกลิ่น รสให้
  • 31.  จะต้องเตรียมอาหารสูตรอะไร เช่น สูตรน้านม สูตรปั่นผสม และ ในสูตรนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง  วิธีการเตรียม  วิธีการให้อาหาร จานวนมื้อ และปริมาณในแต่ละมื้อ
  • 32. ◦ เตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ได้แก่ เครื่องใช้ในครัว เช่น เขียง มีด หม้อนึ่ง หม้อ ผ้ากรอง กะชอน ตะแกรงลวด ถ้วยตวง ช้อนตวง สิ่งที่อาจต้องหา เพิ่มเติมคือ เครื่องปั่น (Blender) และเครื่องชั่งอาหาร ◦ อาหารที่จะนามาปั่นผสม เตรียมตามที่กาหนดไว้ในสูตร ว่าใช้อะไรบ้าง จานวนเท่าใด ◦ วิธีการเตรียม ขั้นตอนแรก ทาความสะอาดอุปกรณ์ทุกชิ้น และบริเวณที่ ใช้เตรียมต้องสะอาดปราศจากเชื้อโรค ดังนั้นอุปกรณ์ทุกอย่างควรนึ่ง หรือต้ม หรือลวกน้าเดือดก่อนใช้ ยกเว้นเครื่องปั่นกับเครื่องชั่ง ◦ การเตรียมอาหารที่จะนามาปั่นผสม มีแนวปฏิบัติดังนี้
  • 33.  อาหารโปรตีนซึ่งอาจเป็น เนื้อไก่ เนื้อปลาแล่หนังพังผืด ออก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วนึ่ง 10-15 นาที ถั่วเหลือง ต้องต้มสุกหรือนึ่งให้เปื่อยนุ่มก่อน ◦ไข่ ต้องนามาลวกในน้าเดือด 3 - 5 นาที ◦คาร์โบไฮเดรต อาจใช้แป้ง ข้าว น้าตาล น้าผลไม้ ผัก และผลไม้ ซึ่งแป้ง, ข้าว , ผัก, ต้องต้มสุก ◦ผลไม้ นิยมใช้ผลไม้สุก ที่นิ่ม อ่อนนุ่ม เช่น กล้วย มะละกอ นาต้มสุก หรือนาต้มผัก ◦ไขมัน อาจใช้น้ามันถั่วเหลือง น้ามันข้าวโพด
  • 34. ◦ การปั่นผสม เริ่มปั่นอาหารที่มีความแข็งมากที่สุดก่อน แล้วจึงเติม อาหารชนิดที่อ่อนนุ่มกว่าลงไปปั่น แล้วจึงเติมน้าตาล น้ามัน และ ค่อย ๆ เติมน้าต้มสุก ปรับปริมาตรให้ครบตามสูตรที่กาหนดไว้ ◦ ถ้าอาหารมีกากมากเกินไป เช่น ผัก ควรกรองผ่านกะชอน หรือผ้า กรองก่อน ◦ ปั่นผสมเรียบร้อยแล้ว เก็บอาหารใส่ขวดแล้วปิดฝาเก็บในตู้เย็น อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ขวดที่ใช้ต้องต้มหรือลวกในน้าเดือดไว้ ก่อนแล้วเพื่อฆ่าเชื้อโรค ◦ ลักษณะอาหาร เป็นของเหลว สีน้าตาลเทา-เหลือง ไหลผ่านสาย อาหารได้ดีไม่ติขัด
  • 35. ◦ เตรียมตามสูตรที่แพทย์กาหนด ◦ ใช้วัตถุดิบที่สด สะอาด ◦ อุปกรณ์ที่ใช้ บริเวณที่เตรียมต้องสะอาด รวมทังตัวผู้ปรุงด้วย ◦ ตรวจสอบว่าตู้เย็นที่เก็บอาหารมีความเย็นเพียงพอหรือไม่
  • 36.  โดยปกติจะเก็บได้ 1 วัน (24 ชั่วโมง) หลังจากเตรียมแล้วและเก็บใน ตู้เย็น แต่มีการทดลองเตรียมอาหารปั่นผสมแล้วบรรจุใส่ขวดแล้วนาไป ฆ่าเชื้อโดยการพาสเจอไรส์เซชั่น ในหม้อน้าร้อน 95องศาเซลเซียส 20 นาที รีบนามาทาให้เย็นลงโดยเร็วเก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส จะเก็บได้ 3 วัน
