SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
เรื่อง การรักษาโรคอ้วน
โรงเรียน ปทุมคงคา
จัดทำาโดย
นาย ปานพงศ์ พุ่มดอกไม้ เลขที่ 3
นาย ประพันธุ์ สายเล็ก เลขที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
เสนอ
อาจารย์ ฮาวารีย์ มะเตฮะ
วิชา IS 30202
การรักษาโรคอ้วนโดยการควบคุมอาหาร
และการออกกำาลังกาย
จากข้อมูลที่นำาเสนอแล้ว ชี้ใหัเห็นว่า
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเกิด
โรคอ้วน ปัจจัยสำาคัญทางสิ่งแวดล้อมที่สำาคัญ
คือพลังงาน ทั้งหมดที่บริโภคและการออกกำาลัง
กาย ซึ่งสามารถปรับให้เหมาะสมเพื่อการลดนำ้า
หนักตัวลงได้
การรักษาเพื่อให้นำ้าหนักตัวลดลงนั้นด้อง
ทำาให้เกิดดุลลบของพลังงานคือ ปริมาณอาหาร
ที่บริโภคเข้าไปเพื่อให้พลังงานนั้นต้องน้อยกว่า
พลังงานที่ใช้ ร่างกายจึงสามารถดึงเอาไขมันที่
สะสมไว้มาเผาผลาญเป็นพลังงาน ดังนั้นหลัก
ในการบำาบัดโรคอ้วนคือ การควบคุมอาหาร
และการออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ
การออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ
การลดนำ้าหนักจะได้ผลดีต่อเมื่อผู้นั้นออก
กำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอทุกวัน ถ้าคนที่ไม่เคย
ออกกำาลังกายมาก่อนต้องค่อยทำาค่อยไป นับ
ตั้งแต่เดินก็เป็นวิธีออกกำาลังกายอย่างหนึ่ง การ
ออกกำาลังกายในแต่ละช่วงควรใช้เวลา
ประมาณ ๑๕-๔๕ นาที โดยทำาต่อเนื่องกันไป
จนกระทั่งรู้สึกว่าเหนื่อยจึงพัก ในวันหนึ่งๆ ถ้า
มีเวลาออกกำาลังกายประมาณวันละ ๑ ชั่วโมง
จะดีมาก
การที่ผู้ป่วยจะลดนำ้าหนักได้มากเพียงใดนั้น
ขึ้นอยู่กับความตั้งใจของผู้ป่วยและต้องติดตาม
นานพออย่างน้อย ๕ ปี จึงจะบอกได้ว่าผู้ป่วย
ประสบความสำาเร็จในการลดนำ้าหนักหรือไม่
คำาถาม
โรคอ้วนลงพุง Metabolic
Syndrome คือ อะไร
มีความสำาคัญอย่างไร
อะไรเป็นสาเหตุ
โรคอ้วนลงพุงMetabolic
syndrome คือ
ความผิดปกติที่มีการกระจายของไข
มันไปที่รอบเอวมากกว่าตำาแหน่งอื่น
ความผิดปกตินี้เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งพบร่วม
กันได้บ่อย ความผิดปกติดังกล่าวได้แก่
ความผิดปกติของไขมันในเลือด ความ
ดันโลหิตสูง ระดับนำ้าตาลในเลือดสูง
สาเหตุของโรคอ้วนลงพุง
metabolic syndrome
    สาเหตุหลักของภาวะอ้วนลงพุง มีอยู่ 2
ประการใหญ่ๆคือ
1. ความอ้วน
2. ภาวะดื้อต่ออินสุลิน
การรักษามุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลง
วิถีการดำาเนินชีวิตเป็นอันดับแรก การ
ลดนำ้าหนัก การออกกำาลังกายและปรับ
เปลี่ยนอาหารที่รับประทาน
การใช้ยาในผู้ป่วย โรคอ้วนลงพุง ขึ้น
อยู่กับว่าความผิดปกติดังกล่าวถึงระดับ
ที่ต้องใช้ยาหรือไม่
คำาถาม
เกณฑ์ในการวินิจฉัย โรคอ้วน
ลงพุง
การวัดรอบเอว
ให้ทำาในตอนเช้า ขณะยังไม่ได้รับประทาน
อาหาร
ตำาแหน่งที่วัดไม่ควรมีเสื้อผ้าปิด
วิธีวัดที่แนะนำา คือ อยู่ในท่ายืน เท้า2 ข้างห่าง
กันประมาณ 10 เซนติเมตร
วัดในขณะหายใจออก โดยให้สายวัดแนบกับ
ลำาตัว พอดีไม่รัดแน่น
อายุ
เครียด
ประวัติครอบครัว
บุหรี่
เพศ
ไข่ขาวใน
ปัสสาวะ
ไม่ออกกำาลังกาย
มลพิษ
กรดยูริคสูง
ชีพจรเต้นเร็ว
แคลเซียม
ที่เส้นเลือด
หัวใจโต
ความดันสูงความดันสูง
เบาหวานเบาหวาน
ไขมันสูงไขมันสูง
นำ้าหนักเกินนำ้าหนักเกิน
ไขมันในร่างกายคน จะสะสม
อยู่ 3 ที่ใหญ่ๆคือ
1. ไขมันใต้ผิวหนัง จากการศึกษาใน
ปัจจุบัน พบว่า ไขมันใต้ผิวหนังไม่
สัมพันธ์กับการเกิดโรคหัวใจและหลอด
เลือด ซึ่งบทบาทของไขมันชนิดนี้ น่าจะ
เป็นเรื่องของเป็นแหล่งให้พลังงาน
สร้างความอบอุ่นมากกว่า
2. ไขมันในเส้นเลือด ได้แก่ ไขมัน
โคเลสเตอรอล ไขมันไตรกลีเซอไรด์ ไขมัน
เลว (LDL) และ ไขมันดี(HDL) เป็นต้น
