SlideShare a Scribd company logo
1 of 191
1

             หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
            (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)
         คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1.   ชื่อหลักสูตร
   1.1                  ภาษาไทย :                 หลักสูตรเภสัชศาสตร
บัณฑิต
   1.2                  ภาษาอังกฤษ                :        Doctor of Pharmacy
Program

2. ชื่อปริญญา
   2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย                 :    เภสัชศาสตรบัณฑิต
   2.2 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ              :    Doctor of Pharmacy
   2.3 ชื่อย่อภาษาไทย :                ภ.บ.
   2.4 ชื่อย่อภาษาอังกฤษ               :    Pharm.D.

3.    หน่วยงานที่รับผิดชอบ
     คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

4. ความเป็นมา ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
   4.1 ความเป็นมา
       วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องด้วย
ศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตร์ของการเสาะแสวงหา การประดิษฐ์
สารจากแหล่งกำาเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นเป็นยา
สำาเร็จรูปในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้มีความเหมาะสมและสะดวกในการ
แจกจ่ายและใช้เพื่อบำาบัด บรรเทา ป้องกัน พิเคราะห์โรค และสร้าง
เสริมสุขภาพ วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกำาหนด
จดจำาเอกลักษณ์และการตรวจพิสูจน์ การเลือกสรรฤทธิ์หรือ
สรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให้เสื่อมคุณภาพ การปรุง
การผสม การวิเคราะห์ และทำาให้ได้มาตรฐานตามกำาหนดของยา
และเวชภัณฑ์ การวิจัยและพัฒนาสูตรตำารับและเทคโนโลยีการผลิต
ยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจ่าย การติดตามผล การประเมิน
การทบทวน และการเลือกใช้อย่างถูกต้องปลอดภัยโดยเหมาะสม
ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายตามใบสั่งใช้ยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
หรือผู้ประกอบโรคศิลปะอื่นใด รวมทังสัตวแพทย์ หรือจะเป็นการจ่าย
                                    ้
ให้โดยตรง หรือขาย หรือให้บริการ ด้านความรูแก่ผู้บริโภคภายใต้
                                             ้
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
2

กรอบบัญญัติแห่งกฎหมายและนิติธรรม อีกทังต้องตามจรรยาบรรณ
                                      ้
แห่งวิชาชีพ

         ในปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา
เภสัชศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราช
อาณาจักร และประเทศญี่ปุ่น มีแนวโน้มเน้นการปรับหลักสูตร
เพื่อให้เภสัชกรมีความพร้อมทั้งด้านองค์ความรู้และประสบการณ์จริง
ในการดูแลกระบวนการใช้ยาในประชาชนโดยตรงมากขึ้น เพื่อมุ่งให้
เกิดสัมฤทธิ์ผลของยาต่อประชาชนและส่งเสริมคุณภาพชีวิต
(Quality of life) ของประชาชนเป็นหลัก บทบาทของเภสัชกรตาม
ความต้องการของตลาดและสังคมในปัจจุบนจึงมิได้สิ้นสุดอยู่เพียง
                                            ั
แค่การผลิต การจัดซื้อจัดหา การกระจายยาและส่งมอบยาแก่
ประชาชนเท่านั้น แต่ได้ขยายขอบเขตของบทบาทหน้าทีให้      ่
ครอบคลุมถึงการใช้ยาของประชาชน การติดตามประเมินผลอันเกิด
จากการใช้ยาของประชาชนและชุมชน การคุ้มครองผู้บริโภค การแก้
ปัญหาสุขภาพชุมชน การบริหารจัดการงานเภสัชกรรม รวมถึงการ
วิจัยและพัฒนาเพื่อสนองความต้องการในการพึ่งพาตนเองของ
ประเทศในด้านอุตสาหกรรมยารองรับเทคโนโลยีขั้นสูง และการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึงมีบทบาทเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยา
                           ่
บทบาทวิชาชีพดังกล่าวนำามาซึ่งความจำาเป็นที่จะต้องเพิ่มทั้งเนื้อหา
และการฝึกปฏิบัติงาน มาตรฐานการศึกษาเภสัชศาสตร์ในสากล จึง
มุงสู่ระบบการศึกษา 6 ปี มากขึ้น
  ่
         จากทิศทางข้างต้น ประกอบกับสภาเภสัชกรรมได้ออกข้อ
บังคับเภสัชกรรมว่าด้วยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชา
เภสัชศาสตร์หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันต่าง ๆ ซึ่ง
สภาเภสัชกรรมจะรับรองหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ปี เพียง
หลักสูตรเดียวในปี พ.ศ. 2557 และใช้เป็นเงือนไขในการสมัครเข้า
                                                ่
เป็นสมาชิก และสอบเพือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้ ซึงถือ
                         ่                                 ่
เป็น entry level degree บัณฑิตทางเภสัชศาสตร์ที่ สำาเร็จการ
ศึกษาในปี พ.ศ. 2557 จะต้องสำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
เภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ปี เท่านัน ดังนันคณะฯ จึงปรับปรุงหลักสูตร
                                 ้        ้
เภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ปี ในครังนีขนเพือให้เป็นไปตามข้อกำาหนด
                               ้ ้ ึ้   ่
ของสภาเภสัชกรรม และเพือให้หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้อง
                             ่
กับการเปลียนแปลงของโลกในปัจจุบนทีมการเปลียนแปลงอย่าง
           ่                          ั ่ ี          ่
รวดเร็ว โดยบัณฑิตทีได้จากหลักสูตรจะเป็นผูทมสมรรถนะทางวิชาชีพ
                     ่                        ้ ี่ ี
ตามเกณฑ์มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
                       ้
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
3

    4.2 ปรัชญา
        มุงผลิตบัณฑิตให้เป็นผูทมสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑ์
          ่                     ้ ี่ ี
มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2545 มีคณธรรมและ
              ้                                          ุ
จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ
    4.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
        วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการศึกษาเภสัชศาสตร์ ตาม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ปี หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 มี
ดังนี้
        4.3.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตร์ควรมี
ลักษณะทั่วไปดังนี้
                1. มีความรู้และเข้าใจ ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทของเภสัชกรที่ต้องมีส่วนร่วมในการแก้
ปั ญ หานั้ ----*--น ๆ และร่ ว มไปกั บ บุ ค ลากรสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
                2. มีความรอบรู้ในศิลปวิทยาต่าง ๆ สมกับเป็นเภสัชกร
ที่ดี ที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มี
มนุษยสัมพันธ์อันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน่วยงาน สังคม
และประเทศชาติ และสามารถประยุกต์ความรู้ ทั้งในด้านวิชาชีพ
และนอกวิ ช าชี พ เพื่ อ บริ ก ารประชาชนด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย อย่ า งมี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ                 เ ปี่ ย ม ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล
                3. มีความเข้าใจว่า "วิชาชีพเภสัชกรรม" เป็นวิชาชีพที่
ต้องเรียนรู้ใฝ่ศึกษาติดต่อกันไปตลอดชีวิต เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมี
ความสามารถพอที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองต่อไปได้
                4. มีความสามารถวิเคราะห์และปรับปรุงตนเองให้เหมาะ
สมกับสถานการณ์ เมื่อร่วมทำางานกับผู้อื่นทังในฐานะผู้นำาและผู้รวม
                                                  ้                    ่
งาน
                5. มีความตระหนักรู้ ซึ้ งถึงความจำาเป็นในการพัฒนา
คุณภาพทั้ งของตนเอง ของวิทยาการ และของวิชาชีพ ให้
สามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ รองรับและกำาหนดไว้ตามพันธกิจและ
ภารกิจเพือบรรลุวตถุประสงค์และเจตนารมณ์ทกำาหนดไว้เป็นหลักฐาน
            ่         ั                             ี่
แห่งบุคลากรในสายวิชาชีพ และในการคุมครองผูบริโภคทังในระดับ
                                              ้        ้   ้
ปฐมภูมิ ทุตยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับทีสงขึนไปอีกตามทิศทางและ
                ิ                           ่ ู ้
แนวโน้มการพัฒนาทีจกดำาเนินต่อไป
                        ่ ั
                6. มีทักษะทางวิชาชีพทีจำาเป็นในการปฏิบัติงาน
                                          ่
       4.3.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ควรเป็นผู้
มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ ดังนี้

              สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
4

     1. ความรู้ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานการประกอบ
        วิชาชีพเภสัชกรรมทั่วไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ
        เภสัชกรรม พ.ศ.2545 และ
     2. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านการบริบาลทาง
        เภสัชกรรมได้แก่
          - การติดตามการใช้ยาของผู้ปวยในโรงพยาบาล
                                          ่
            และสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
          - การวิเคราะห์ปัญหาการใช้ยาในผูป่วยแต่ละราย
                                             ้
            การไตร่ตรองวินิจฉัยผลของยาที่มีต่อร่างกายทัง  ้
            ในด้านเป็นคุณและเป็นพิษรวมทั้งการประเมินผล
            การใช้ยาในลักษณะต่าง ๆ
          - การวางแผนการรักษาด้วยยา ในผู้ป่วยแต่ละราย
            ได้อย่างเหมาะสม
          - การวิจัยด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม หรือ
     3. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านวิทยาการ
เภสัชศาสตร์ได้แก่
          - การประยุกต์องค์ความรูเชิงลึก ด้านการผลิต
                                   ้
            การประกันและหรือการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์
            ยา เครืองสำาอางและผลิตภัณฑ์เพือสุขภาพอืน ๆ
                   ่                           ่       ่
            ในการแก้ไขปัญหาการผลิต การประกันและหรือ
            การควบคุมคุณภาพ
          - การค้นคว้าวิจยและพัฒนายา ผลิตภัณฑ์ยา เครื่อง
                         ั
            สำาอางและผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณค่า
            คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์สากลเพื่อการ
            พัฒนาประเทศในการพึ่งพาตนเอง หรือ
     4. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านเภสัชศาสตร์สังคม
        และการบริหารได้แก่
          - การคุ้ มครองผู้ บริ โ ภคด้ านยา อาหาร เครื่ อง
            สำา อางและผลิ ตภั ณฑ์ สุ ขภาพและอื่ นๆ เช่ น วั ตถุ
            อันตราย สารเคมี ฯ
          - การสื่อสารด้านข้อมูลความรู้เกี่ยวกับยาและ
            ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงการแนะนำาการปฏิบัติตัว
            ในการใช้ยากับประชาชนและบุคลากรทางการ
            แพทย์ ทีเกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
                     ่
          -    การประยุกต์ความรู้ เพื่ อการบริหารจัดการงาน
            เภสัชกรรมในลักษณะต่างๆ
       สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
5

