SlideShare a Scribd company logo
รายชื่อกลุ่ม
นางสาว อรพรรณ ศรีชัยพิทักษ์ ปี 4/4
นาย อัครเดช สายทรัพย์สิน ปี 4/4
นาย อภิรัตน์ ตาเต็มดวง ปี 4/4
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย
โดยธรรมชาติของมนุษย์ เมื่อเกิดปัญหาต่างๆ ขึ้น ในชีวิต ก็จะพยายามหาทาง
แก้ปัญหาด้วยตัวเอง เป็นอันดับแรก เมื่อรู้ว่า ไม่สามารถแก้ปัญหาได้เอง ก็จะ
แสวงหาความช่วยเหลือจากผู้อื่น ในเรื่องความเจ็บป่วย หรือปัญหาสุขภาพก็
เช่นเดียวกัน ทุกคนต้องการที่จะดูแลตนเอง ให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ ดังนั้น กล่าวได้
ว่า "การดูแลสุขภาพตนเอง เป็นกิจกรรมที่บุคคลแต่ละคนปฏิบัติ และยึดเป็นแบบ
แผนในการปฏิบัติ เพื่อให้มีสุขภาพดี" อาจแบ่งขอบเขตการดูแลสุขภาพตนเอง
เป็น 2ลักษณะคือ
การดูแลสุขภาพร่างกายในสภาวะปกติ
เป็นการดูแลสุขภาพตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ให้มีสุขภาพ
แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอได้แก่
การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดาเนิน
ชีวิตได้อย่างปกติสุข เช่น การออกกาลังกายการสร้างสุขวิทยาส่วน
บุคคลที่ดี ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ การป้องกันโรค เพื่อไม่ให้เจ็บป่วยเป็นโรค เช่น การไปรับ
ภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ การไปตรวจสุขภาพ การป้องกันตนเองไม่ให้
ติดโรค
การดูแลสุขภาพร่างกายเมื่อเจ็บป่วย
• ได้แก่ การขอคาแนะนา แสวงหาวามรู้จากผู้รู้ เช่น อาสาสมัคร
สาธารณสุขต่างๆ ในชุมชน บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้ได้แนวทาง
ปฏิบัติ หรือการรักษาเบื้องต้นให้หาย จากความเจ็บป่วย ประเมิน
ตนเองได้ว่า เมื่อไรควรไปพบแพทย์ เพื่อรักษาก่อนที่จะเจ็บป่วย
รุนแรง และปฏิบัติตามคาแนะนาของแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุข
เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วย และมีสุขภาพดีดังเดิม
• การที่ประชาชนทั่วไปสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้นั้น
จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การดูแลสุขภาพ ตั้งแต่ยังไม่
เจ็บป่วย เพื่อบารุงรักษาตนเอง ให้สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักที่จะป้องกัน
ตัวเอง มิให้เกิดโรค และเมื่อเจ็บป่วยก็รู้วิธีที่จะรักษาตัวเอง เบื้องต้น
จนหายเป็นปกติ หรือรู้ว่า เมื่อไรต้องไปพบแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่
สาธารณสุข
วิธีการดูแลสุขภาพ
• การรักษาอนามัยของดวงตา
• ดวงตาเป็นอวัยวะสาคัญ เราควรหวงแหน และให้
ความเอาใจใส่ ควรปฏิบัติดังนี้ อ่าน หรือเขียน
หนังสือในระยะห่างประมาณ 1 ฟุต โดยมีแสง
สว่างเพียงพอ แสงเข้าทางด้านซ้าย หรือตรงข้าม
กับมือที่ถนัด หากรู้สึกเพลียสายตา ควรพักผ่อน
สายตา โดยการหลับตา หรือมองไปไกลๆ ชั่วครู่
