SlideShare a Scribd company logo
โภชนาการ
จัดทาโดย
นางสาว ตติยา หาสุข เลขที่17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
ส่ง
ครู ทัศนีย์ไชยเจริญ
โภชนาการคืออะไร
เรื่องต่างๆ ที่ว่าด้วยอาหาร เช่น การจัดแบ่งประเภทสารอาหาร ประโยชน์ของอาหาร การย่อย
อาหาร โรคขาดสารอาหาร เป็นต้น โภชนาการจึงเป็นวิชาการสาขาหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเป็น
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของอาหารที่รับประทานเข้าไปเพื่อ
ประโยชน์ในการบารุงร่างกาย
อาหารหลัก5หมู่
อาหารหมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง (โปรตีน)
ประโยชน์
- ทาให้ร่างกายเจริญเติบโต ร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค
- ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ของร่างกาย อันได้แก่แผลต่างๆ หรือจากการเจ็บป่วย
- จะถูกนาไปสร้างกระดูก กล้ามเนื้อ เลือด เม็ดเลือด ผิงหนัง น้าย่อย ฮอร์โมน ตลอดจนภูมิต้านทานเชื้อโรคต่าง ๆ
สรุปให้จาง่ายๆ คือ เจริญเติบโต ซ่อมแซม สร้าง
โปรตีน เป็นส่วนประกอบหลักของทุก ๆเซลล์ในร่างกาย จึงถือได้ว่าอาหารหมูนี้เป็นอาหารหลักที่สาคัญในการสร้างโครงสร้าง
ของร่างกายในการเจริญเติบโต และทาให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานได้เป็นปกติ
อาหารหมู่ที่ 2 ข้าวแป้ง น้าตาล เผือก มัน (คาร์โบไฮเดรต)
ประโยชน์
- ให้ พลังงาน แก่ร่างกาย ให้ร่างกายสามารถทางานได้
- ให้ ความอบอุ่น แก่ร่างกาย
สรุปให้จาง่ายๆ คือ ให้ พลังงาน+ความอบอุ่น
พลังงานที่ได้จากหมู่นี้ส่วนใหญ่จะใช้ให้หมดไปวันต่อวันเช่น ใช้ในการวิ่ง เล่น เดิน ทางาน การออกกาลังกายต่าง ๆ แต่ถ้ากินอาหารหมู่นี้มากจนเกิน
ความต้องการของร่างกาย ก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน และทาให้เกิดโรคอ้วนได้
อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่างๆ(วิตามิน)
ประโยชน์
- ทาให้ร่างกายแข็งแรง มีความต้านทานเชื้อโรค
- ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้อย่างเป็นปกติ
- มีกากใยมาก ทาให้ลาไส้ทางานปกติ ขับถ่ายง่าย
ตัวอย่างอาหารหลัก หมู่นี้คือ ผักต่าง ๆ เช่น ตาลึง ผักบุ้ง ผักกาด และผักใบเขียวอื่น ๆ นอกจากนั้นยังรวมถึงพืชผักอื่น ๆ เช่น มะเขือ
ฟักทอง ถั่วฝักยาว เป็นต้น
อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้(เกลือแร่)
ประโยชน์
- ทาให้ร่างกายแข็งแรง มีความต้านทานเชื้อโรค
- ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้อย่างเป็นปกติ
- มีกากใยมาก ทาให้ลาใส้ทางานปกติ ขับถ่ายง่าย
อาหารหมู่ที่ 5 น้ามัน และไขมัน จากพืชและสัตว์
ประโยชน์
- ให้พลังงานแก่ร่างกาย
- สะสมไว้ใต้ผิวหนังส่วนต่างๆ ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และร่างกายจะดึงออกมาใช้เมื่อเวลาจาเป็น-
- ช่วยดูดซึมวิตามินชนิดละลายในไขมัน อันได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี และ เค
ธงโภชนาการ
ธงโภชนาการ คือ สื่อที่ช่วยอธิบาย และทาความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนบัญญัติ 9 ประการ สาหรับนาไปสู่การปฏิบัติในการรับประทานอาหารเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
และเป็นประโยชน์ต่อร่างกายให้มากที่สุด
