SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
วิชา สุขศึกษารหัสวิชา พ 21102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต สพป.สระแก้วเขต1
หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 โภชนาการตามวัย
เรื่อง อาหารตามวัย เวลา 2 ชั่วโมง
ครูประจําวิชา นางทัศนีย์ ไชยเจริญ
วันที่ .................... เดือน ......................................... พ.ศ. ............................
1. สาระสําคัญ
ร่างกายต้องการอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อช่วยในการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโต
และแข็งแรง โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งมีความจําเป็นจะต้องใช้พลังงานจํานวนมากในการทํากิจกรรมต่างๆ จึงควร
สร้างสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารเพื่อให้มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
2. ตัวชี้วัด
พ 4.1 ม.1/1 เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกหลักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
2. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัยได้
4. สาระการเรียนรู้
หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย
5.สมรรถนะที่สําคัญในการคิด
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทํางาน
7.กระบวนการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
1.ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นทํากิจกรรมกลุ่ม
4. ขั้นตรวจสอบผลงาน 5. ขั้นสรุปบทเรียน
8.วิธีดําเนินกิจกรรม
นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ชั่วโมงที่ 1
1. ให้นักเรียนดูภาพอาหารฟ้าสต์ฟู้ดที่ครูนํามาแสดงและร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารว่า
เหตุใดจึงเป็นอาหารที่วัยรุ่นนิยมรับประทาน และอาหารเหล่านี้มีคุณค่าทางโภชนาการหรือไม่
2. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพที่อยู่ในกระแสนิยมของวัยรุ่น
นอกจากอาหารประเภทฟ้าสต์ฟู้ด
3. ครูนํารูปภาพวัยรุ่น 2 คน ที่มีรูปร่างแตกต่างกันมาแสดงให้นักเรียนดู โดยคนที่ 1เป็นวัยรุ่นที่มี
รูปร่างผอมแห้ง คนที่ 2 เป็นวัยรุ่นที่มีรูปร่างอ้วนมาก แล้วให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อร่วมกัน
วิเคราะห์หาคําตอบจากคําถามที่ครูกําหนดให้ ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 วิเคราะห์หาคําตอบจากรูปภาพคนที่ 1
- กลุ่มที่ 2 วิเคราะห์หาคําตอบจากรูปภาพคนที่ 2
คําถามของแต่ละภาพมีดังนี้
- วัยรุ่นในภาพมีภาวะน้ําหนักเป็นอย่างไร
- วัยรุ่นในภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด
- พฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารของวัยรุ่นในภาพน่าจะเป็นอย่างไร
- ควรแนะนําให้วัยรุ่นในภาพเลือกรับประทานอาหารและปฏิบัติตนอย่างไร
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันประเมินผลการสรุปจากคําตอบของสมาชิก และส่งตัวแทนออกมา
นําเสนอผลการวิเคราะห์หาคําตอบตามลําดับหัวข้อที่ตั้งคําถามไว้
5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสําคัญของการเลือกรับประทานอาหารและการปฏิบัติตนเพื่อการ
เสริมสร้างสุขภาพของวัยรุ่น
ชั่วโมงที่ 2
1. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง วัยรุ่นกับอาหาร จากหนังสือเรียน
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสรุปความรู้ จาก
ประเด็นที่ครูกําหนด ดังนี้
- ปริมาณอาหารที่วัยรุ่นควรได้รับในแต่ละวัน
- อาหารที่เหมาะสมสําหรับวัยรุ่น
- ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ แล้วตอบคําถามจากซองคําถามที่ครูแจกให้ โดยให้สมาชิกใน
กลุ่มร่วมกันหาคําตอบ และส่งตัวแทนออกมาอ่านซองคําถามและตอบคําถามหน้า ชั้นเรียน
4. ให้นักเรียนทําใบงานที่ 1.1 เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ เมื่อเสร็จแล้วให้ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวม
ใบงานส่งครูตรวจ
5. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนทราบว่า ร่างกายต้องการอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อช่วย
ในการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโตและแข็งแรง โดยเฉพาะร่างกายของบุคคลที่ย่างเข้าสู่วัยรุ่นซึ่งมี
ความจําเป็นจะต้องใช้พลังงานจํานวนมากในการทํากิจกรรมต่างๆ วัยรุ่นจึงควรสร้างสุขนิสัยที่ดีในการเลือก
รับประทานอาหารเพื่อให้มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําใบงานที่ 1.2 เรื่อง รอบรู้คู่สุขภาพวัยรุ่น
9. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. รูปภาพอาหาร วัยรุ่น
2. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ
3. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง รอบรู้คู่สุขภาพวัยรุ่น
4. แบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน
แหล่งการเรียนรู้
1. http://krutassanee01.wordpress.com
10. การวัดผลประเมินผลหน่วยการเรียนรู้
1. วิธีการวัดผลประเมินผล
1.1. สังเกตการร่วมกิจกรรม
1.2 การสนทนา ซักถามในชั้นเรียน
1.3 ตรวจชิ้นงานของนักเรียน
2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล
2.1 แบบบันทึกการสังเกตการร่วมกิจกรรม
2.2 แบบบันทึกคะแนน
11. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................ผู้สอน
( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ )
ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
....................../....................................../.......................