              - การค้นหาปัญหาสาธารณสุข และเสนอแนวทาง
                ในการแก้ไข/ ป้องกันปัญหาที่ เหมาะสม รวมถึง
                การติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพใน
                ชุมชน
              - การค้นคว้าวิจัยด้านเภสัชศาสตร์สังคมและการ
                บริหาร หรือ
          5. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านสารสนเทศศาสตร์
             ทางเภสัชกรรมและสุขภาพได้แก่
              - การจัดเก็บข้อมูลข่าวสารด้านเภสัชกรรม และ
                ด้านสุขภาพอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกใน
                การเรียกใช้ข้อมูลสำาหรับการตัดสินใจหรือการ
                ดำาเนินการต่าง ๆ
              - การดูแลบำารุงรักษาระบบข้อมูลข่าวสารด้าน
                เภสัชกรรมและด้านสุขภาพรวมถึงระบบความ
                ปลอดภัยของข้อมูลข่าวสาร
              - การสืบค้น และการเรียกใช้ข้อมูลจากแหล่ง หรือ
                จากฐานข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการประเมิน วิเคราะห์
                และสรุปผลข้อมูลเพือการนำาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
                                    ่
              - การประยุกต์ความรู้และทักษะด้านสารสนเทศ
                ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพในงานบริบาล
                ทางเภสัชกรรมและการวิจัยและพัฒนายา และ
                ผลิตภัณฑ์ยา
              - งานวิจยด้านสารสนเทศศาสตร์ทางเภสัชกรรม
                       ั
                และสุขภาพ

5. กำาหนดการเปิดสอน
  เริมเปิดสอนตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2552
     ่
6. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
   6.1 เป็นผู้สำาเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
       และ/หรือ
   6.2 มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่า
       ด้วยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก
       ก) หรือ
   6.3 ผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ด้านวิทยาศาสตร์และ
       เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ให้สามารถเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ได้
       ตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเข้าศึกษา มีสทธิได้
                                                        ิ
           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
6

      รับการพิจารณาเทียบโอนและ / หรือยกเว้นรายวิชาและ
      หน่วยกิตจากหน่วยกิตที่สำาเร็จการศึกษา ทังนี้จำานวน
                                              ้
      รายวิชาและหน่วยกิตที่ได้รับการเทียบโอน และ/หรือยกเว้น
      จะเป็นไปตามดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำาคณะฯ แต่
      รวมแล้วจะต้องมีระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า 10
      ภาคการศึกษาปกติ หรือ 5 ปีการศึกษาปกติ
7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
   เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและสำานักงานคณะ
กรรมการการอุดมศึกษา และตามลักษณะเฉพาะของคณะ
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผ่านการสอบคัดเลือกของ
สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผ่านการสอบคัดเลือก
ตามโครงการรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์สอบตรง (Direct
Admissions) โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ / หรือ
หน่วยงานโครงการอื่นใด
8. ระบบการศึกษา
    8.1      การจัดการศึกษาใช้ระบบหน่วยกิตทวิภาคหรือระบบอื่นที่
เทียบเท่า โดยระบบหน่วยกิตทวิภาคนั้น หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออก
เป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษา
ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
    8.2       การคิดหน่วยกิต
        8.2.1     รายวิชาบรรยาย 1 หน่วยกิตเท่ากับ 1 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
        8.2.2     รายวิชาปฏิบัติการ 1 หน่วยกิตเท่ากับ 2-3 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์
        8.2.3     รายวิชาฝึกงาน 1 หน่วยกิตเท่ากับ 60 ชั่วโมง ต่อ
ภาคการศึกษาปกติ
        8.2.4     การเรียนการสอนแบบโครงการ 1 หน่วยกิต ไม่นอย   ้
กว่า 45 ชัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติ
           ่
    8.3      เกณฑ์ในการกำาหนดหน่วยกิตในแต่ละรายวิชากำาหนด
เกณฑ์ในการกำาหนดค่าของหน่วย           กิตจากจำานวนชั่วโมงบรรยาย
(บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเอง
นอกเวลาเรียน (น) ต่อ 1 สัปดาห์ แล้วหารด้วย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้
           จำานวนหน่วยกิต =                        บ+ป+น
                                                  3
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
7

    การเขียนหน่วยกิตในรายวิชาต่างๆ ประกอบด้วยตัวเลขสีตวคือ ตัว
                                                       ่ ั
แรกอยูนอกวงเล็บเป็นจำานวนหน่วยกิตของรายวิชานัน ตัวทีสอง สาม
        ่                                        ้   ่
และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจำานวนชัวโมงบรรยาย ปฏิบติ และศึกษาด้วย
          ่                   ่                ั
ตนเองนอกเวลาเรียน ตามลำา ดับ เช่น 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ
หมายถึง จำานวนหน่วยกิต ตัวเลขในวงเล็บ เลข 2 หมายถึง จำานวน
ชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จำา นวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัว
หลัง หมายถึง จำา นวนชั่วโมงที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเองนอก
เ         ว        ล       า        เ       รี     ย        น
    8.4 หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

9. ระยะเวลาการศึกษา
  ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 6 ปี ทังนี้ไม่เกิน 12 ปี
                                      ้

10.การลงทะเบียนเรียน
   การลงทะเบียนเรียนให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย
ศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาค
ผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง

11. การวัดผลและการสำาเร็จการศึกษา
  11.1       การวัดผลการศึกษา
       ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการ
ศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มี
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง
  11.2       การสำาเร็จการศึกษา
       ผู้สำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ต้องมี
คุณสมบัติดังนี้
        11.2.1 สอบได้หน่วยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เข้า
ศึกษาภายในระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษา
        11.2.2 ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.00
        11.2.3 ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะ
เภสัชศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.00
        11.2.4 ต้องผ่านการฝึกปฏิบตงานวิชาชีพด้วยระดับการ
                                    ั ิ
ประเมินเป็นทีพอใจ ไม่นอยกว่า 2,000 ชั่วโมงปฏิบัติการ
               ่         ้
        11.2.5 ต้องผ่านรายวิชาจุลนิพนธ์ตามแผนการเรียนการ
สอนแบบโครงการอีกไม่นอยกว่า 135 ชัวโมงปฏิบัติการ
                           ้            ่

           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
8

         11.2.6     ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมตามประกาศที่คณะฯ
กำาหนด

12. อาจารย์ผู้สอน
      12.1 อาจารย์ประจำาหลักสูตร
         12.1.1 เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์                         ง้าว
หิรัญพัฒน์
         12.1.2 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนฤดี                     สุข
มา
         12.1.3 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุชนาฏ                       กิจ
เจริญ
         12.1.4 เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย์ จันคนา
      บูรณะโอสถ
         12.1.5 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปารณีย์                      มี
แต้ม
    12.2 อาจารย์ประจำา (ภาคผนวก ข)
    12.3 อาจารย์พิเศษ     (ประกาศเป็นรายปี)

13. จำานวนนักศึกษา
    ชั้นปีที่                             จำานวนนักศึกษา (คน)
                            ปี          ปี      ปี     ปี    ปี                ปี
                           2552        2553 2554 2555 2556                   2557
         1                 180         180 180 180          180               180
         2                   -         180 180 180          180               180
         3                   -           -     180 180      180               180
         4                   -           -      -     180   180               180
         5                   -           -      -      -    180               180
         6                   -           -      -      -      -               180
        รวม                180         360 540 720          900              1080
จำานวนที่คาดว่าจะ            -           -      -      -      -               180
 สำาเร็จการศึกษา

14.       ส ถ า น ที่ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ก า ร ส อ น
    14.1 สถานที่
       ใช้อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะ
ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ทีมีรายวิชาบรรจุในหลักสูตร
                                ่
             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
9

เภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับต่าง
ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหน่วยงานอื่ นที่ เกี่ ยวข้องกับงานและ
วิชาชีพเภสั ชกรรม ทั้ งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้ งนี้ การศึกษานอก
สถานที่ เพื่ อเสริมทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ ของนักศึกษา
ให้สามารถทำาได้โดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเป็นกรณี ๆ ไป
    14.2 อุปกรณ์การสอน
       อุ ปกรณ์ และครุ ภั ณฑ์ การศึ กษาของคณะเภสั ชศาสตร์
มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร และหน่ วยงานต่ าง ๆ ของมหาวิ ทยาลั ย
ศิ ลปากร

15. ห้องสมุด
     หนังสือ ตำารา วารสาร และเอกสารวิชาการต่าง ๆ ใช้บริการจาก
สำานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ห้องเอกสารอ้างอิงทาง
เภสัชศาสตร์ “ประโชติ เปล่งวิทยา” และหน่วยงานทีเกียวข้องอืน ๆ
                                                          ่ ่      ่
รวมถึงระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของคณะ
เภสัชศาสตร์ และของมหาวิทยาลัยศิลปากร
ดังนี้
        หนังสือ               ภ า ษ า ไ ท ย
       จำานวน                 6,125         รายการ
                                      ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ
       จำานวน                 4,355         รายการ
        วารสาร                ภ า ษ า ไ ท ย
       จำานวน                       40           ชื่อเรื่อง
                                      ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ
       จำานวน                       60           ชื่อเรื่อง
          ฐานข้อมูล
              1. ฐานข้ อ มู ล ที่ ห อสมุ ด กลาง มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร
บอกรับ จำานวน 2 ฐานข้อมูล ได้แก่
                       1.1 ฐานข้อมูล SpringerLink (มีทั้ง journal
และ e-book)
             1.2ฐานข้อมูล Netlibrary (e-book)
              2. ฐานข้อมูลที่สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ร่ ว ม กั บ ThaiLIS (Thai Library Integrated System) บ อ ก รั บ
จำานวน 5 ฐานข้อมูล ได้แก่
             2.1 ฐานข้อมูล Sciences Direct

             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
10

           2.2 ฐ า น ข้ อ มู ล บ ท ค ว า ม ว า ร ส า ร ข อ ง H.W.Wilson
ได้แก่
                                       2.2.1 ฐานข้อมูล Applied Science
& Technology
                                       2.2.2 ฐานข้อมูล General Science
Fulltext
                 2.2.3 ฐานข้อมูล CAB Abstract
            2.3 ฐ า น ข้ อ มู ล ISI Web of Science (ฐ า น ข้ อ มู ล
     Citation ด้านวิทยาศาสตร์และ
                   สังคม
            2.4 ฐานข้อมูล Proquest (ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับ
     ปริญญาโท/เอกของ
                  ต่างประเทศ
            2.5 ฐานข้อมูล Dissertation Abstracts Online (DAO)
              นอกจากนี้ยงมีฐานข้อมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตร์
                         ั
และที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 1,482 พันล้านตัวอักษร 1,482
Gigabytes (ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ
สถาบันเครือข่ายความร่วมมือทางเภสัชศาสตร์)