แคลอรี่
แคลอรี่ หรือ แคลอรี (calorie) คือ หน่วยในการวัดพลังงาน ที่เรามักจะเห็นได้จากฉลากข้างกล่องบรรจุอาหารต่าง ๆ ซึ่งมีไว้เพื่อบอกปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับ
ประทานเข้าไป เพราะร่างกายต้องการพลังงาน
ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 1,200-1,600 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงตัวเล็กที่ออกกาลังกายสม่าเสมอ และผู้หญิงที่มีรูปร่างกายปานกลางที่ไม่ได้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
แต่กาลังต้องการลดน้าหนักอยู่พอดี
ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 1,600-2,000 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงที่มีรูปร่างใหญ่ ผู้ชายที่มีรูปร่างเล็กที่ใช้แรงงานมาก ผู้ชายรูปร่างกายปานกลางที่ไม่ได้ออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ และผู้ชายที่รูปร่างปานกลางที่ใช้แรงงานมากอยู่แล้วและอยากลดน้าหนักด้วย
ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 2,000-2,400 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงหรือผู้ชายที่มีรูปร่างกายขนาดกลางถึงใหญ่ที่ชอบออกแรงทั้งวัน ผู้ชายรูปร่างใหญ่มากที่ไม่ได้ใช้แรงงาน
อะไรมากมาย และผู้ชายรูปร่างใหญ่มากและใช้งานมาก อีกทั้งยังต้องการลดน้าหนักด้วย
สูตรการคานวนหาค่า BMI ก็คือ = น้าหนัก(กิโลกรัม) หาร ส่วนสูง(เมตร)ยกกาลังสอง
ยกตัวอย่างการคานวณ
สมมุติว่าคุณหนัก 60 kg และสูง 165 cm
ก่อนอื่นก็แปลงส่วนสูงเป็นเมตรก่อนครับ
โดย 165 เซนติเมตร พอกลายเป็นเมตรก็เท่ากับ 1.65 เมตรครับ
ก็เอาค่ามาเทียบในสูงได้เลย
= 60 / (1.65 x 1.65) = 22.03
ค่า BMI ก็จะเท่ากับ 22.03 นั่นเองครับ
เมื่อได้ค่ามา ก็เอามาเทียบตามค่าดังนี้ครับ
- ต่ากว่า 17 = ผอม กินให้เยอะกว่านี้หน่อยจะดีกว่านะ
- 17-18.4 = สมส่วน ทาตัวให้เหมือนเดิมอ่ะ ดีแล้ว ^ ^
- 18.5-24.9 = เริ่มจะอวบ (ยังไม่อ้วนนะ) ระวังหน่อยๆ ช่วงนี้เริ่มกินเยอะขึ้นแล้วใช่ไหมเรา?
- 25-29.9 = อวบระยะสุดท้ายหรืออ้วนแล้วล่ะ แต่ยังไม่ถึงกะเป็นอันตราย ให้รีบลด
- มากกว่า 30 = อ้วนแบบอันตรายแล้วล่ะ รีบลดด่วนๆ
สรุป
อาหาร (food) คือ สิ่งที่เรารับประทานได้โดยปลอดภัยและให้สารอาหารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ในประเทศไทยมักจาแนกเป็น 5 หมู่ หรือ 5 กลุ่ม เพื่อเป็นแนวทางให้คนไทยบริโภค
อาหารที่หลากหลายและครบส่วน อาหาร 5 หมู่ ได้แก่
หมู่ที่ 1 ได้แก่ ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน
หมู่ที่ 2 ได้แก่ เนื้อสัตว์นม ถั่ว ไข่
หมู่ที่ 3 ได้แก่ ไขมันและน้ามัน
หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผัก
หมู่ที่ 5 ได้แก่ ผลไม้
สารที่เป็นองค์ประกอบในอาหาร เรียกว่า สารอาหาร (nutrient) จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
– กลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงาน
– กลุ่มสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน
กลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงาน
สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน อาหารทั้งหมดในกลุ่มนี้จัดเป็นสารอาหารหลักที่จาเป็นต่อร่างกาย และจะขาดไม่ได้