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
krusupkij
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
Hathaichon Nonruongrit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
sarawut chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
sarawut chaicharoen
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
sarawut chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
tassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ 1_2

แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
Nattaporn Chayapanja
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4
แผนการเรียนรู้ที่ 4แผนการเรียนรู้ที่ 4
แผนการเรียนรู้ที่ 4
tassanee chaicharoen
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
แผนการเรียนรู้ที่ 5
แผนการเรียนรู้ที่ 5แผนการเรียนรู้ที่ 5
แผนการเรียนรู้ที่ 5
tassanee chaicharoen
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาทแผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
tassanee chaicharoen
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3
tassanee chaicharoen
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยAor Dujkamol
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ 1_2 (14)

แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4
แผนการเรียนรู้ที่ 4แผนการเรียนรู้ที่ 4
แผนการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 5
แผนการเรียนรู้ที่ 5แผนการเรียนรู้ที่ 5
แผนการเรียนรู้ที่ 5
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาทแผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
แผนการเรียนรู้ที่ 2 การดูแลระบบประสาท
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
 

More from tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
tassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
tassanee chaicharoen
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
tassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6
tassanee chaicharoen
 

More from tassanee chaicharoen (20)

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

แผนการเรียนรู้ที่ 1_2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วิชา สุขศึกษารหัสวิชา พ 21102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต สพป.สระแก้วเขต1 หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 โภชนาการตามวัย เรื่อง อาหารตามวัย เวลา 2 ชั่วโมง ครูประจําวิชา นางทัศนีย์ ไชยเจริญ วันที่ .................... เดือน ......................................... พ.ศ. ............................ 1. สาระสําคัญ ร่างกายต้องการอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อช่วยในการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโต และแข็งแรง โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งมีความจําเป็นจะต้องใช้พลังงานจํานวนมากในการทํากิจกรรมต่างๆ จึงควร สร้างสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารเพื่อให้มีประโยชน์ต่อสุขภาพ 2. ตัวชี้วัด พ 4.1 ม.1/1 เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้ 2. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัยได้ 4. สาระการเรียนรู้ หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย 5.สมรรถนะที่สําคัญในการคิด ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทํางาน 7.กระบวนการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ 1.ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นทํากิจกรรมกลุ่ม 4. ขั้นตรวจสอบผลงาน 5. ขั้นสรุปบทเรียน 8.วิธีดําเนินกิจกรรม นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชั่วโมงที่ 1 1. ให้นักเรียนดูภาพอาหารฟ้าสต์ฟู้ดที่ครูนํามาแสดงและร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารว่า เหตุใดจึงเป็นอาหารที่วัยรุ่นนิยมรับประทาน และอาหารเหล่านี้มีคุณค่าทางโภชนาการหรือไม่ 2. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพที่อยู่ในกระแสนิยมของวัยรุ่น นอกจากอาหารประเภทฟ้าสต์ฟู้ด