16. งบประมาณ
   16.1 ใช้งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินที่ได้รบการ
                                                      ั
จัดสรร และงบประมาณแผ่นดินตามที่จะได้รับการจัดสรรประจำาปี
ตามแผนงาน งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร
   16.2 ค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต 1 คน เป็นจำานวนประมาณ
100,000 บาท/คน/ปี ทังนีโดยใช้หลักการของการจัดสรรและการ
                      ้ ้
ใช้สอยทรัพยากรร่วมกัน

17. หลักสูตร
  17.1 จำา นวนหน่ ว ยกิ ต รวมตลอดหลั ก สู ต ร ไม่ น้ อ ยกว่ า
237 หน่วยกิต
  17.2 โครงสร้างหลักสูตร

            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
11

       17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทัวไป่
          30                           หน่วยกิต
       17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ
201         หน่วยกิต
                 - วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                     47
หน่วยกิต
            - รายวิชาบังคับวิชาชีพ
130            หน่วยกิต
                กลุ่มวิชาทางด้านผลิตภัณฑ์
35     หน่วยกิต
                กลุ่มวิชาทางด้านผู้ป่วย
42     หน่วยกิต
                กลุ่มวิชาทางด้านเภสัชศาสตร์สังคม
                                  และการบริหาร
         14 หน่วยกิต
                กลุ่มวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ
36     หน่วยกิต
                             รายวิชาจุลนิพนธ์
3      หน่วยกิต
            - รายวิชาเลือกวิชาชีพ
24     หน่วยกิต
       17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 6
       หน่วยกิต
                                       รวม                                     237
   หน่วยกิต

     17.3              ร       า      ย      วิ    ช      า
        รหัสวิชากำาหนดใช้เป็นเลข 6 หลักโดยแบ่งเลขออกเป็นสอง
กลุม กลุ่มละสามหลักโดยเว้นวรรคหนึ่งช่วงระหว่างเลขสามหลักแรก
   ่
และสามหลักหลัง
        ตัวเลขสามหลักแรก เป็นเลขประจำาหน่วยงานทีรับผิด
                                                    ่
ชอบรายวิชานั้น เช่น
                080 มหาวิทยาลัยศิลปากร
                 550, 551 คณะเภสัชศาสตร์
                 561       ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร์
                 562          ภาควิชาเภสัชกรรม
           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
12

              563                 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน
              564                 ภาควิชาเภสัชเคมี
              565               ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
              566                 ภาควิชาเภสัชเวท
              567                 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม
              568                 ภ า ค วิ ช า ส า ร ส น เ ท ศ ศ า ส ต ร์ ท า ง
           สุขภาพ
      ตัวเลขสามหลักหลัง เป็นตัวเลขบอกรหัสวิชา
         เลขตัวแรก
         1-3 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาบัณฑิต
         4-9 หมายถึง รายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา
         เลขตัวที่สองและสาม หมายถึงลำาดับที่ของรายวิชา

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
     1.1 วิชาบังคับ          จำานวน 24 หน่วยกิต
       ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้
        กลุ่มวิชาภาษา             จำานวน 15 หน่วยกิต
080 ภาษากับการสื่อสาร                           3(3-0-
176 (Language and Communication)                6)
080 ภาษาอังกฤษ 1                                3(2-2-
177 (English I)                                 5)
080 ภาษาอังกฤษ 2                                3(2-2-
178 (English II)                                5)
550 ภาษาอังกฤษสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 1      3(2-2-
155 (English for Pharmacy Students I)           5)
550 ภาษาอังกฤษสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 2      3(2-2-
158 (English for Pharmacy Students II)          5)

          กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                  จำานวน 4 หน่วยกิต
080   จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ                                2(2-0-
122                                                           4)
      (Professional Ethics)
550   หลักการออกแบบเบื้องต้น                 2(1-3-
153   (Basic Principle of Design)            2)
          กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำานวน 2 หน่วยกิต
080   หลักการวิจัย                           2(2-0-
          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
13

144       (Principles of Research)                                             4)
             กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์                                จำานวน 3
หน่วยกิต
                   ให้เลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาต่าง ๆ ดังต่อ
ไปนี้   หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ
080       วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำาวัน                  3(3-0-
153       (Science and Everyday Life)                   6)
080       มลพิษสิ่งแวดล้อม                              3(3-0-
156       (Environmental Pollution)                     6)
080       กระบวนการแก้ปัญหา                             3(3-0-
162       (Problem Solving Process)                     6)
080       พลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต               3(3-0-
168       (Energy and Environment of Life)              6)
080       เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดล้อม                  3(3-0-
171       (Clean Technology and Enivironment)           6)
       1.2 วิชาเลือก จำานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
          ให้เลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ
080 มนุษย์กับการสร้างสรรค์                           3(3-0-
101 (Man and Creativity)                             6)
080 ดนตรีวิจักษ์                                     2(2-0-
107 (Music Appreciation)                             4)
080 ศิลปวิจักษ์                                      2(2-0-
114 (Art Appreciation)                               4)
080 วรรณคดีวิจักษ์                                   2(2-0-
117 (Literary Appreciation)                          4)
080 อารยธรรมตะวันออก                                 2(2-0-
119 (Eastern Civilization)                           4)
080 จิตวิทยาเบื้องต้น                                2(2-0-
127 (Introduction to Psychology)                     4)
080 เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำาวัน                      2(2-0-
133 (Economics in Everyday Life)                     4)
080 กฎหมายกับสังคม                                   2(2-0-
135                                                  4)
       (Law and Society)
               สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
14

080   ภาษาฝรังเศสเบื้องต้น 1
              ่                                                           3(2-2-
179   (Basic French I)                                                    5)
080   ภาษาฝรังเศสเบื้องต้น 2
                ่                                                         3(2-2-
180   (Basic French II)                                                   5)
080   ภาษาเยอรมันเบื้องต้น 1                                              3(2-2-
183   (Basic German I)                                                    5)
080   ภาษาเยอรมันเบื้องต้น 2                                              3(2-2-
184   (Basic          German                           II)                5)
080   ภาษาจีนเบื้องต้น 1                                                  3(2-2-
187   (Basic Chinese I)                                                   5)
080   ภาษาจีนเบื้องต้น 2                                                  3(2-2-
188                                                                       5)
     (Basic Chinese II)
080 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1                            3(2-2-
189 (Basic Japanese I)                                5)
080 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 2                            3(2-2-
190 (Basic Japanese II)                               5)
415 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้                         2(2-0-
151 (Southeast Asian World)                           4)
449 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม                 2(2-0-
106 (Conservation         of     Resources       and 4)
     Environment)
554 ส มุ น ไ พ ร พื้ น ฐ า น * 3(3-0-
101 (Elementary            Herbal         Medicines) 6)
554 ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ด้ า น ย า * 3(3-0-
102 (Basic Drug Knowledge)                            6)
554 ม นุ ษ ย์ กั บ ส า ร พิ ษ                      * 3(3-0-
103 (Man and Toxic Substances)                        6)
554 อ า ห า ร เ พื่ อ สุ ข ภ า พ                   * 3(3-0-
104 (Food for Health)                                 6)
* หมายเหตุ    เป็นรายวิชาที่เปิดบริการสำาหรับนักศึกษานอกคณะ
       วิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตร์อาจขอลงทะเบียนได้โดย
       ไม่นับเป็นหน่วยกิตรายวิชาคณะในการสำาเร็จการศึกษา
       แต่นับรวมเป็นหน่วยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได้

2. หมวดวิชาเฉพาะ           จำานวนหน่วยกิต 201 หน่วยกิต
           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
15

   2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำานวน 47 หน่วยกิต
       ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ หรือ
รายวิชาอื่นที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาว่าเทียบ
เท่า
        2.1.1 วิชาคณิตศาสตร์และสถิติ                                จำานวน      8
หน่วยกิต
550 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานทาง                                     2(1-3
101 เภสัชศาสตร์                                                            -2)
      (Basic    Computer       Applications                           in
      Pharmaceutical Sciences)
511 แคลคูลัสสำาหรับนักวิทยาศาสตร์ชีวภาพ                                    3(3-0-
103 (Calculus for Biological Scientists)                                   6)
515 สถิติสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์                                        3(2-2-
203 (Statistics for Pharmacy Students)                                     5)
        2.1.2 วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน                                จำานวน 21
หน่วยกิต
512 ชีววิทยาทั่วไป                                             4(4-0-8)
106 (General Biology)

512   ปฏิบัติการชีววิทยาทัวไป
                            ่                 1(0-3-0)
107   (General Biology Laboratory)
513   เคมีทั่วไปสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์           4(4-0-
108   (General Chemistry for Pharmacy Students) 8)
513    เคมีฟสคล
              ิ ิ ั                                  3(3-0-
220   (Physical Chemistry)                           6)
513   หลักเคมีอินทรีย์                               4(4-0-
256   (Principles of Organic Chemistry)              8)
514   ฟสิกสทั่วไปสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์        4(4-0-
109   (General Physics for Pharmacy Students) 8)
514   ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไปสำาหรับนักศึกษา         1(0-3-
110   เภสัชศาสตร์                                    0)
      (General Physics Laboratory for
      Pharmacy Students)


           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
16

       2.1.3 วิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและคลินิก                              จำานวน
18 หน่วยกิต
561 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุลสำาหรับ                           2(2-0-
104 นักศึกษาเภสัชศาสตร์                                                  4)
     (Basic Cellular and Molecular Biology for
     Pharmacy Students)
561 สรีรวิทยามนุษย์สำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์                            5(5-0-
105 (Human Physiology for Pharmacy Students)                             10)
561 ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษย์สำาหรับนักศึกษา                             1(0-3-
135 เภสัชศาสตร์                                                          0)
     (Human Physiology Laboratory for
     Pharmacy Students)
561 ชีวเคมีทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา                                    3(3-0-
204 เภสัชศาสตร์                                                          6)
     (Medical Biochemistry for Pharmacy
     Students)
561 จุลชีววิทยาทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา                                3(3-0-
205 เภสัชศาสตร์                                                          6)
     (Medical Microbiology for Pharmacy
     Students)
561 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา                           1(1-0-
206 เภสัชศาสตร์                                                          2)
     (Medical Immunology for Pharmacy
     Students)
561 พยาธิวทยาทั่วไป
            ิ                                                            1(1-0-
207 (General Pathology)                                                  2)
561 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา                          1(0-3-
234 เภสัชศาสตร์                                                          0)
     (Medical Biochemistry Laboratory for
     Pharmacy Students)
561 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย์สำาหรับ                              1(0-3-
235 นักศึกษาเภสัชศาสตร์                                                  0)
     (Medical Microbiology Laboratory for
     Pharmacy Students)