ดูโทรทัศน์ในระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตรครึ่ง
บารุงสายตา
ด้วยการรับประทานอาหารที่มีคุณค่า เช่น มะละกอสุก ฟักทอง และ
ผักบุ้ง เป็นต้น ใส่แว่นกันแดด ถ้าจาเป็นต้องมองในที่ๆ มีแสง
สว่างมากเกินไป ตรวจสายตาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยแผ่น
ทดสอบสายตา (E-Chart) ถ้าสายตาผิดปกติ ให้พบจักษุ
แพทย์ เพื่อตรวจสอบ และประกอบแว่นสายตา
การรักษาอนามัยของหู
• หูเป็นอวัยวะที่สาคัญอย่างหนึ่งของร่างกาย ที่จะต้อง
เอาใจใส่ดูแลให้ถูกต้อง ดังนี้ เช็ด บริเวณใบหู และรู
หู เท่าที่นิ้วจะเข้าไปได้ ห้ามใช้ของแข็งแคะเขี่ยใบหู รู
หู คนที่มีประวัติว่า มีการอักเสบของหู ต้องระวังไม่ให้
น้าเข้เด็ดขาด หากมีน้าเข้าหู ให้เอียงหูข้างนั้นลง น้า
จะค่อยๆ ไหลออกมาได้เอง หรือใช้ไม้พันสาลีเช็ด
บริเวณช่องหูด้านนอก
1. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หลีกเลี่ยงขนมหวาน เช่น
ลูกอม แปรงฟัน หรือบ้วนปากหลังรับประทานอาหาร ไม่ใช้
ฟันขบเคี้ยวของแข็ง
2. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย
ควรล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง ก่อนและหลังการปรุงอาหาร รวมทั้งก่อน
รับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย เป็นการป้องกันการแพร่เชื้อ และ
ติดเชื้อโรคได้ควรล้างมือให้ถูกวิธี ดังนี้
- ให้มือเปียกน้า ฟอกสบู่ ถูให้ทั่วฝ่ามือ ด้านหน้า และด้านหลังมือ
- ถูตามง่ามนิ้วมือ และซอกเล็บให้ทั่ว เพื่อให้สิ่งสกปรกหลุดออกไป
พร้อมทั้งถูกข้อมือ
4. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และการสาส่อนทางเพศ
- ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกชนิด เช่น บุหรี่
สุรา ยาบ้า กัญชา กาว ทินเนอร์
- งดเล่นการพนันทุกชนิด
- ไม่มั่วสุมทางเพศ
5. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
- ทุกคนในครอบครัวช่วยกันทางานบ้าน
- มีการปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- การเผื่อแผ่น้าใจซึ่งกันและกัน
- การทาบุญ และได้ทากิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
6. ป้องกันอุบัติเหตุด้วยความไม่ประมาท
- ดูแล ตรวจสอบ และระมัดระวังอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน
เช่น ไฟฟ้า เตาแก๊ส ของมีคม ธูปเทียนที่จุดบูชาพระ และไม้ขีดไฟ
- ระมัดระวังเพื่อป้องกันอุบัติภัยในที่สาธารณะ เช่น การใช้ถนน
โรงฝึกงาน สถานที่ก่อสร้าง และชุมชนแออัด เป็นต้น
7. ออกกาลังกายสม่าเสมอ และตรวจสุขภาพประจาปี
การออกกาลังกายช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย กระตุ้นให้
กระดูกยาวขึ้น และเข็งแรงขึ้น ทาให้สูงสง่า บุคลิกดี และยังช่วยผ่อนคลาย
ความเครียด จากการทางาน ตลอดจนเพิ่มภูมิต้านทานแก่ร่างกาย โดย
- ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ครั้งละ 20-30 นาที