  • 37.  อาหารปั่นผสมอาจมีการดัดแปลงเป็นอาหารที่ให้โดยการดื่มได้ ในกรณีที่ผู้ป่วยยังกลืนอาหารได้เองและปฎิเสธการใช้สายให้ อาหาร  วิธีการเตรียมอาหารสูตรปั่นผสมสาหรับดื่ม ก็อาจมีการ ดัดแปลงแต่งสี กลิ่น รสให้เป็นที่พอใจแก่ผู้ป่วยได้ เช่น เติม กล้วยหอม น้าส้มคั้น ใช้น้าใบเตยแทน น้าสุก หรือแต่งกลิ่น สังเคราะห์ก็ได้เช่นกัน
  • 38. สูตรอาหารปั่นทางสาย 1000 ml ลาดับ ส่วนผสม สูตร 1:1 สูตร 1.25:1 สูตร 1.5:1 สูตร 2:1 1 ไข่ไก่(ฟอง) 3 4 5 6 2 เนื้อไก่ดิบ/ปลา(กรัม) 90 112.5 135 180 3 ฟักทอง/ผักใบเขียวขาว/แครอท(กรัม) 100 125 150 200 4 ข้าวสุก(กรัม) 65 81.25 97.5 130 5 ขนมปัง(แผ่นใหญ่) 1 1.25 1.5 2 6 น้าตาลทราย(กรัม) 90 112.5 135 180 7 น้ามันพืช(ช้อนชา) 1 1.25 1.5 2 8 เกลือ(ช้อนชา) 1/4 1.25/4 1.5/4 1/2 พลังงาน (Kcal) 1000 1250 1500 2000
  • 39.  1 นมถั่วเหลือง 2 กล่อง  2 เครกเกอร์ 2 ห่อ  3 แครอท 200 กรัม  4 ข้าวสุก 100 กรัม  5 นาแดงเฮลบลูบอยด์ 1 ช้อนโต๊ะ
  • 40. 1. ระวังความสะอาดในการเตรียมอาหารทุกครั้ง รวมทั้งภาชนะที่ใช้ทั้งหมด 2. มีการชั่ง-ตวง ส่วนประกอบของอาหารทุกชนิดและแม่นย้าเพื่อหลีกเลี่ยงค่าผัน แปรในเรื่องคุณค่าทางโภชนาการน้อยที่สุด 3. การเตรียมสูตรอาหาร จะท้าให้ผู้ป่วยแต่ละรายๆ และท้าเฉพาะวันโดยใช้ตลอด วัน เมื่อเตรียมเสร็จแล้วเก็บเข้าตู้เย็นทันที่และแบ่งให้ผู้ป่วยเป็นมื้อๆ ตามที่แพทย์ สั่ง ข้อควรระวังต้องสังเกตในมื้อสุดท้ายว่า อาหารผสมนั้นมีกลิ่นหรือสีผิดปกติ หรือไม่ เพราะการน้าอาหารผสมเข้าออกจากตู้เย็นบ่อยครั้งอาจท้าให้เกิดการ fermentation ถ้าจะให้ดีควรมีการชิมหรือดมกลิ่นก่อนให้ผู้ป่วยทุกครั้ง
  • 42. www.themegallery.com  อาหารที่มีคุณค่าสูงและมีประโยชน์ครบถ้วนในแต่ละวันผู้ป่วยควร ได้รับสารอาหาร ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่  อาหารที่สะอาดเพราะผู้ป่วยมะเร็งจะมีความต้านทานเชื้อโรคน้อยจึง ควรเอาใจใส่ เรื่องความสะอาดให้ดี ดังนั้น อาหารจึงควร ปรุงให้สุก ผัก ผลไม้ ล้างให้สะอาด  หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์และ อาจมีโทษ เช่น ของหมักดอง อาหารใส่สี  เลือกอาหารเสริมที่ผลิตส้าเร็จหรืออาหารทางการแพทย์ ที่มีคุณค่า ครบถ้วนและมีโปรตีนสูง