  2.2. รายวิชาบังคับวิชาชีพ จำานวน 130 หน่วยกิต
          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
17

       2.2.1 กลุ่มวิชาด้านผลิตภัณฑ์ จำานวน 35
หน่วยกิต
564 เภสัชอนินทรีย์เคมี                                 1(1-0-
111 (Inorganic Pharmaceutical Chemistry)               2)
564 ปฏิบัติการเภสัชเคมี                                1(0-3-
121 (Pharmaceutical Chemistry Laboratory)              0)
564 การควบคุมคุณภาพยา 1                                3(3-0-
131 (Pharmaceutical Quality Control I)                 6)
564 ป ฏิ บั ติ ก า ร ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ย า 1 1(0-3-
132                                                    0)
      (Pharmaceutical Quality Control Laboratory
      I)
564 การควบคุมคุณภาพยา 2                                3(3-0-
231 (Pharmaceutical Quality Control II)                6)
564 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2                      1(0-3-
233 (Pharmaceutical Quality Control Laboratory 0)
      II)
566 เภสัชพฤกษศาสตร์                                    2(1-3-
101 (Pharmaceutical Botany)                            2)
566 เภสัชเวท 1                                         3(3-0-
111 (Pharmacognosy I)                                  6)
566 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1                               1(0-3-
121 (Pharmacognosy Laboratory I)                       0)
566 เภสัชเวท 2                                         2(2-0-
211 (Pharmacognosy II)                                 4)
566 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2                               1(0-3-
221 (Pharmacognosy Laboratory II)                      0)
567 หลักการผลิตที่ดี 1                                 1(1-0-
265 (Good Manufacturing Practice I)                    2)
567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1                               1(1-0-
266 (Pharmaceutical Technology I)                      2)
567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                               3(3-0-
267 (Pharmaceutical Technology II)                     6)
567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                               2
268 (Pharmaceutical Technology III)                    (2-0-4
                                                       )
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
18

567   เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                                               2
269   (Pharmaceutical Technology IV)                                     (2-0-4)
567   เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                                               2(2-0-
270   (Pharmaceutical Technology V)                                      4)
567   เทคโนโลยีเภสัชกรรม 6                                               1(1-0-
271   (Pharmaceutical Technology VI)                                     2)
567   ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                                     1(0-3-
287   (Pharmaceutical Technology Laboratory II)                          0)
567   ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                                     1(0-3-
288   (Pharmaceutical Technology Laboratory                              0)
      III)
567   ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                                     1(0-3-
289   (Pharmaceutical Technology Laboratory IV)                          0)
567   ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                                     1(0-3-
290   (Pharmaceutical Technology Laboratory V)                           0)
      2.2.2 กลุ่มวิชาทางด้านผู้ป่วย จำานวน 42 หน่วยกิต
561   ชีววัตถุ                                  2(2-0-
211   (Biologics)                               4)
562   เภสัชบำาบัด 2                             5(4-3-
362   (Pharmacotherapeutics II)                 8)
562   เภสัชกรรมการจ่ายยา                        3(2-3-
363   (Dispensing Pharmacy)                     4)
562   หลักการพื้นฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล      2
364   (Principles of Hospital Pharmacy)         (2-0-4
                                                )
562   เภสัชกรรมปฏิบัติ                          4(3-3-
365   (Pharmacy Practice)                       6)
562   บริการเภสัชสนเทศ                          2
366   (Drug Information Services)               (1-3-2
                                                )
562   ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร์           3
367   (Biopharmaceutical and Pharmacokinetics)  (3-0-6
                                                )
564   เคมีทางยา 1                               3(3-0-
211   (Medicinal Chemistry I)                   6)
          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
19

564   เคมีทางยา 2                                                        4(4-0-
212   (Medicinal Chemistry II)                                           8)
565   เภสัชวิทยา 1                                                       4(4-0-
353   (Pharmacology I)                                                   8)
565   เภสัชวิทยา 2                                                       4(4-0-
354   (Pharmacology II)                                                  8)
565   เภสัชบำาบัด 1                                                      3
355   (Pharmacotherapeutics I)                                           (2-3-4
                                                                         )
565   พิษวิทยา                                                           2
356   (Toxicology )                                                      (2-0-4
                                                                         )
565   ปฏิบัติการเภสัชวิทยา                                               1(0-3-
357   (Pharmacology Laboratory)                                          0)
      2.2.3 กลุ่มวิชาทางด้านเภสัชศาสตร์สังคมและการ
  บริหาร จำานวน 14 หน่วยกิต
550 เภสัชนิเทศ                                1(1-0-
151 (Pharmacy Orientation)                    2)
563 สาธารณสุขพื้นฐาน                          2(2-0-
251 (Basic Public Health)                     4)
563 นิติเภสัช                                 1(1-0-
256 (Pharmacy Law)                            2)
563 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 1              2(2-0-
257 (Basic Pharmacy Administration I)         4)
563 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2              2(1-3-
258 (Basic Pharmacy Administration II)        2)
563 ระบบสุขภาพ                                2(2-0-
259 (Health System)                           4)
563 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร์    1(1-0-
260                                           2)
      (Principles of Pharmacoepidemiology and
      Pharmacoeconomics)
563 การสื่อสารกับสุขภาพ                       1(0-3-
261 (Communication and Health)                0)


          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
20

568    สารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ                                              2
301    (Health Informatics)                                                 (1-3-2
                                                                            )
          2.2.4 รายวิ ช าฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ เภสั ช กรรม
จำา    น     ว     น       36      ห       น่ ว         ย กิ       ต
                  2.2.4.1 รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพภาค
บั ง คั บ       จำา    น ว น          6 ห น่ ว ย กิ ต
550 การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ในหน่วยงาน              1(ไม่น้อยกว่า 60
251 สุขภาพ                                           ชั่วโมง)
     (Experiential Learning in Pharmacy
     Setting)
550 ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ                5(ไม่น้อยกว่า
351 (Professional Practice)                          400 ชั่วโมง)


                  2.2.4.2 รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุ่ม
ส า ข า        จำา    น ว น      30 ห น่ ว ย กิ ต
     รายวิชาฝึกปฏิบตงานวิชาชีพสาขาวิทยาการทาง
                     ั ิ
เภสัชศาสตร์ จำานวน 30 หน่วยกิต
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
331 เภสัชศาสตร์ 1                             300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Sciences Clerkship I)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
332 เภสัชศาสตร์ 2                             300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Sciences Clerkship II)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
333 เภสัชศาสตร์ 3                             300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Sciences Clerkship III)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
334 เภสัชศาสตร์ 4                             300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Sciences Clerkship IV)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
335 เภสัชศาสตร์ 5                             300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Sciences Clerkship V)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า
336 เภสัชศาสตร์ 6                             300 ชั่วโมง)

             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
21

       (Pharmaceutical Sciences Clerkship VI)

          รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง
เภสัชกรรม จำานวน 30 หน่วยกิตประกอบด้วย
           บังคับฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง
เภสัชกรรม จำานวน 20 หน่วยกิต
551 การฝกปฏิบตงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง
                  ั ิ                        5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
337 เภสัชกรรมทาง                             300 ชั่วโมง)
      อายุรศาสตร์
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Medicine)
551 การฝกปฏิบตงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง
                 ั ิ                         5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
338 เภสัชกรรมทางการ                          300 ชั่วโมง)
      ดูแลผูปวยนอก
             
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Ambulatory Care)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง     5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
339 เภสัชกรรมทาง                             300 ชั่วโมง)
      เภสัชกรรมชุมชน
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Community Pharmacy)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง     5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
340 เภสัชกรรมทาง                             300 ชั่วโมง)
      บริการเภสัชสนเทศ
      (Pharmaceutical Care Clerkship in Drug
      Information Service)

              เลือกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง
      เภสัชกรรม จำานวน 10 หน่วยกิต
551     การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง   5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
341     เภสัชกรรมทาง                           300 ชั่วโมง)
        เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก
        (Pharmaceutical Care Clerkship in
        Clinical Pharmacokinetics)
551     การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง   5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
342     เภสัชกรรมทาง                           300 ชั่วโมง)
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
22

      เภสัชกรรมสถานพยาบาล
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Hospital Pharmacy Service)

551   การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
343   เภสัชกรรมทาง                                                   300 ชั่วโมง)
      กุมารเวชศาสตร
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Pediatrics)
551   การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
344   เภสัชกรรมทางผู้สูงอายุ                                         300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Geriatrics)
551   การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
345   เภสัชกรรมทางโรคติดเชื้อ                                        300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Infectious Diseases)
551   การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
346   เภสัชกรรมทางโรคหัวใจและหลอดเลือด                               300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Cardiovascular Diseases)
551   การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
347   เภสัชกรรมโดยใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของ                         300 ชั่วโมง)
      การดูแลผู้ป่วย
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Electronic Pharmaceutical Care)
551   การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
348   เภสัชกรรมในผู้ป่วยที่ใช้การรักษาทางเลือก                       300 ชั่วโมง)
      (Pharmaceutical Care Clerkship in
      Alternative Medicine)
551   การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง                           5(ไม่น้อยกว่า
349   เภสัชกรรมในการจัดการความเสี่ยงและ                              300 ชั่วโมง)
      ความปลอดภัยของผู้ป่วย
      (Pharmaceutical Care Clerkship in Risk
      Management and Patient Safety)

           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
23

    รายวิชาฝึกปฏิบตงานวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตร์สงคมและ
                     ั ิ                        ั
การบริหาร จำานวน 30 หน่วยกิต
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
350 สังคมและการบริหาร 1                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship I)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
351 สังคมและการบริหาร 2                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship II)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
352 สังคมและการบริหาร 3                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship III)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
353 สังคมและการบริหาร 4                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship IV)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
354 สังคมและการบริหาร 5                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship V)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
355 สังคมและการบริหาร 6                    300 ชั่วโมง)
      (Social and Administrative Pharmacy
      Clerkship VI)

     รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตร์
ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จำานวน 30 หน่วยกิต ประกอบ
ด้วย
              บังคับฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศ
     ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ
จำานวน 20 หน่วยกิต
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ      5(ไม่น้อยกว่า
356 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง)
       ศึกษาระบบงานและการกำาหนดปัญหา
           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
24