- ออกกาลังกาย และเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย
และวัย
- ตรวจสอบสุขภาพประจาปีอย่างน้อยปีละครั้ง
8 ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
- พักผ่อน และนอนหลับให้เพียงพอ
- จัดสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้าน และนอกบ้านให้น่าอยู่
- มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับข้อบกพร่อง
ของคนอื่น
- เมื่อมีปัญหาไม่สบายใจ ควรหาทางผ่อนคลาย
ในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
ประโยชน์ของการส่งเสริมสุขภาพ
1. มีสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ
สังคม ทาให้ดารงชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคมได้อย่าง
ปกติสุข
2. โอกาสเกิดโรค การเจ็บป่วย และความผิดปกติต่างๆมี
น้อยมาก
3. ไม่เสียเวลาในการเรียน เนื่องจากไม่เจ็บป่วย
4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ
5. มีพัฒนาการทางด้านร่างกายเป็นไปตามปกติ
การตรวจสุขภาพประจาปี
กิจกรรมการตรวจประเมินสุขภาพ โดยที่ผู้รับการตรวจยัง
ไม่มีอาการผิดปกติ ยังอยู่ในภาวะที่ร่างกายยังปกติ และ
ผู้ป่วยรู้สึกว่าร่างกายยังสมบูรณ์ เป็นการตรวจที่ทาในทุกๆ
ปี ปีละ 1 ครั้ง ซึ่งเป็นการตรวจที่ประกอบด้วย การ
สัมภาษณ์ / สอบถามประวัติอาการ และประวัติทาง
การแพทย์ต่างๆ การตรวจร่างกายโดยละเอียด การตรวจ
ทางห้องปฏิบัติ การที่จาเป็น การให้วัคซีนป้องกันโรคตาม
คาแนะนาของกระทรวงสาธารณสุข และการให้คา ปรึกษา
สุขภาพที่สอดคล้องกับสภาวะของผู้รับการตรวจแต่ละราย
การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
• ในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพนั้น เราควรบริโภคอาหาร
ให้ครบ 5 หมู่ และให้มีความหลากหลาย มีไขมันต่า
คอเลสเตอรอลต่าและมีเส้นใยอาหารสูงตามหลักโภชนา
บัญญัติ 9 ประการ เลือกบริโภคอาหารอย่างถูกต้องและ
เหมาะสมต่อความต้องการในแต่ละวันและวัยของตนเอง
ตามหลักของธงโภชนาการ สารอาหารที่ร่างกายต้องการ
มากกว่า 40 ชนิดตลอดชีวิตของคนเรานั้น ก็มาจากอาหาร
หลัก 5 หมู่ คือ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และ
แร่ธาตุ แต่ปริมาณเท่านั้นที่แตกต่างไป เช่น สารอาหารที่
ได้รับความสนใจเป็นพิเศษในวัยสูงอายุคือโปรตีน
แคลเซียม วิตามินตี วิตามินซี ธาตุเหล็ก วิตามินเอ กรดโฟลิก วิตามินบี
12 สังกะสี กากใยอาหารและ น้าขณะเดียวกันอาหารที่ควรระวังคืออาหาร
ที่มีไขมัน นอกจากจะระวังในปริมาณอาหารที่กิน ในแต่ละมื้อแล้ว ยัง
ต้องระวังอาหารประเภทไขมันสูงและโซเดียมสูง เพราะอาหารไขมันสูงจะ
ก่อให้เกิดโรคอ้วนและเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง, โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ใหญ่และมะเร็งในต่อมลูกหมาก
การลดอาหารไขมันจึงมีความสาคัญในการลดน้าหนัก และลดอัตราเสี่ยง
การเกิดโรคหัวใจหลอดเลือด ความดัน และโรคมะเร็ง ผู้ที่มีโภชนาการดี
จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทานและลดปัญหาด้านสุขภาพและอยู่อย่างมีคุณภาพ
10 วิธี เพื่อการควบคุมน้าหนักให้ได้ผล
1. ความตั้งใจของตัวคุณเอง
การควบคุมน้าหนักเป็นสิ่งที่ทาได้ไม่
ยาก แต่สาเหตุที่ทาไม่ค่อยประสบ
ความสาเร็จ มาจากการไม่สามารถ
ควบคุมให้อยู่ในโปรแกรมได้ตลอด
ระยะเวลาที่กาหนด เราควรสร้าง
กาลังใจให้ตนเอง มีความตั้งใจที่จะ
ไปให้ถึงเป้าหมาย สร้างภาพพจน์ให้
ชัดเจนในใจ จินตนาการถึงสิ่งที่
เกิดขึ้นเมื่อทาสาเร็จ
2 ไม่ควรอดอาหาร
• เพราะการอดอาหาร นอกจากจะทาให้ขาด
สารอาหารแล้ว ยังทาให้รู้สึกหิวมาก จนทา
ให้รับประทานอาหารในปริมาณที่มาก
เกินไป การอดอาหารเป็นเวลานาน จะทา
ให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานน้อยลง และ
จะกลายเป็นคนอ้วนง่าย วิธีการควบคุม
อาหารที่ถูกต้อง คือ รับประทานอาหาร
ประเภท คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนใน
สัดส่วนที่พอเหมาะ ลดอาหารไขมันสูง
รับประทานผักและผลไม้ แทนมาก ๆ
3. หาเวลาออกกาลังกาย
• ควรออกกาลังกายทั้งแบบแอโรบิก เพื่อให้เกิดการเผา
ผลาญพลังงาน และหัวใจได้สูบฉีดโลหิต ควบคู่ไปกับการ
ออกกาลังกาย แบบเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ จะทาให้
ร่างกายกระชับได้สัดส่วน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
4. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้าหวาน น้าอัดลม ให้ดื่มน้าเปล่า
วันละประมาณ 8 แก้ว หรือ ดื่มน้าผลไม้100% ที่ไม่มีน้าตาล
5. อย่ารับประทานอาหารเร็วเกินไป
• เนื่องจากร่างกายมีกลไก การรับรู้ความรู้สึกอิ่มจาก
สารอาหาร โดยเฉพาะน้าตาลที่เข้าสู่กระแสเลือด หาก
รับประทานเร็วเกินไป กว่าร่างกายจะตอบสนองว่าอิ่ม
ก็ได้รับประทานอาหารมากเกินไปแล้ว เพราฉะนั้นใน
แต่ละมื้ออาหาร ควรดื่มน้าก่อน 1 แก้ว เคี้ยวอาหารให้
ช้าลง และหยุดรับประทานอาหารทันทีที่รู้สึกอิ่ม ไม่
ควรเสียดายอาหารที่เหลือ
6 ควรรับประทานอาหารให้อิ่มเรียบร้อย ก่อนที่จะทากิจกรรม
อย่างอื่น ไม่ควรรับประทานอาหารไป ดูทีวีไป เพราะจะทาให้
เพลิน และรับประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกาย
7 ไม่ควรรับประทานอาหารมื้อดึก หรือรับประทานขนมในเวลาก่อนเข้า
นอน เพราอาหารที่รับประทานทั้งหมดจะกลายเป็นไขมันสะสมในร่างกาย
8. งดอาหารว่างระหว่างมื้อที่เป็นของขบเคี้ยว เบเกอรี่ หรือของหวาน
ให้รับประทานผัก หรือ ผลไม้แทน
9. การออกกาลังกายที่สนุกสนาน
จะช่วยทาให้เราสามารถทาได้อย่างสม่าเสมอ และมีความสุขที่จะ
ทา เช่น เล่นกีฬาที่ชอบ , ทากิจกรรมร่วมกับสมาชิกที่บ้าน อาจ
เป็นงานบ้าน หรือไปออกกาลังกายที่สวนสาธารณะ เมื่อไหร่ที่เริ่ม
มีอาการเบื่อการออกกาลังกาย ให้สลับกับกิจกรรม หรือกีฬาที่เรา
ชอบ เพื่อเป็นการเผาผลาญพลังงานไปพร้อม ๆ กัน
10. เริ่มต้นด้วยเป้าหมายที่เป็นไปได้ไม่ควรลดน้าหนักรวดเร็ว