โดยไขมันใน3 ชนิดแรกเพิ่มความเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ส่วนไขมันดี HDL นั้นจะช่วยป้องกันโรค
หัวใจและหลอดเลือด
3. ไขมันในช่องท้อง หรือ Visceral Fat
ได้แก่ไขมันที่อยู่ที่รอบๆอวัยวะภายในที่อยู่
ในช่องท้อง เช่นรอบลำาไส้เล็กหรือลำาไส้ใหญ่
ใต้ตับ หรือไต เป็นต้น จากการศึกษาพบว่า
ไขมันในช่องท้องเป็นไขมันอันตราย และมี
ความสัมพันธ์กับโรคหัวใจและหลอดเลือด
เช่นกัน
หลอดเลือดแดงแข็ง ทำำให้เกิดโรค 3 โรคที่สำำคัญ
คือ
(1) โรคของหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Heart
Disease) เนื่องจำกเส้นเลือดหัวใจ coronary ที่
ไปเลี้ยงหัวใจมีขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณ 3
มิลลิเมตร ถ้ำเส้นเลือดนี้ตีบ จะทำำให้เกิดกำรอุดตัน
ที่เส้นเลือดนี้ ทำำให้เกิด
กล้ำมเนื้อหัวใจตำยเฉียบพลัน
(2) โรคของเส้นเลือดสมองตีบหรือตัน
ทำำให้เกิดอัมพำตหรืออัมพฤกษ์ (CVD หรือ
Stroke)
(3) โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลำย
(Peripheral Vascular Disease) จะมำ
ด้วยปวดน่องเวลำเดิน
กำรรักษำ Metabolic syndrome
      กำรรักษำ metabolic syndrome
ประกอบด้วยกำรแก้ไขปัจจัยที่เป็นสำเหตุ
ได้แก่โรคอ้วนและภำวะดื้อต่ออินสุลิน
นอกจำกนี้ต้องกำรกำรรักษำปัจจัยเสี่ยง
ต่ำงๆให้ได้ตำมเป้ำหมำยด้วย
กำรรักษำ โรคอ้วนลงพุง
Metabolic Syndrome
1. รักษำต้นเหตุ ของ โรคอ้วนลงพุง
ได้แก่
1.1. กำรควบคุมนำ้ำหนัก
หลักกำรใหญ่ๆในกำรลดนำ้ำหนักเพื่อให้
เกิดผลต่อกำรรักษำ คือ
ลดนำ้ำหนัก 5-10 % ของนำ้ำหนักตัวเริ่มต้น
ภำยใน 6-12 เดือน
เช่น นำ้ำหนักตัวเริ่มต้น 80 กิโลกรัม
แนะนำำให้ลดนำ้ำหนักตัว 4 – 8
กิโลกรัมใน 6-12 เดือน
หลักกำรควบคุมนำ้ำหนักเกิน โดย
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกำรบริโภคอำหำร
และกำรออกกำำลังกำยโดยให้ลดพลังงำน
จำกอำหำรที่รับประทำน
กำรลดอำหำรที่ได้ผลมำกที่สุดในระยะยำว
คือกำรลดพลังงำนจำกอำหำรที่ควรได้รับ
ประมำณวันละ 500-1,000 แคลอรี่
วันละ 30-45 นำที อำทิตย์ละ 4-5 วัน 1.2. กำร
เพิ่มกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำย / กำรออกกำำลังกำย
หลักกำรในกำรเพิ่มกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยเพื่อให้
เกิดผลในกำรรักษำ คือ
กำรออกกำำลังกำยแบบ Aerobic
ควำมแรงของกำรออกกำำลังกำยเช่นอำยุ 40 ปี ค่ำชีพจรสูงสุดเท่ำกับ 220 – อำยุ
เท่ำกับ 220-40 = 180 ครั้ง/นำที
ต้องออกกำำลังกำยให้ชีพจรเท่ำกับ 70% ของชีพจร
สูงสุด และต้องออกกำำลังกำยวันละ 30-45 นำที
โดยในกำรออกกำำลังกำย ชีพจรให้ไต่จำกน้อยไป
จนถึง 180 x 70% = 126 ครั้งต่อนำที (ไม่ใช่ออก
กำำลังกำยจนชีพจรขึ้นไป 126 ครั้ง/นำที ตลอด
การออกกำาลังกายนอกจากจะมีผลดีต่อการ
ลดนำ้าหนักตัวแล้วพบว่าทำาให้ปัจจัยเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดดีขึ้นด้วย
การออกกำาลังกายควรจะทำาทุกวันอย่างน้อย
วันละ 30 นาที นอกจากนี้การออกกำาลังกาย
ในระยะเวลาสั้นๆครั้งละ10-15 นาทีเช่นการ
เดินเร็วๆ การทำางานบ้าน แต่ทำาบ่อยๆวันละ
หลายครั้งก็พบว่ามีประโยชน์เช่นกัน
ยาลดนำ้าหนักที่มีการใช้กันมากใน
ประเทศไทย
แบ่งออกได้เป็น  ๒  กลุ่มใหญ่  ตาม
กลไกการออกฤทธิ์ ดังนี้
- ยาที่ลดความอยากอาหาร
- ยาที่ลดการดูดซึมอาหารประเภทไข
มัน
- ยาที่ลดความอยากอาหาร
ยาในกลุ่มนี้จะออกฤทธิ์ที่สมอง ทำา ให้มี
ความอยากอาหารลดลง
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ diethylpropion, d-
norpseudoephedrine, phentermine,
fluoxetine, sibutramine เป็นต้น
อาจทำาให้พบผลข้างเคียงได้ ที่พบบ่อยได้แก่