      (Pharmaceutical and Health Informatics
      Clerkship in System Study and Problem
      Identification)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า
357 ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ             300 ชั่วโมง)
      วิเคราะห์ระบบงานและแนวทางการแก้
      ปัญหา
      (Pharmaceutical and Health Informatics
      Clerkship in System Analysis and
      Solutions to Problem)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ      5(ไม่น้อยกว่า
358 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิง          300 ชั่วโมง)
      บูรณาการ 1
      (Pharmaceutical and Health Informatics
      Clerkship in Integration of
      Pharmaceutical and Health Informatics
      I)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ      5(ไม่น้อยกว่า
359 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิง          300 ชั่วโมง)
      บูรณาการ 2
      (Pharmaceutical and Health Informatics
      Clerkship in Integration of
      Pharmaceutical and Health Informatics
      II)
             เลือกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศ
ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ
จำานวน 10 หน่วยกิต
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ      5(ไม่น้อยกว่า
360 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง)
      พัฒนาระบบงาน 1
      (Pharmaceutical and Health Informatics
      Clerkship in System Implementation I)
551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ      5(ไม่น้อยกว่า
361 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง)
      พัฒนาระบบงาน 2

           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
25

       (Pharmaceutical and Health Informatics
       Clerkship in System Implementation II)
551    การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ         5(ไม่น้อยกว่า
362    ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง)
       วิเคราะห์ข้อมูล การค้นคืนข้อมูล และการนำา
       เสนอข้อมูล 1
       (Pharmaceutical and Health Informatics
       Clerkship in Data Analysis, Information
       Retrieval and Publishing I)
551    การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ         5(ไม่น้อยกว่า
363    ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง)
       วิเคราะห์ข้อมูล การค้นคืนข้อมูล และการนำา
       เสนอข้อมูล 2
       (Pharmaceutical and Health Informatics
       Clerkship in Data Analysis, Information
       Retrieval and Publishing II)
          2.2.5 รายวิชาจุลนิพนธ์ จำานวน 3 หน่วยกิต
551    จุ ล นิ พ น ธ์                            1       1(0-3-
364    (Senior                Project                I) 0)
551    จุ ล นิ พ น ธ์                            2       2(0-6-
365    (Senior                Project               II) 0)

    2.3 รายวิชาเลือกวิชาชีพ จำานวน 24 หน่วยกิต
         2.3.1 กลุ่มวิชารายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการ
ทางเภสัชศาสตร์ จำานวน 24 หน่วยกิต
ประกอบด้วย
            รายวิ ช าบั ง คั บ กลุ่ม รายวิ ช าเลื อ กวิ ช าชี พ สาขา
    วิทยาการทางเภสัชศาสตร์ จำานวน 20 หน่วยกิต
561 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร์                           2(2-0-
241 (Pharmaceutical Biotechnology)                          4)
561 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ                              2(2-0-
245 (Biological Quality Control in Pharmaceutical 4)
      Products)
561 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ                    1(0-3-
246 (Biological Quality Control in Pharmaceutical 0)
      Products Laboratory)
            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
26

564     บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห์                                            3(1-6-
234     (Integrated Study in Pharmaceutical                                  2)
        Analysis)
565     การพัฒนาและควบคุมยา                                                  2(2-0-
358     (Drug Development and Regulation)                                    4)
567     หลักการผลิตที่ดี 2                                                   2(2-0-
272     (Good Manufacturing Practice II)                                     4)
567     การจัดการทางเภสัชศาสตร์                                              2(2-0-
273     (Management in Pharmaceutical Sciences)                              4)

567     การออกแบบและพัฒนาสูตรตำารับเภสัชภัณฑ์                                4(2-6-
274     (Pharmaceutical Formulation and                                      4)
        Development)
567     การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับ                                       2(1-3-
275     อุตสาหกรรม                                                           2)
        (Pharmaceutical Production Planning and
        Processing)
              ร า ย วิ ช า เ ลื อ ก วิ ช า ชี พ ส า ข า วิ ท ย า ก า ร ท า ง
เภสั ช ศาสตร์ จำา นวนไม่ น้ อ ยกว่ า 4 หน่ว ยกิ ต เลื อ กเรี ยนจาก
รายวิชาดังนี้
561 โภชนาการและโภชนบำาบัด                                         2(2-0-
242 (Nutrition and Nutritional Therapy)                           4)
561 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา                                  3(3-0-
243 (Drug Biotransformation)                                      6)

561     เภสัชวิทยาจีโนม                                                      2(2-0-
244     (Pharmacogenomics)                                                   4)
561     ความปลอดภัยของอาหารและนำ้าดื่ม                                       3(1-6-
302     (Safety of Foods and Drinking Water)                                 2)
561     เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสำา หรับเภสัชกร                           3(2-3-
311                                                                          4)
        (Molecular Biotechnology for Pharmacists)
564     การแยกเพื่อการวิเคราะห์เภสัชภัณฑ์                                    3(2-3-
235     (Analytical Separation of Pharmaceuticals )                          4)
564     วิธีพิเศษในการวิเคราะห์ยา                                            3(2-3-
236     (Special Methods in Medicinal Analysis)                              4)
              สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
27

564   เภสัชวิเคราะห์                                                     4(2-6-
237   (Pharmaceutical Analysis)                                          4)
564   การวิเคราะห์ยาในสารชีวภาพ                                          3(2-3-
238   (Medicinal Analysis in Biologicals)                                4)
564   หัวข้อปัจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร์                            2(2-0-
239   (Current Topics in Pharmaceutical Sciences)                        4)

564   การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร์                                      2(2-0-
240   (Quality Assurance in Pharmaceutical                               4)
      Sciences)
564   การสังเคราะห์ยา                                                    3(2-3-
241   (Pharmaceutical Synthesis)                                         4)

564   การเรียนรู้เคมีทางยาโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน                             2(2-0-
242   (Problem-Based Learning in Medicinal                               4)
      Chemistry)
564   เคมีทางยาของยาใหม่                                                 2(2-0-
243   (Medicinal Chemistry of New Drugs)                                 4)
564   เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี                                           2
244   (Chemical Aspects in Drug Metabolism)                              (2-0-4
                                                                         )
564   การอธิบายโครงสร้างของอินทรียสารด้วยวิธีทาง                         3(3-0-
245   สเปกโทรเมตรี                                                       6)
      (Spectrometric Structure Determination of
      Organic Compounds)
565   พิษวิทยาภาวะแวดล้อม                                                3(2-3-
359   (Environmental Toxicology)                                         4)
565   เภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล                                     3(3-0-
360   (Cellular and Molecular Pharmacology)                              6)
565   การทดลองทางเภสัชวิทยา                                              2(1-3-
361   (Experimental Pharmacology)                                        2)
565   เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท                             2(2-0-
362   (Pharmacology of Neuropsychoactive                                 4)
      Drugs)
565   เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและ                          2(2-0-
363   หลอดเลือด                                                          4)
          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
28

      (Pharmacology of Cardiovascular Drugs)
565   เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดิน                           2(2-0-
364   อาหาร                                                              4)
      (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)
565   ยาใหม่                                                             2(2-0-
365   (New Drugs)                                                        4)
565   การประเมินฤทธิ์ของยา                                               2(1-3-
366   (Evaluation of Drug Action)                                        2)
566   เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร์                                  3(2-3-
222   (Separation Technique in Pharmaceutical                            4)
      Sciences)
566   การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร                                         3(2-3-
223   (Research and Development in Medicinal                             4)
      Plants)
566   เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร                                       3(2-3-
224   (Biotechnology of Medicinal Plants)                                4)
566   เภสัชเวทประยุกต์                                                   2(2-0-
225   (Applied Pharmacognosy)                                            4)
566   พฤกษบำาบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ์                                    2(2-0-
226   (Evidence Base Phytotherapy)                                       4)
566   ยาสมุนไพรพื้นบ้าน                                                  3(2-3-
227   (Indigenous Medicines)                                             4)
567   ระบบนำาส่งยาแบบใหม่                                                2(2-0-
276   (Novel Drug Delivery System)                                       4)
567   วิทยาการเครื่องสำาอาง                                              4(2-6-
277   (Cosmeticology)                                                    4)
567   การบริหารการผลิต                                                   4(3-3-
278   (Manufacturing Management)                                         6)
567   ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ                                          4(3-3-
279   (Quality Control and Quality Assurance                             6)
      Systems)
567   การเคลือบยาเม็ด                                                    3(2-3-
280   (Tablet Coating)                                                   4)
567   วิทยาการพอลิเมอร์เบื้องต้นทางเภสัชกรรม                             2(2-0-
281   (Introductory Polymer Sciences in                                  4)
      Pharmacy)
          สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552

More Related Content

What's hot

5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)Teacher Sophonnawit
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอManussawee Rattana
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1Sircom Smarnbua
 
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2Noppawan Chantasan
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการskiats
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวJitiya Purksametanan
 
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นโรงเรียนวัดทองทั่ว
 
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลาย
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลายวิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลาย
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลายpeter dontoom
 

What's hot (20)

5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55-1
 
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
 
Orchor21002
Orchor21002Orchor21002
Orchor21002
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลาย
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลายวิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลาย
วิชาวิสาหกิจชุมชน ม.ปลาย
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 

Similar to หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552

Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝันWanlop Chimpalee
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร ikanok
 
Intro to sci_2554
Intro to sci_2554Intro to sci_2554
Intro to sci_2554adriamycin
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 
เภสัชศาสตร์ศึกษา
เภสัชศาสตร์ศึกษา เภสัชศาสตร์ศึกษา
เภสัชศาสตร์ศึกษา pitsanu duangkartok
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552 (20)

Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร
 
Intro to sci_2554
Intro to sci_2554Intro to sci_2554
Intro to sci_2554
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
เภสัชศาสตร์ศึกษา
เภสัชศาสตร์ศึกษา เภสัชศาสตร์ศึกษา
เภสัชศาสตร์ศึกษา
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 

หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552

  • 1. 1 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตร บัณฑิต 1.2 ภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy Program 2. ชื่อปริญญา 2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต 2.2 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy 2.3 ชื่อย่อภาษาไทย : ภ.บ. 2.4 ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Pharm.D. 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ความเป็นมา ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4.1 ความเป็นมา วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องด้วย ศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตร์ของการเสาะแสวงหา การประดิษฐ์ สารจากแหล่งกำาเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นเป็นยา สำาเร็จรูปในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้มีความเหมาะสมและสะดวกในการ แจกจ่ายและใช้เพื่อบำาบัด บรรเทา ป้องกัน พิเคราะห์โรค และสร้าง เสริมสุขภาพ วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกำาหนด จดจำาเอกลักษณ์และการตรวจพิสูจน์ การเลือกสรรฤทธิ์หรือ สรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให้เสื่อมคุณภาพ การปรุง การผสม การวิเคราะห์ และทำาให้ได้มาตรฐานตามกำาหนดของยา และเวชภัณฑ์ การวิจัยและพัฒนาสูตรตำารับและเทคโนโลยีการผลิต ยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจ่าย การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใช้อย่างถูกต้องปลอดภัยโดยเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายตามใบสั่งใช้ยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบโรคศิลปะอื่นใด รวมทังสัตวแพทย์ หรือจะเป็นการจ่าย ้ ให้โดยตรง หรือขาย หรือให้บริการ ด้านความรูแก่ผู้บริโภคภายใต้ ้ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 2. 2 กรอบบัญญัติแห่งกฎหมายและนิติธรรม อีกทังต้องตามจรรยาบรรณ ้ แห่งวิชาชีพ ในปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา เภสัชศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราช อาณาจักร และประเทศญี่ปุ่น มีแนวโน้มเน้นการปรับหลักสูตร เพื่อให้เภสัชกรมีความพร้อมทั้งด้านองค์ความรู้และประสบการณ์จริง ในการดูแลกระบวนการใช้ยาในประชาชนโดยตรงมากขึ้น เพื่อมุ่งให้ เกิดสัมฤทธิ์ผลของยาต่อประชาชนและส่งเสริมคุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนเป็นหลัก บทบาทของเภสัชกรตาม ความต้องการของตลาดและสังคมในปัจจุบนจึงมิได้สิ้นสุดอยู่เพียง ั แค่การผลิต การจัดซื้อจัดหา การกระจายยาและส่งมอบยาแก่ ประชาชนเท่านั้น แต่ได้ขยายขอบเขตของบทบาทหน้าทีให้ ่ ครอบคลุมถึงการใช้ยาของประชาชน การติดตามประเมินผลอันเกิด จากการใช้ยาของประชาชนและชุมชน การคุ้มครองผู้บริโภค การแก้ ปัญหาสุขภาพชุมชน การบริหารจัดการงานเภสัชกรรม รวมถึงการ วิจัยและพัฒนาเพื่อสนองความต้องการในการพึ่งพาตนเองของ ประเทศในด้านอุตสาหกรรมยารองรับเทคโนโลยีขั้นสูง และการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึงมีบทบาทเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยา ่ บทบาทวิชาชีพดังกล่าวนำามาซึ่งความจำาเป็นที่จะต้องเพิ่มทั้งเนื้อหา และการฝึกปฏิบัติงาน มาตรฐานการศึกษาเภสัชศาสตร์ในสากล จึง มุงสู่ระบบการศึกษา 6 ปี มากขึ้น ่ จากทิศทางข้างต้น ประกอบกับสภาเภสัชกรรมได้ออกข้อ บังคับเภสัชกรรมว่าด้วยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชา เภสัชศาสตร์หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันต่าง ๆ ซึ่ง สภาเภสัชกรรมจะรับรองหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ปี เพียง หลักสูตรเดียวในปี พ.ศ. 2557 และใช้เป็นเงือนไขในการสมัครเข้า ่ เป็นสมาชิก และสอบเพือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้ ซึงถือ ่ ่ เป็น entry level degree บัณฑิตทางเภสัชศาสตร์ที่ สำาเร็จการ ศึกษาในปี พ.ศ. 2557 จะต้องสำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ปี เท่านัน ดังนันคณะฯ จึงปรับปรุงหลักสูตร ้ ้ เภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ปี ในครังนีขนเพือให้เป็นไปตามข้อกำาหนด ้ ้ ึ้ ่ ของสภาเภสัชกรรม และเพือให้หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้อง ่ กับการเปลียนแปลงของโลกในปัจจุบนทีมการเปลียนแปลงอย่าง ่ ั ่ ี ่ รวดเร็ว โดยบัณฑิตทีได้จากหลักสูตรจะเป็นผูทมสมรรถนะทางวิชาชีพ ่ ้ ี่ ี ตามเกณฑ์มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ้ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 3. 3 4.2 ปรัชญา มุงผลิตบัณฑิตให้เป็นผูทมสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑ์ ่ ้ ี่ ี มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2545 มีคณธรรมและ ้ ุ จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 4.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการศึกษาเภสัชศาสตร์ ตาม หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ปี หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 มี ดังนี้ 4.3.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตร์ควรมี ลักษณะทั่วไปดังนี้ 1. มีความรู้และเข้าใจ ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทของเภสัชกรที่ต้องมีส่วนร่วมในการแก้ ปั ญ หานั้ ----*--น ๆ และร่ ว มไปกั บ บุ ค ลากรสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง 2. มีความรอบรู้ในศิลปวิทยาต่าง ๆ สมกับเป็นเภสัชกร ที่ดี ที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มี มนุษยสัมพันธ์อันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน่วยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกต์ความรู้ ทั้งในด้านวิชาชีพ และนอกวิ ช าชี พ เพื่ อ บริ ก ารประชาชนด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย อย่ า งมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ปี่ ย ม ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล 3. มีความเข้าใจว่า "วิชาชีพเภสัชกรรม" เป็นวิชาชีพที่ ต้องเรียนรู้ใฝ่ศึกษาติดต่อกันไปตลอดชีวิต เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมี ความสามารถพอที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองต่อไปได้ 4. มีความสามารถวิเคราะห์และปรับปรุงตนเองให้เหมาะ สมกับสถานการณ์ เมื่อร่วมทำางานกับผู้อื่นทังในฐานะผู้นำาและผู้รวม ้ ่ งาน 5. มีความตระหนักรู้ ซึ้ งถึงความจำาเป็นในการพัฒนา คุณภาพทั้ งของตนเอง ของวิทยาการ และของวิชาชีพ ให้ สามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ รองรับและกำาหนดไว้ตามพันธกิจและ ภารกิจเพือบรรลุวตถุประสงค์และเจตนารมณ์ทกำาหนดไว้เป็นหลักฐาน ่ ั ี่ แห่งบุคลากรในสายวิชาชีพ และในการคุมครองผูบริโภคทังในระดับ ้ ้ ้ ปฐมภูมิ ทุตยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับทีสงขึนไปอีกตามทิศทางและ ิ ่ ู ้ แนวโน้มการพัฒนาทีจกดำาเนินต่อไป ่ ั 6. มีทักษะทางวิชาชีพทีจำาเป็นในการปฏิบัติงาน ่ 4.3.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ควรเป็นผู้ มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ ดังนี้ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 4. 4 1. ความรู้ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานการประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรมทั่วไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ เภสัชกรรม พ.ศ.2545 และ 2. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านการบริบาลทาง เภสัชกรรมได้แก่ - การติดตามการใช้ยาของผู้ปวยในโรงพยาบาล ่ และสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน - การวิเคราะห์ปัญหาการใช้ยาในผูป่วยแต่ละราย ้ การไตร่ตรองวินิจฉัยผลของยาที่มีต่อร่างกายทัง ้ ในด้านเป็นคุณและเป็นพิษรวมทั้งการประเมินผล การใช้ยาในลักษณะต่าง ๆ - การวางแผนการรักษาด้วยยา ในผู้ป่วยแต่ละราย ได้อย่างเหมาะสม - การวิจัยด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม หรือ 3. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านวิทยาการ เภสัชศาสตร์ได้แก่ - การประยุกต์องค์ความรูเชิงลึก ด้านการผลิต ้ การประกันและหรือการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ยา เครืองสำาอางและผลิตภัณฑ์เพือสุขภาพอืน ๆ ่ ่ ่ ในการแก้ไขปัญหาการผลิต การประกันและหรือ การควบคุมคุณภาพ - การค้นคว้าวิจยและพัฒนายา ผลิตภัณฑ์ยา เครื่อง ั สำาอางและผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณค่า คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์สากลเพื่อการ พัฒนาประเทศในการพึ่งพาตนเอง หรือ 4. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านเภสัชศาสตร์สังคม และการบริหารได้แก่ - การคุ้ มครองผู้ บริ โ ภคด้ านยา อาหาร เครื่ อง สำา อางและผลิ ตภั ณฑ์ สุ ขภาพและอื่ นๆ เช่ น วั ตถุ อันตราย สารเคมี ฯ - การสื่อสารด้านข้อมูลความรู้เกี่ยวกับยาและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงการแนะนำาการปฏิบัติตัว ในการใช้ยากับประชาชนและบุคลากรทางการ แพทย์ ทีเกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ ่ - การประยุกต์ความรู้ เพื่ อการบริหารจัดการงาน เภสัชกรรมในลักษณะต่างๆ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 5. 5 - การค้นหาปัญหาสาธารณสุข และเสนอแนวทาง ในการแก้ไข/ ป้องกันปัญหาที่ เหมาะสม รวมถึง การติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพใน ชุมชน - การค้นคว้าวิจัยด้านเภสัชศาสตร์สังคมและการ บริหาร หรือ 5. ความรู้ความสามารถเฉพาะทางด้านสารสนเทศศาสตร์ ทางเภสัชกรรมและสุขภาพได้แก่ - การจัดเก็บข้อมูลข่าวสารด้านเภสัชกรรม และ ด้านสุขภาพอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกใน การเรียกใช้ข้อมูลสำาหรับการตัดสินใจหรือการ ดำาเนินการต่าง ๆ - การดูแลบำารุงรักษาระบบข้อมูลข่าวสารด้าน เภสัชกรรมและด้านสุขภาพรวมถึงระบบความ ปลอดภัยของข้อมูลข่าวสาร - การสืบค้น และการเรียกใช้ข้อมูลจากแหล่ง หรือ จากฐานข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการประเมิน วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูลเพือการนำาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ่ - การประยุกต์ความรู้และทักษะด้านสารสนเทศ ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพในงานบริบาล ทางเภสัชกรรมและการวิจัยและพัฒนายา และ ผลิตภัณฑ์ยา - งานวิจยด้านสารสนเทศศาสตร์ทางเภสัชกรรม ั และสุขภาพ 5. กำาหนดการเปิดสอน เริมเปิดสอนตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2552 ่ 6. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา 6.1 เป็นผู้สำาเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ 6.2 มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่า ด้วยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) หรือ 6.3 ผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ให้สามารถเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ได้ ตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเข้าศึกษา มีสทธิได้ ิ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 6. 