เกินไป ให้รางวัลกับตัวเอง เช่น เสื้อ หรือกางเกง เมื่อประสบ
ความสาเร็จ แต่ไม่ควรให้รางวัลด้วยอาหารมื้อพิเศษ
โรคผิวหนัง
ผิวหนังเป็นเนื้อเยื่อส่วนนอกสุดของร่างกายที่ห่อหุ้มโครงสร้างและ
อวัยวะทุกอย่างไว้ซึ่งในแต่ละบริเวณจะมีความหนา-บางแตกต่าง
กัน ขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่ต้องรองรับ และถูกเสียดสี ผิวหนังของเรา
แบ่งเป็น 2 ชั้นใหญ่ ๆ คือ ชั้นหนังกาพร้า และ ชั้นหนังแท้
โรคผิวหนังอักเสบจากเชื้อไวรัส
• ไวรัสเป็นเชื้อกลุ่มใหญ่อีกกลุ่มที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อในทุกระบบ
รวมไปถึงการติดเชื้อที่ผิวหนัง เชื่อว่าหลายท่านคงเคยเป็น หรือมี
คนใกล้ตัวเป็นโรคเหล่านี้กันบ้างแน่ ๆ และไม่ต้องแปลกใจนะครับ
หากพบว่าเป็นโรคเหล่านี้อยู่บ่อย ๆ เพราะเป็นธรรมชาติของไวรัส
ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับเชื้อมาแล้วจะมีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อตัวเชื้อ
เพื่อพยายามกาจัด และปกป้องตนเองไม่ให้เป็นโรคแต่ตัวเชื้อก็จะ
ยังคงหลบซ่อนและอาศัยอยู่ในร่างกายนี่ล่ะครับ จนวันดีคืนดีเมื่อ
ภูมิต้านทานต่าลงก็จะเกิดอาการของโรคขึ้นมาได้ โรคติดเชื้อ
ผิวหนังจากเชื้อไวรัสที่สาคัญ ได้แก่
1. เริม (Herpes Simplex)
สามารถเป็นได้อยู่บ่อย ๆ ถ้าร่างกาย อ่อนแอลง เช่น
อดนอน ทางานหนัก เครียด
2.งูสวัด (Herpes Zoster)
คือเชื้อชนิดเดียวกับที่ทาให้เกิดโรคสุกใส แผลที่เกิดขึ้น
จึงมีลักษณะเดียวกันคือตุ่มพองใสบนฐานแดง ขึ้นชิดกัน
มักกลายเป็นหนองแห้ง และตกสะเก็ดภายใน 10 วัน
โรคผิวหนังยอดฮิต
1. มีรังแค
1) เชื้อราที่อาศัยอยู่บนหนังศีรษะของเราทุกๆ คน
2) น้ามันบนหนังศีรษะ (ซึ่งมีกันในทุกๆ คน) และ
3) ภาวะการมีรังแคที่สามารถติดต่อได้โดยการสัมผัส
2. เป็นเริมที่ปาก
• ซึ่งโรคนี้เป็นสัญญาณที่บ่งบอกได้ว่าร่างกายของคุณได้รับวิตามินอี
ไม่เพียงพอนั่นเอง ฉะนั้นถ้าอยากให้เจ้าเริมที่ปากนี่หายไปละก็
นอกจากจะไปพบแพทย์แล้ว ก็ลองหาอาหารที่อุดมด้วยวิตามินอี
เช่น น้ามันผัก ถั่ว มากินเพื่อช่วยอีกแรงหนึ่งดีกว่าค่ะ
3. เป็นสิวเรื้อรัง
• นั่นอาจจะเป็นสัญญาณที่บอกว่าร่างกายของคุณกาลังขาด
วิตามินซีอยู่นะคะ เพราะวิตามินซีทาให้ผิวสุขภาพดี แถมยัง
มีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยให้ผิวสวยใสไร้สิวด้วย
4. ริมฝีปากแห้งลอก
• นั่นเป็นสัญญาณที่บ่งบอกแล้วว่าร่างกายของคุณกาลังขาด
วิตามินบี 2 นั่นเอง ถ้าไม่อยากให้ปากแห้งลอกจนเลือดซิบ ๆ
หรือทาลิปสติกยังไงก็ไม่สวย ก็ให้เพิ่มการกินอาหารที่อุดมไป
ด้วยวิตามินบี 2 เช่น ข้าวโพด ตับวัว โยเกิร์ต นม เห็ด และชีส
5. เป็นโรคสะเก็ดเงิน
ยิ่งบ่งบอกชัดเลยว่าร่างกายของคุณกาลังขาดวิตามินดีแล้วล่ะ
ซึ่งถ้าอยากให้สะเก็ดเงินหายไปละก็ ลองหานมแบบที่ช่วยเสริม
วิตามินหรือแร่ธาตุ เห็ด หรือถ้าให้สะดวกเลยคือหาวิตามินดี
แบบเม็ดมากินดู