คลื่นไส้ อาเจียน หงุดหงิดง่าย ปวดศีรษะ
ปากแห้ง คอแห้ง เหนื่อยล้า ท้องผูก
ยาในกลุ่มนี้ ทำาให้ระดับความดันเลือดสูง
ขึ้นได้ ดังนั้น จึงห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรค
หัวใจ และผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูง
ยาบางชนิดทำาให้นอนไม่หลับ
ผลเสียอีกอย่างหนึ่งคือ เมื่อกินยาไปนานๆ
สักระยะพอรูปร่างเริ่มเข้าที่จึงหยุดยานำ้า
หนักก็กลับมาเพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นมากกว่า
ก่อนใช้ยา เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า" Yo
Yo effect
- ยาที่ลดการดูดซึมอาหารประเภท
ไขมัน ได้แก่ orlistat
ยา กลุ่มนี้จะไปยับยั้งนำ้าย่อยในกระเพาะ
อาหาร ทำาให้อาหารประเภทไขมันไม่
สามารถดูดซึมได้
ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยคือ ท้องอืด และ
อุจจาระมี ไขมันปน อาจทำาให้เกิด
ภาวะการขาดสารอาหารไขมัน และวิตามิน
ที่ละลาย ไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี, เค
ได้
ถาม ถ้าเป็น โรคอ้วนลงพุง การ
ควบคุมนำ้าหนักอย่างเดียว โดยไม่
ออกกำาลังกายจะได้ผลหรือไม่
ไม่ค่อยได้ผล
ขอบคุณ
ครับ

More Related Content

What's hot

โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]arpakornsw2
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1tatlaolom
 
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)Krittanut Thumsatsarn
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีSuparnisa Aommie
 
โครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพโครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพnatthawat_fung
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพSurapee Sookpong
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13memomild
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)LolliLK
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 

What's hot (15)

โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
 
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
โครงงานกินอย่างไรไห้ห่างไกลโรค (1)
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
โครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพโครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
 
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
โครงงานสุขภาพ(ฉันในอดีต ปัจจุบัน อนาคต)
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 

Similar to การรักษาโรคอ้วน

โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30Chanathip Loahasakthavorn
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfssuser7a65a6
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30Chanathip Loahasakthavorn
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวPhimwaree
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Krc Jeffrey Carr
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 

Similar to การรักษาโรคอ้วน (20)

โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
com
comcom
com
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิว
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbgเส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
 
Howtoperfect610
Howtoperfect610 Howtoperfect610
Howtoperfect610
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 

การรักษาโรคอ้วน