More Related Content

What's hot

สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
Intaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
Intaruechai Intaruechai
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
Namfon fon
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKM117
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
nin261
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
wichien wongwan
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
Pir Jnn
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
tatlaolom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
Noon Nantaporn
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาAoraoraor Pattraporn
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Onrapanee Kettawong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพsivakorn35
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพDashodragon KaoKaen
 
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)Krittanut Thumsatsarn
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
onginzone
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)LolliLK
 

What's hot (20)

สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blog
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
 

Similar to โภชนาการตติยา

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
aousarach
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
Tawadchai Wong-anan
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
ssuserf1e77f
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
ssuserf1e77f
 
Breakfast
BreakfastBreakfast
Breakfast
ssuserf1e77f
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน4LIFEYES
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
Panuwat Beforetwo
 

Similar to โภชนาการตติยา (20)

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
Breakfast
BreakfastBreakfast
Breakfast
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
 

More from tassanee chaicharoen

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
tassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
tassanee chaicharoen
 

More from tassanee chaicharoen (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

โภชนาการตติยา

  • 1. โภชนาการ จัดทาโดย นางสาว ตติยา หาสุข เลขที่17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ส่ง ครู ทัศนีย์ไชยเจริญ
  • 2. โภชนาการคืออะไร เรื่องต่างๆ ที่ว่าด้วยอาหาร เช่น การจัดแบ่งประเภทสารอาหาร ประโยชน์ของอาหาร การย่อย อาหาร โรคขาดสารอาหาร เป็นต้น โภชนาการจึงเป็นวิชาการสาขาหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเป็น วิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของอาหารที่รับประทานเข้าไปเพื่อ ประโยชน์ในการบารุงร่างกาย
  • 3. อาหารหลัก5หมู่ อาหารหมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง (โปรตีน) ประโยชน์ - ทาให้ร่างกายเจริญเติบโต ร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค - ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ของร่างกาย อันได้แก่แผลต่างๆ หรือจากการเจ็บป่วย - จะถูกนาไปสร้างกระดูก กล้ามเนื้อ เลือด เม็ดเลือด ผิงหนัง น้าย่อย ฮอร์โมน ตลอดจนภูมิต้านทานเชื้อโรคต่าง ๆ สรุปให้จาง่ายๆ คือ เจริญเติบโต ซ่อมแซม สร้าง โปรตีน เป็นส่วนประกอบหลักของทุก ๆเซลล์ในร่างกาย จึงถือได้ว่าอาหารหมูนี้เป็นอาหารหลักที่สาคัญในการสร้างโครงสร้าง ของร่างกายในการเจริญเติบโต และทาให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานได้เป็นปกติ
  • 4. อาหารหมู่ที่ 2 ข้าวแป้ง น้าตาล เผือก มัน (คาร์โบไฮเดรต) ประโยชน์ - ให้ พลังงาน แก่ร่างกาย ให้ร่างกายสามารถทางานได้ - ให้ ความอบอุ่น แก่ร่างกาย สรุปให้จาง่ายๆ คือ ให้ พลังงาน+ความอบอุ่น พลังงานที่ได้จากหมู่นี้ส่วนใหญ่จะใช้ให้หมดไปวันต่อวันเช่น ใช้ในการวิ่ง เล่น เดิน ทางาน การออกกาลังกายต่าง ๆ แต่ถ้ากินอาหารหมู่นี้มากจนเกิน ความต้องการของร่างกาย ก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน และทาให้เกิดโรคอ้วนได้