การดูแลรักษาสุขภาพตามวัย
• ช่วงที่ 1 อายุ 0-6 ปี เริ่มจากหญิงตั้งครรภ์ควรไปฝาก
ครรภ์และตรวจสม่าเสมอ เพื่อให้ทารกในครรภ์ได้รับการ
ดูแลและคลอดอย่างปลอดภัยโดยแพทย์ จากนั้นจนถึงอายุ
6 ปี ทารกต้องได้รับวัคซีนพื้นฐานครบถ้วน และได้รับการ
ตรวจทางด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ และพฤติกรรมต่างๆ
ช่วงที่ 2 อายุ 7-18 ปี สิ่งที่สาคัญ คือ การเตรียมตัวให้วัยนี้เป็นผู้ใหญ่ที่
แข็งแรงทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ มีอารมณ์ที่แจ่มใส มีภูมิคุ้มกันทางความคิด
สามารถดูแลตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ
การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป
ช่วงที่ 3 อายุ 19-60 ปี เป็นวัยทางาน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยาวถึง 40 ปี มักมีเวลา
ในการดูแลสุขภาพตนเองน้อย ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้โดยวัยนี้มักเป็นโรคที่
สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรค
จากบุหรี่ สุรา หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับการทางาน เช่น ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ โรค
เครียด เป็นต้น จึงจาเป็นต้องตรวจสุขภาพสม่าเสมอ เพื่อให้เข้าสู่วัย 60 ปี
เป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี
ช่วงที่ 4 อายุ ตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป วัยนี้ถือเป็นวัยสูงอายุ นอกจากมีความ
เสื่อมถดถอยของร่างกายแล้ว บางรายยังมีโรคประจาตัวด้วย สาหรับผู้ป่วย
ที่มีโรคประจาตัว ควรรับการตรวจรักษาสม่าเสมอและปฏิบัติตามคาแนะนา
ของแพทย์ ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง หากมีอาการผิดปกติควรพบ
แพทย์ เพื่อให้การรักษาที่ถูกต้อง ก็จะทาให้มีสุขภาพดีได้อย่างต่อเนื่อง
เช่นเดียวกับผู้สูงอายุทั่วไป ที่ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออก
กาลังกายทุกวัน นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
ไม่เครียด
สรุปรวม เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพร่างกาย คน
ทั่วไปมีความเชื่อว่าต้องกินอาหารเพื่อบารุงกินให้ครบ 5 หมู่ ชีวิตจึงจะสมดุล
ไม่เจ็บป่วย ถ้าเรากินอาหาร คบ 5หมู่ จะไม่มีโรคใดเลย แต่หากรู้ไม่ว่าแค่
ทานอาหาร คบ 5 หมู ก็สามารถเหลีกเลี่ยงจากโรคต่างๆได้ไม่ว่า ช่วง เด็ก
ผู้ใหญ่ หรือ คนชรา ไหนก็ตามถ้าไม่ดูแลในเรื่องการทานอาหารการออก
กาลังกายสามารถเกิดโรคได้แบบง่ายๆเหมือนกันเราเลยต้องออกกาลังกาย
ทุกวันอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 3 ช.ม ต่อวัน เพื่อช่วยให้มีสุขภาพที่แข็งแรงปอก
สักจากโรคต่างๆ เช่น โรคผิวหนัง โรคเอดส์ โรคมะเร็ง จึงต้องระวังเป็นอย่าง
ยิ่งและดูแลสุขภาพร่างกายเป็นอย่างดี
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
Eketlin Gomes
 