  • 2. 3. ครูนํารูปภาพวัยรุ่น 2 คน ที่มีรูปร่างแตกต่างกันมาแสดงให้นักเรียนดู โดยคนที่ 1เป็นวัยรุ่นที่มี รูปร่างผอมแห้ง คนที่ 2 เป็นวัยรุ่นที่มีรูปร่างอ้วนมาก แล้วให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อร่วมกัน วิเคราะห์หาคําตอบจากคําถามที่ครูกําหนดให้ ดังนี้ - กลุ่มที่ 1 วิเคราะห์หาคําตอบจากรูปภาพคนที่ 1 - กลุ่มที่ 2 วิเคราะห์หาคําตอบจากรูปภาพคนที่ 2 คําถามของแต่ละภาพมีดังนี้ - วัยรุ่นในภาพมีภาวะน้ําหนักเป็นอย่างไร - วัยรุ่นในภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด - พฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารของวัยรุ่นในภาพน่าจะเป็นอย่างไร - ควรแนะนําให้วัยรุ่นในภาพเลือกรับประทานอาหารและปฏิบัติตนอย่างไร 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันประเมินผลการสรุปจากคําตอบของสมาชิก และส่งตัวแทนออกมา นําเสนอผลการวิเคราะห์หาคําตอบตามลําดับหัวข้อที่ตั้งคําถามไว้ 5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสําคัญของการเลือกรับประทานอาหารและการปฏิบัติตนเพื่อการ เสริมสร้างสุขภาพของวัยรุ่น ชั่วโมงที่ 2 1. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง วัยรุ่นกับอาหาร จากหนังสือเรียน 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสรุปความรู้ จาก ประเด็นที่ครูกําหนด ดังนี้ - ปริมาณอาหารที่วัยรุ่นควรได้รับในแต่ละวัน - อาหารที่เหมาะสมสําหรับวัยรุ่น - ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ แล้วตอบคําถามจากซองคําถามที่ครูแจกให้ โดยให้สมาชิกใน กลุ่มร่วมกันหาคําตอบ และส่งตัวแทนออกมาอ่านซองคําถามและตอบคําถามหน้า ชั้นเรียน 4. ให้นักเรียนทําใบงานที่ 1.1 เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ เมื่อเสร็จแล้วให้ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวม ใบงานส่งครูตรวจ 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนทราบว่า ร่างกายต้องการอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อช่วย ในการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโตและแข็งแรง โดยเฉพาะร่างกายของบุคคลที่ย่างเข้าสู่วัยรุ่นซึ่งมี ความจําเป็นจะต้องใช้พลังงานจํานวนมากในการทํากิจกรรมต่างๆ วัยรุ่นจึงควรสร้างสุขนิสัยที่ดีในการเลือก รับประทานอาหารเพื่อให้มีประโยชน์ต่อสุขภาพ 6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําใบงานที่ 1.2 เรื่อง รอบรู้คู่สุขภาพวัยรุ่น 9. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. รูปภาพอาหาร วัยรุ่น 2. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ 3. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง รอบรู้คู่สุขภาพวัยรุ่น 4. แบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน แหล่งการเรียนรู้ 1. http://krutassanee01.wordpress.com
  • 3. 10. การวัดผลประเมินผลหน่วยการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดผลประเมินผล 1.1. สังเกตการร่วมกิจกรรม 1.2 การสนทนา ซักถามในชั้นเรียน 1.3 ตรวจชิ้นงานของนักเรียน 2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตการร่วมกิจกรรม 2.2 แบบบันทึกคะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................ผู้สอน ( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ ) ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต ....................../....................................../.......................