  • 5. อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่างๆ(วิตามิน) ประโยชน์ - ทาให้ร่างกายแข็งแรง มีความต้านทานเชื้อโรค - ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้อย่างเป็นปกติ - มีกากใยมาก ทาให้ลาไส้ทางานปกติ ขับถ่ายง่าย ตัวอย่างอาหารหลัก หมู่นี้คือ ผักต่าง ๆ เช่น ตาลึง ผักบุ้ง ผักกาด และผักใบเขียวอื่น ๆ นอกจากนั้นยังรวมถึงพืชผักอื่น ๆ เช่น มะเขือ ฟักทอง ถั่วฝักยาว เป็นต้น
  • 6. อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้(เกลือแร่) ประโยชน์ - ทาให้ร่างกายแข็งแรง มีความต้านทานเชื้อโรค - ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้อย่างเป็นปกติ - มีกากใยมาก ทาให้ลาใส้ทางานปกติ ขับถ่ายง่าย
  • 7. อาหารหมู่ที่ 5 น้ามัน และไขมัน จากพืชและสัตว์ ประโยชน์ - ให้พลังงานแก่ร่างกาย - สะสมไว้ใต้ผิวหนังส่วนต่างๆ ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และร่างกายจะดึงออกมาใช้เมื่อเวลาจาเป็น- - ช่วยดูดซึมวิตามินชนิดละลายในไขมัน อันได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี และ เค
  • 8. ธงโภชนาการ ธงโภชนาการ คือ สื่อที่ช่วยอธิบาย และทาความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนบัญญัติ 9 ประการ สาหรับนาไปสู่การปฏิบัติในการรับประทานอาหารเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ และเป็นประโยชน์ต่อร่างกายให้มากที่สุด
  • 9. แคลอรี่ แคลอรี่ หรือ แคลอรี (calorie) คือ หน่วยในการวัดพลังงาน ที่เรามักจะเห็นได้จากฉลากข้างกล่องบรรจุอาหารต่าง ๆ ซึ่งมีไว้เพื่อบอกปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับ ประทานเข้าไป เพราะร่างกายต้องการพลังงาน ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 1,200-1,600 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงตัวเล็กที่ออกกาลังกายสม่าเสมอ และผู้หญิงที่มีรูปร่างกายปานกลางที่ไม่ได้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ แต่กาลังต้องการลดน้าหนักอยู่พอดี ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 1,600-2,000 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงที่มีรูปร่างใหญ่ ผู้ชายที่มีรูปร่างเล็กที่ใช้แรงงานมาก ผู้ชายรูปร่างกายปานกลางที่ไม่ได้ออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ และผู้ชายที่รูปร่างปานกลางที่ใช้แรงงานมากอยู่แล้วและอยากลดน้าหนักด้วย ผู้ที่ใช้พลังงานวันละประมาณ 2,000-2,400 แคลอรี่ ได้แก่ ผู้หญิงหรือผู้ชายที่มีรูปร่างกายขนาดกลางถึงใหญ่ที่ชอบออกแรงทั้งวัน ผู้ชายรูปร่างใหญ่มากที่ไม่ได้ใช้แรงงาน อะไรมากมาย และผู้ชายรูปร่างใหญ่มากและใช้งานมาก อีกทั้งยังต้องการลดน้าหนักด้วย
  • 10. สูตรการคานวนหาค่า BMI ก็คือ = น้าหนัก(กิโลกรัม) หาร ส่วนสูง(เมตร)ยกกาลังสอง ยกตัวอย่างการคานวณ สมมุติว่าคุณหนัก 60 kg และสูง 165 cm ก่อนอื่นก็แปลงส่วนสูงเป็นเมตรก่อนครับ โดย 165 เซนติเมตร พอกลายเป็นเมตรก็เท่ากับ 1.65 เมตรครับ ก็เอาค่ามาเทียบในสูงได้เลย = 60 / (1.65 x 1.65) = 22.03 ค่า BMI ก็จะเท่ากับ 22.03 นั่นเองครับ เมื่อได้ค่ามา ก็เอามาเทียบตามค่าดังนี้ครับ - ต่ากว่า 17 = ผอม กินให้เยอะกว่านี้หน่อยจะดีกว่านะ - 17-18.4 = สมส่วน ทาตัวให้เหมือนเดิมอ่ะ ดีแล้ว ^ ^ - 18.5-24.9 = เริ่มจะอวบ (ยังไม่อ้วนนะ) ระวังหน่อยๆ ช่วงนี้เริ่มกินเยอะขึ้นแล้วใช่ไหมเรา? - 25-29.9 = อวบระยะสุดท้ายหรืออ้วนแล้วล่ะ แต่ยังไม่ถึงกะเป็นอันตราย ให้รีบลด - มากกว่า 30 = อ้วนแบบอันตรายแล้วล่ะ รีบลดด่วนๆ
  • 11. สรุป อาหาร (food) คือ สิ่งที่เรารับประทานได้โดยปลอดภัยและให้สารอาหารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ในประเทศไทยมักจาแนกเป็น 5 หมู่ หรือ 5 กลุ่ม เพื่อเป็นแนวทางให้คนไทยบริโภค อาหารที่หลากหลายและครบส่วน อาหาร 5 หมู่ ได้แก่ หมู่ที่ 1 ได้แก่ ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน หมู่ที่ 2 ได้แก่ เนื้อสัตว์นม ถั่ว ไข่ หมู่ที่ 3 ได้แก่ ไขมันและน้ามัน หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผัก หมู่ที่ 5 ได้แก่ ผลไม้ สารที่เป็นองค์ประกอบในอาหาร เรียกว่า สารอาหาร (nutrient) จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ – กลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงาน – กลุ่มสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน กลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงาน สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน อาหารทั้งหมดในกลุ่มนี้จัดเป็นสารอาหารหลักที่จาเป็นต่อร่างกาย และจะขาดไม่ได้