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillorVleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
Valbona Imeraj
 
Shkrimi reflektiv
Shkrimi reflektivShkrimi reflektiv
Shkrimi reflektiv
Menaxherat
 
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana GashiAnaliza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
Menaxherat
 
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionit
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionitMekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionit
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionitRrahim Maksuti
 
Ishujt britanike
Ishujt britanikeIshujt britanike
Ishujt britanikeAn An
 
Politika fiskale
Politika fiskalePolitika fiskale
Politika fiskale
UBT University
 
Menaxhimi i Klases
Menaxhimi i KlasesMenaxhimi i Klases
Menaxhimi i KlasesAnida Ago
 
Shkëmbinjtë sedimentarë
Shkëmbinjtë sedimentarëShkëmbinjtë sedimentarë
Shkëmbinjtë sedimentarë
#MesueseAurela Elezaj
 
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomike
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomikeCiklet e biznesit dhe rritja ekonomike
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomikeMenaxherat
 
Dordoleci
DordoleciDordoleci
Dordoleci
Valbona Imeraj
 
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionit
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionitTreguesit e lokalizimit dhe te variacionit
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionitMenaxherat
 
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.Jonida Muci
 
Materialet polimere. IV
Materialet polimere. IVMaterialet polimere. IV
Materialet polimere. IV
Era Kerliu
 
Makroekonomia
MakroekonomiaMakroekonomia
Makroekonomia
shpatvjanova
 
Funkisonet e familjes
Funkisonet e familjesFunkisonet e familjes
Funkisonet e familjes
Xhesika Bocaj
 
Mbledhja e monomeve
 Mbledhja e monomeve Mbledhja e monomeve
Mbledhja e monomeve
Ibish Iljazi
 
Projekt matematike
Projekt matematikeProjekt matematike
Projekt matematikeUeda Rrukaj
 

What's hot (20)

TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
TCC Gestão de Projetos - A IMPORTÂNCIA DO GERENCIAMENTO DE PROJETOS NO SUCESS...
 
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillorVleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
Vleresimi i nxenesve ne klasat 1-3 te arsimit fillor
 
Shkrimi reflektiv
Shkrimi reflektivShkrimi reflektiv
Shkrimi reflektiv
 
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana GashiAnaliza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
Analiza statistikore e të dhënave - Ardiana Gashi
 
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionit
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionitMekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionit
Mekanika e shkatërrimit I-Thyerjet për shkak të korrozionit
 
Ishujt britanike
Ishujt britanikeIshujt britanike
Ishujt britanike
 
Politika fiskale
Politika fiskalePolitika fiskale
Politika fiskale
 
Menaxhimi i Klases
Menaxhimi i KlasesMenaxhimi i Klases
Menaxhimi i Klases
 
Shkëmbinjtë sedimentarë
Shkëmbinjtë sedimentarëShkëmbinjtë sedimentarë
Shkëmbinjtë sedimentarë
 
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomike
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomikeCiklet e biznesit dhe rritja ekonomike
Ciklet e biznesit dhe rritja ekonomike
 
Dordoleci
DordoleciDordoleci
Dordoleci
 
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionit
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionitTreguesit e lokalizimit dhe te variacionit
Treguesit e lokalizimit dhe te variacionit
 
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.
Ndikimi i politikes fiskale ne permiresimin e ekonomise shqiptare. pdf.
 
Materialet polimere. IV
Materialet polimere. IVMaterialet polimere. IV
Materialet polimere. IV
 
Makroekonomia
MakroekonomiaMakroekonomia
Makroekonomia
 
Firma
FirmaFirma
Firma
 
Matrica
MatricaMatrica
Matrica
 
Funkisonet e familjes
Funkisonet e familjesFunkisonet e familjes
Funkisonet e familjes
 
Mbledhja e monomeve
 Mbledhja e monomeve Mbledhja e monomeve
Mbledhja e monomeve
 
Projekt matematike
Projekt matematikeProjekt matematike
Projekt matematike
 

Similar to เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11

การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองDa Arsisa
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
Da Arsisa
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา
kruictsmp37
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
tassanee chaicharoen
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
tassanee chaicharoen
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
Boonlert Aroonpiboon
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
Watcharin Chongkonsatit
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
WC Triumph
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
Terapong Piriyapan
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Tiwapon Wiset
 

Similar to เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11 (20)

การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
08 2
08 208 2
08 2
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11