  • 43. www.themegallery.com  การรับประทานอาหารที่พอเหมาะคือต้องได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ  ปริมาณ ต้องมีปริมาณที่เพียงพอถ้าร่างกายผอมลงแสดงว่ารับประทานอาหารน้อยไป  คุณภาพ มีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความส้าคัญและจ้าเป็นในการน้าไปใช้ประโยชน์ ต่อร่างกาย วันหนึ่งๆ ควรจะรับประทานเท่าไร ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละคน แต่ละวันจะไม่เท่ากัน อย่างเช่น ในระหว่างการรักษาต้องการมากกว่าช่วงที่ท้าการ รักษาเสร็จแล้ว เนื่องจากอาหารถูกน้าไปใช้ เพื่อเสริมสร้างส่วนที่สึกหรอ ดังนั้น ใน ระยะการรักษาควรพยายามรับประทานให้ได้มาก เพื่อร่างกายจะไม่อ่อนเพลีย สามารถรับการรักษาต่อไปจนครบตามแผนการรักษาของแพทย์
  • 44. www.themegallery.com  อาหารกลุ่มที่จะทาให้ท้องอืด แน่นท้อง ◦ ผู้ป่วยมะเร็งนั้นต้องระมัดระวังเรื่องระบบย่อยอาหารเป็นพิเศษ เพราะถ้าเกิดท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือ แน่นท้องแล้ว มักจะแก้ไขยาก อาหารกลุ่มนี้ได้แก่ ข้าวเหนียว เพราะรับประทานแล้วจุกแน่น ย่อย ยาก ทาให้เกิดแผลในกระเพาะ และเนื้อสัตว์ที่ย่อยยาก เปลี่ยนเป็นรับประทานโปรตีนจากเนื้อปลา แทน  อาหารเผ็ดจัด ◦ เพราะนอกจากจะทาให้แสบร้อนและระคายเคืองทางเดินอาหารแล้ว ยังจะทาให้พื้นที่ดูดซึม สารอาหารให้ลาไส้ลดลง ร่างกายก็จะรับสารอาหารได้ไม่เต็มที่ ผู้ป่วยมะเร็งมักจะมีอาการเบื่อ อาหารอยู่แล้ว หากรับประทานแล้วแต่ยังได้รับสารอาหารไม่เพียงพออีก อย่างนี้จะเอาสารอาหารที่ ไหนไปเลี้ยงร่างกาย และสารในพริกจะกระตุ้นการบีบรัดตัวของลาไส้และกระตุ้นกระเพาะอาหาร จึงอาจทาให้เกิดอาหารท้องเดิน และมีแผลในกระเพาะได้
  • 45. www.themegallery.com  อาหารที่มีส่วนผสมของน้าตาลมาก ◦ เช่น เครื่องดื่มพวกน้าอัดลม ลูกกวาด เพื่อป้องกันไม่ให้น้าตาลซึ่งดูดซึมได้ง่าย ไปก่อให้เกิดระดับแรงดันสูงที่ลาไส้ อันจะนาไปสู่อาการท้องเสีย
  • 46. www.themegallery.com  อาหารไขมันสูง ◦ เพราะไขมันจะไปเกาะที่ตับทาให้ตับไม่สามารถทางานได้เต็มที่  อาหารเค็มจัด ◦ เพราะกรณีที่ผู้ป่วยมีระบบปัสสาวะไม่ดี การรับประทานโซเดียมเข้าไปมาก ๆ อาจทาให้เกิดอาการบวมได้
  • 47. www.themegallery.com  ความต้องการพลังงาน ◦ ประมาณ 2000 แคลอรี / วัน หรือ 25-30 แคลอรี/นน.1 กก. แต่ถ้าผู้ป่วย มีภาวะทุพโภชนาการ ต้องการพลังงานวันละ 3000 - 4000 แคลอรี หรือ 35-40 แคลอรี/นน.1กก. ต้องได้รับคาร์โบไฮเดรตเพียงพอเพื่อสงวนการใช้ โปรตีน  ความต้องการโปรตีน ◦ จาเป็นสาหรับการหายของแผลและการฟื้นฟูสภาพ ต้องการกรดอะมิโน ชนิดที่จาเป็น ผู้ป่วยที่มีภาวะโภชนาการปกติ ต้องการโปรตีนวันละ 80- 100 กรัม ถ้ามีภาวะทุพโภชนาการต้องการ 100 - 200 กรัม / วัน หรือ 1.5 กรัม/นน. 1 กก.