6 รับการพิจารณาเทียบโอนและ / หรือยกเว้นรายวิชาและ หน่วยกิตจากหน่วยกิตที่สำาเร็จการศึกษา ทังนี้จำานวน ้ รายวิชาและหน่วยกิตที่ได้รับการเทียบโอน และ/หรือยกเว้น จะเป็นไปตามดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำาคณะฯ แต่ รวมแล้วจะต้องมีระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า 10 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 5 ปีการศึกษาปกติ 7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและสำานักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา และตามลักษณะเฉพาะของคณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผ่านการสอบคัดเลือกของ สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผ่านการสอบคัดเลือก ตามโครงการรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์สอบตรง (Direct Admissions) โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ / หรือ หน่วยงานโครงการอื่นใด 8. ระบบการศึกษา 8.1 การจัดการศึกษาใช้ระบบหน่วยกิตทวิภาคหรือระบบอื่นที่ เทียบเท่า โดยระบบหน่วยกิตทวิภาคนั้น หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออก เป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 8.2 การคิดหน่วยกิต 8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หน่วยกิตเท่ากับ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ 8.2.2 รายวิชาปฏิบัติการ 1 หน่วยกิตเท่ากับ 2-3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ 8.2.3 รายวิชาฝึกงาน 1 หน่วยกิตเท่ากับ 60 ชั่วโมง ต่อ ภาคการศึกษาปกติ 8.2.4 การเรียนการสอนแบบโครงการ 1 หน่วยกิต ไม่นอย ้ กว่า 45 ชัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ่ 8.3 เกณฑ์ในการกำาหนดหน่วยกิตในแต่ละรายวิชากำาหนด เกณฑ์ในการกำาหนดค่าของหน่วย กิตจากจำานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเอง นอกเวลาเรียน (น) ต่อ 1 สัปดาห์ แล้วหารด้วย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้ จำานวนหน่วยกิต = บ+ป+น 3 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 7. 7 การเขียนหน่วยกิตในรายวิชาต่างๆ ประกอบด้วยตัวเลขสีตวคือ ตัว ่ ั แรกอยูนอกวงเล็บเป็นจำานวนหน่วยกิตของรายวิชานัน ตัวทีสอง สาม ่ ้ ่ และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจำานวนชัวโมงบรรยาย ปฏิบติ และศึกษาด้วย ่ ่ ั ตนเองนอกเวลาเรียน ตามลำา ดับ เช่น 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จำานวนหน่วยกิต ตัวเลขในวงเล็บ เลข 2 หมายถึง จำานวน ชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จำา นวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัว หลัง หมายถึง จำา นวนชั่วโมงที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเองนอก เ ว ล า เ รี ย น 8.4 หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 6 ปี ทังนี้ไม่เกิน 12 ปี ้ 10.การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาค ผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11. การวัดผลและการสำาเร็จการศึกษา 11.1 การวัดผลการศึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการ ศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11.2 การสำาเร็จการศึกษา ผู้สำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ต้องมี คุณสมบัติดังนี้ 11.2.1 สอบได้หน่วยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เข้า ศึกษาภายในระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษา 11.2.2 ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.00 11.2.3 ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะ เภสัชศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.00 11.2.4 ต้องผ่านการฝึกปฏิบตงานวิชาชีพด้วยระดับการ ั ิ ประเมินเป็นทีพอใจ ไม่นอยกว่า 2,000 ชั่วโมงปฏิบัติการ ่ ้ 11.2.5 ต้องผ่านรายวิชาจุลนิพนธ์ตามแผนการเรียนการ สอนแบบโครงการอีกไม่นอยกว่า 135 ชัวโมงปฏิบัติการ ้ ่ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 8. 8 11.2.6 ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมตามประกาศที่คณะฯ กำาหนด 12. อาจารย์ผู้สอน 12.1 อาจารย์ประจำาหลักสูตร 12.1.1 เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์ ง้าว หิรัญพัฒน์ 12.1.2 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนฤดี สุข มา 12.1.3 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุชนาฏ กิจ เจริญ 12.1.4 เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย์ จันคนา บูรณะโอสถ 12.1.5 เภสัชกรหญิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปารณีย์ มี แต้ม 12.2 อาจารย์ประจำา (ภาคผนวก ข) 12.3 อาจารย์พิเศษ (ประกาศเป็นรายปี) 13. จำานวนนักศึกษา ชั้นปีที่ จำานวนนักศึกษา (คน) ปี ปี ปี ปี ปี ปี 2552 2553 2554 2555 2556 2557 1 180 180 180 180 180 180 2 - 180 180 180 180 180 3 - - 180 180 180 180 4 - - - 180 180 180 5 - - - - 180 180 6 - - - - - 180 รวม 180 360 540 720 900 1080 จำานวนที่คาดว่าจะ - - - - - 180 สำาเร็จการศึกษา 14. ส ถ า น ที่ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ก า ร ส อ น 14.1 สถานที่ ใช้อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ทีมีรายวิชาบรรจุในหลักสูตร ่ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 9. 9 เภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับต่าง ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหน่วยงานอื่ นที่ เกี่ ยวข้องกับงานและ วิชาชีพเภสั ชกรรม ทั้ งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้ งนี้ การศึกษานอก สถานที่ เพื่ อเสริมทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ ของนักศึกษา ให้สามารถทำาได้โดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเป็นกรณี ๆ ไป 14.2 อุปกรณ์การสอน อุ ปกรณ์ และครุ ภั ณฑ์ การศึ กษาของคณะเภสั ชศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร และหน่ วยงานต่ าง ๆ ของมหาวิ ทยาลั ย ศิ ลปากร 15. ห้องสมุด หนังสือ ตำารา วารสาร และเอกสารวิชาการต่าง ๆ ใช้บริการจาก สำานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ห้องเอกสารอ้างอิงทาง เภสัชศาสตร์ “ประโชติ เปล่งวิทยา” และหน่วยงานทีเกียวข้องอืน ๆ ่ ่ ่ รวมถึงระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของคณะ เภสัชศาสตร์ และของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ หนังสือ ภ า ษ า ไ ท ย จำานวน 6,125 รายการ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ จำานวน 4,355 รายการ วารสาร ภ า ษ า ไ ท ย จำานวน 40 ชื่อเรื่อง ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ จำานวน 60 ชื่อเรื่อง ฐานข้อมูล 1. ฐานข้ อ มู ล ที่ ห อสมุ ด กลาง มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร บอกรับ จำานวน 2 ฐานข้อมูล ได้แก่ 1.1 ฐานข้อมูล SpringerLink (มีทั้ง journal และ e-book) 1.2ฐานข้อมูล Netlibrary (e-book) 2. ฐานข้อมูลที่สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่ ว ม กั บ ThaiLIS (Thai Library Integrated System) บ อ ก รั บ จำานวน 5 ฐานข้อมูล ได้แก่ 2.1 ฐานข้อมูล Sciences Direct สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 10. 10 2.2 ฐ า น ข้ อ มู ล บ ท ค ว า ม ว า ร ส า ร ข อ ง H.W.Wilson ได้แก่ 2.2.1 ฐานข้อมูล Applied Science & Technology 2.2.2 ฐานข้อมูล General Science Fulltext 2.2.3 ฐานข้อมูล CAB Abstract 2.3 ฐ า น ข้ อ มู ล ISI Web of Science (ฐ า น ข้ อ มู ล Citation ด้านวิทยาศาสตร์และ สังคม 2.4 ฐานข้อมูล Proquest (ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาโท/เอกของ ต่างประเทศ 2.5 ฐานข้อมูล Dissertation Abstracts Online (DAO) นอกจากนี้ยงมีฐานข้อมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตร์ ั และที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 1,482 พันล้านตัวอักษร 1,482 Gigabytes (ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ สถาบันเครือข่ายความร่วมมือทางเภสัชศาสตร์) 16. งบประมาณ 16.1 ใช้งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินที่ได้รบการ ั จัดสรร และงบประมาณแผ่นดินตามที่จะได้รับการจัดสรรประจำาปี ตามแผนงาน งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร 16.2 ค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต 1 คน เป็นจำานวนประมาณ 100,000 บาท/คน/ปี ทังนีโดยใช้หลักการของการจัดสรรและการ ้ ้ ใช้สอยทรัพยากรร่วมกัน 17. หลักสูตร 17.1 จำา นวนหน่ ว ยกิ ต รวมตลอดหลั ก สู ต ร ไม่ น้ อ ยกว่ า 237 หน่วยกิต 17.2 โครงสร้างหลักสูตร สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 11. 11 17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทัวไป่ 30 หน่วยกิต 17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ 201 หน่วยกิต - วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 47 หน่วยกิต - รายวิชาบังคับวิชาชีพ 130 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านผลิตภัณฑ์ 35 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านผู้ป่วย 42 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านเภสัชศาสตร์สังคม และการบริหาร 14 หน่วยกิต กลุ่มวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ 36 หน่วยกิต รายวิชาจุลนิพนธ์ 3 หน่วยกิต - รายวิชาเลือกวิชาชีพ 24 หน่วยกิต 17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 237 หน่วยกิต 17.3 ร า ย วิ ช า รหัสวิชากำาหนดใช้เป็นเลข 6 หลักโดยแบ่งเลขออกเป็นสอง กลุม กลุ่มละสามหลักโดยเว้นวรรคหนึ่งช่วงระหว่างเลขสามหลักแรก ่ และสามหลักหลัง ตัวเลขสามหลักแรก เป็นเลขประจำาหน่วยงานทีรับผิด ่ ชอบรายวิชานั้น เช่น 080 มหาวิทยาลัยศิลปากร 550, 551 คณะเภสัชศาสตร์ 561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร์ 562 ภาควิชาเภสัชกรรม สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 12. 12 563 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน 564 ภาควิชาเภสัชเคมี 565 ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 566 ภาควิชาเภสัชเวท 567 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 568 ภ า ค วิ ช า ส า ร ส น เ ท ศ ศ า ส ต ร์ ท า ง สุขภาพ ตัวเลขสามหลักหลัง เป็นตัวเลขบอกรหัสวิชา เลขตัวแรก 1-3 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาบัณฑิต 4-9 หมายถึง รายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา เลขตัวที่สองและสาม หมายถึงลำาดับที่ของรายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1 วิชาบังคับ จำานวน 24 หน่วยกิต ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ กลุ่มวิชาภาษา จำานวน 15 หน่วยกิต 080 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0- 176 (Language and Communication) 6) 080 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2- 177 (English I) 5) 080 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2- 178 (English II) 5) 550 ภาษาอังกฤษสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 1 3(2-2- 155 (English for Pharmacy Students I) 5) 550 ภาษาอังกฤษสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 2 3(2-2- 158 (English for Pharmacy Students II) 5) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จำานวน 4 หน่วยกิต 080 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ 2(2-0- 122 4) (Professional Ethics) 550 หลักการออกแบบเบื้องต้น 2(1-3- 153 (Basic Principle of Design) 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำานวน 2 หน่วยกิต 080 หลักการวิจัย 2(2-0- สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 13. 