  • 48. www.themegallery.com  ความต้องการวิตามินและเกลือแร่ ◦ ควบคุมเมตาบอลิซึมของโปรตีนและพลังงานโดยระบบน้าย่อย และมี บทบาทในการพัฒนาโครงสร้างของเนื้อเยื่อ ดังนั้นควรให้วิตามินและเกลือ แร่เสริมเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเร็งที่กระจายไปยังกระดูก ผู้ป่วย โรคมะเร็งที่รุนแรงจะขาดวิตามินซีรุนแรง และโรคมะเร็งปอดและปาก มดลูกจะขาดวิตามินดี  ความต้องการน้า ◦ จาเป็นสาหรับชดเชยที่สูญเสียไปในกระเพาะและลาไส้ หรือจากสาเหตุ โรคติดเชื้อและไข้สูง ช่วยไตขับของเสียที่ถูกมะเร็งทาลาย และพิษยาที่ใช้ รักษา
  • 49. www.themegallery.com  ข้าวแป้ง ◦ รับประทานข้าวแป้งโดยได้รับคาร์โบไฮเดรต50-55%ของพลังงานที่ร่างกาย ต้องการทั้งหมดต่อวัน ควรรับประทานข้าวแป้งเป็นอาหารหลักทั้ง 3 มื้อ ในผู้ที่ อยู่ในภาวะเจ็บป่วยควรได้รับข้าวอย่างน้อยมื้อละ 2-3ทัพพี พบว่าการได้รับ ธัญพืช โดยเฉพาะธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น จะช่วยให้ ร่างกายได้รับโฟเลทซึ่งสามารถให้ผลดีต่อผู้ป่วยมะเร็งได้
  • 50. www.themegallery.com  เนือสัตว์ ◦ เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูงควรหลีกเลี่ยง อีกทั้งเนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการปิ้งย่างจน เกิดเขม่าควันควรหลีกเลี่ยงรวมไปถึงเนื้อสัตว์ที่ผ่านการแปรรูป เช่น ไส้กรอก กุนเชียง ควรหลีกเลี่ยง นอกจากนี้การรับประทานเต้าหู้หรือน้้านมถั่วเหลืองวัน ละ 1 แก้วสามารถให้ผลดีต่อการป้องกันการเกิดมะเร็งและลดอัตราการ เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้แต่ทั้งนี้ต้องไม่รับประทานในปริมาณมากเกิน เพราะการได้รับถั่วเหลืองในปริมาณมากเกิน ก็สามารถส่งผลให้เซลล์มะเร็ง เจริญเติบโตขึ้นจากฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกับฮอร์โมนเพศหญิงของถั่วเหลืองได้
  • 51. www.themegallery.com  ไขมัน ◦ ควรได้รับไขมันวันละ 30% ของพลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน และไม่ รับประทานไขมันอิ่มตัว รวมไปถึงอาหารที่ใช้น้ามันทอดซ้า หลีกเลี่ยงอาหารที่ มีไขมันแฝง เช่น เบเกอร์รี่ ไอศกรีม เนื่องจากจะเสี่ยงต่อการได้รับพลังงานมาก เกินทาให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งเป็นสาเหตุส่งเสริมการเกิดโรคมะเร็งได้ สาหรับ ไขมันชนิดไม่อิ่มตัว โอเมก้า-3 จะมีผลในการลดการเสี่ยงการเกิดมะเร็ง แต่บาง งานวิจัยก็ไม่มีผล ดังนั้นการรับประทานไขมันจึงควรรับประทานแต่พอดี
  • 52. www.themegallery.com  ผัก ◦ ผู้ที่เป็นมะเร็งหากได้รับผักเป็นปริมาณมาก จะดีกว่าการได้รับผลไม้ในปริมาณ มาก เพราะในผลไม้จะมีน้าตาลสูงทาให้เกิดไขมันสะสมได้ โดยหาก รับประทานพวกผักใบเขียวจะไม่จากัดจานวนในการรับประทาน แต่ในผู้ป่วย บางกลุ่มที่ได้รับยาต้านฮอร์โมนกลุ่ม Tamoxifen ควรได้รับแครอทและดอก กะหล่าเพิ่มบ้าง เพื่อลดอาการร้อนๆ หนาวๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างได้รับยา
  • 53. www.themegallery.com  ผลไม้ ◦ เลือกรับประทานผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัดและควรเลือกรับประทานผลไม้ที่มี เส้นใยสูง เช่น ฝรั่ง ชมพู่ ผลไม้ที่มีสีแดงสดและมีสีออกแดงหรือสีส้ม ที่สามารถ รับประทานได้ทั้งเปลือกเพราะให้สาร flavonoid ลดการเกิดมะเร็งได้