13 144 (Principles of Research) 4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำานวน 3 หน่วยกิต ให้เลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาต่าง ๆ ดังต่อ ไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ 080 วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำาวัน 3(3-0- 153 (Science and Everyday Life) 6) 080 มลพิษสิ่งแวดล้อม 3(3-0- 156 (Environmental Pollution) 6) 080 กระบวนการแก้ปัญหา 3(3-0- 162 (Problem Solving Process) 6) 080 พลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต 3(3-0- 168 (Energy and Environment of Life) 6) 080 เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดล้อม 3(3-0- 171 (Clean Technology and Enivironment) 6) 1.2 วิชาเลือก จำานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้เลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ 080 มนุษย์กับการสร้างสรรค์ 3(3-0- 101 (Man and Creativity) 6) 080 ดนตรีวิจักษ์ 2(2-0- 107 (Music Appreciation) 4) 080 ศิลปวิจักษ์ 2(2-0- 114 (Art Appreciation) 4) 080 วรรณคดีวิจักษ์ 2(2-0- 117 (Literary Appreciation) 4) 080 อารยธรรมตะวันออก 2(2-0- 119 (Eastern Civilization) 4) 080 จิตวิทยาเบื้องต้น 2(2-0- 127 (Introduction to Psychology) 4) 080 เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำาวัน 2(2-0- 133 (Economics in Everyday Life) 4) 080 กฎหมายกับสังคม 2(2-0- 135 4) (Law and Society) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 14. 14 080 ภาษาฝรังเศสเบื้องต้น 1 ่ 3(2-2- 179 (Basic French I) 5) 080 ภาษาฝรังเศสเบื้องต้น 2 ่ 3(2-2- 180 (Basic French II) 5) 080 ภาษาเยอรมันเบื้องต้น 1 3(2-2- 183 (Basic German I) 5) 080 ภาษาเยอรมันเบื้องต้น 2 3(2-2- 184 (Basic German II) 5) 080 ภาษาจีนเบื้องต้น 1 3(2-2- 187 (Basic Chinese I) 5) 080 ภาษาจีนเบื้องต้น 2 3(2-2- 188 5) (Basic Chinese II) 080 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1 3(2-2- 189 (Basic Japanese I) 5) 080 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 2 3(2-2- 190 (Basic Japanese II) 5) 415 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2(2-0- 151 (Southeast Asian World) 4) 449 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2(2-0- 106 (Conservation of Resources and 4) Environment) 554 ส มุ น ไ พ ร พื้ น ฐ า น * 3(3-0- 101 (Elementary Herbal Medicines) 6) 554 ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ด้ า น ย า * 3(3-0- 102 (Basic Drug Knowledge) 6) 554 ม นุ ษ ย์ กั บ ส า ร พิ ษ * 3(3-0- 103 (Man and Toxic Substances) 6) 554 อ า ห า ร เ พื่ อ สุ ข ภ า พ * 3(3-0- 104 (Food for Health) 6) * หมายเหตุ เป็นรายวิชาที่เปิดบริการสำาหรับนักศึกษานอกคณะ วิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตร์อาจขอลงทะเบียนได้โดย ไม่นับเป็นหน่วยกิตรายวิชาคณะในการสำาเร็จการศึกษา แต่นับรวมเป็นหน่วยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได้ 2. หมวดวิชาเฉพาะ จำานวนหน่วยกิต 201 หน่วยกิต สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 15. 15 2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำานวน 47 หน่วยกิต ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ หรือ รายวิชาอื่นที่คณะกรรมการประจำาคณะฯ พิจารณาว่าเทียบ เท่า 2.1.1 วิชาคณิตศาสตร์และสถิติ จำานวน 8 หน่วยกิต 550 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานทาง 2(1-3 101 เภสัชศาสตร์ -2) (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences) 511 แคลคูลัสสำาหรับนักวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0- 103 (Calculus for Biological Scientists) 6) 515 สถิติสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 3(2-2- 203 (Statistics for Pharmacy Students) 5) 2.1.2 วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน จำานวน 21 หน่วยกิต 512 ชีววิทยาทั่วไป 4(4-0-8) 106 (General Biology) 512 ปฏิบัติการชีววิทยาทัวไป ่ 1(0-3-0) 107 (General Biology Laboratory) 513 เคมีทั่วไปสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 4(4-0- 108 (General Chemistry for Pharmacy Students) 8) 513 เคมีฟสคล ิ ิ ั 3(3-0- 220 (Physical Chemistry) 6) 513 หลักเคมีอินทรีย์ 4(4-0- 256 (Principles of Organic Chemistry) 8) 514 ฟสิกสทั่วไปสำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 4(4-0- 109 (General Physics for Pharmacy Students) 8) 514 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไปสำาหรับนักศึกษา 1(0-3- 110 เภสัชศาสตร์ 0) (General Physics Laboratory for Pharmacy Students) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 16. 16 2.1.3 วิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและคลินิก จำานวน 18 หน่วยกิต 561 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุลสำาหรับ 2(2-0- 104 นักศึกษาเภสัชศาสตร์ 4) (Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy Students) 561 สรีรวิทยามนุษย์สำาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 5(5-0- 105 (Human Physiology for Pharmacy Students) 10) 561 ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษย์สำาหรับนักศึกษา 1(0-3- 135 เภสัชศาสตร์ 0) (Human Physiology Laboratory for Pharmacy Students) 561 ชีวเคมีทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา 3(3-0- 204 เภสัชศาสตร์ 6) (Medical Biochemistry for Pharmacy Students) 561 จุลชีววิทยาทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา 3(3-0- 205 เภสัชศาสตร์ 6) (Medical Microbiology for Pharmacy Students) 561 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา 1(1-0- 206 เภสัชศาสตร์ 2) (Medical Immunology for Pharmacy Students) 561 พยาธิวทยาทั่วไป ิ 1(1-0- 207 (General Pathology) 2) 561 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทย์สำาหรับนักศึกษา 1(0-3- 234 เภสัชศาสตร์ 0) (Medical Biochemistry Laboratory for Pharmacy Students) 561 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย์สำาหรับ 1(0-3- 235 นักศึกษาเภสัชศาสตร์ 0) (Medical Microbiology Laboratory for Pharmacy Students) 2.2. รายวิชาบังคับวิชาชีพ จำานวน 130 หน่วยกิต สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 17. 17 2.2.1 กลุ่มวิชาด้านผลิตภัณฑ์ จำานวน 35 หน่วยกิต 564 เภสัชอนินทรีย์เคมี 1(1-0- 111 (Inorganic Pharmaceutical Chemistry) 2) 564 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1(0-3- 121 (Pharmaceutical Chemistry Laboratory) 0) 564 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0- 131 (Pharmaceutical Quality Control I) 6) 564 ป ฏิ บั ติ ก า ร ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ย า 1 1(0-3- 132 0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I) 564 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0- 231 (Pharmaceutical Quality Control II) 6) 564 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3- 233 (Pharmaceutical Quality Control Laboratory 0) II) 566 เภสัชพฤกษศาสตร์ 2(1-3- 101 (Pharmaceutical Botany) 2) 566 เภสัชเวท 1 3(3-0- 111 (Pharmacognosy I) 6) 566 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3- 121 (Pharmacognosy Laboratory I) 0) 566 เภสัชเวท 2 2(2-0- 211 (Pharmacognosy II) 4) 566 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3- 221 (Pharmacognosy Laboratory II) 0) 567 หลักการผลิตที่ดี 1 1(1-0- 265 (Good Manufacturing Practice I) 2) 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(1-0- 266 (Pharmaceutical Technology I) 2) 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0- 267 (Pharmaceutical Technology II) 6) 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 2 268 (Pharmaceutical Technology III) (2-0-4 ) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 18. 18 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2 269 (Pharmaceutical Technology IV) (2-0-4) 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0- 270 (Pharmaceutical Technology V) 4) 567 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 6 1(1-0- 271 (Pharmaceutical Technology VI) 2) 567 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3- 287 (Pharmaceutical Technology Laboratory II) 0) 567 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3- 288 (Pharmaceutical Technology Laboratory 0) III) 567 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3- 289 (Pharmaceutical Technology Laboratory IV) 0) 567 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 1(0-3- 290 (Pharmaceutical Technology Laboratory V) 0) 2.2.2 กลุ่มวิชาทางด้านผู้ป่วย จำานวน 42 หน่วยกิต 561 ชีววัตถุ 2(2-0- 211 (Biologics) 4) 562 เภสัชบำาบัด 2 5(4-3- 362 (Pharmacotherapeutics II) 8) 562 เภสัชกรรมการจ่ายยา 3(2-3- 363 (Dispensing Pharmacy) 4) 562 หลักการพื้นฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล 2 364 (Principles of Hospital Pharmacy) (2-0-4 ) 562 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3- 365 (Pharmacy Practice) 6) 562 บริการเภสัชสนเทศ 2 366 (Drug Information Services) (1-3-2 ) 562 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร์ 3 367 (Biopharmaceutical and Pharmacokinetics) (3-0-6 ) 564 เคมีทางยา 1 3(3-0- 211 (Medicinal Chemistry I) 6) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 19. 19 564 เคมีทางยา 2 4(4-0- 212 (Medicinal Chemistry II) 8) 565 เภสัชวิทยา 1 4(4-0- 353 (Pharmacology I) 8) 565 เภสัชวิทยา 2 4(4-0- 354 (Pharmacology II) 8) 565 เภสัชบำาบัด 1 3 355 (Pharmacotherapeutics I) (2-3-4 ) 565 พิษวิทยา 2 356 (Toxicology ) (2-0-4 ) 565 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1(0-3- 357 (Pharmacology Laboratory) 0) 2.2.3 กลุ่มวิชาทางด้านเภสัชศาสตร์สังคมและการ บริหาร จำานวน 14 หน่วยกิต 550 เภสัชนิเทศ 1(1-0- 151 (Pharmacy Orientation) 2) 563 สาธารณสุขพื้นฐาน 2(2-0- 251 (Basic Public Health) 4) 563 นิติเภสัช 1(1-0- 256 (Pharmacy Law) 2) 563 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 1 2(2-0- 257 (Basic Pharmacy Administration I) 4) 563 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2 2(1-3- 258 (Basic Pharmacy Administration II) 2) 563 ระบบสุขภาพ 2(2-0- 259 (Health System) 4) 563 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร์ 1(1-0- 260 2) (Principles of Pharmacoepidemiology and Pharmacoeconomics) 563 การสื่อสารกับสุขภาพ 1(0-3- 261 (Communication and Health) 0) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 20. 20 568 สารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ 2 301 (Health Informatics) (1-3-2 ) 2.2.4 รายวิ ช าฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ เภสั ช กรรม จำา น ว น 36 ห น่ ว ย กิ ต 2.2.4.1 รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพภาค บั ง คั บ จำา น ว น 6 ห น่ ว ย กิ ต 550 การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ในหน่วยงาน 1(ไม่น้อยกว่า 60 251 สุขภาพ ชั่วโมง) (Experiential Learning in Pharmacy Setting) 550 ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ 5(ไม่น้อยกว่า 351 (Professional Practice) 400 ชั่วโมง) 2.2.4.2 รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุ่ม ส า ข า จำา น ว น 30 ห น่ ว ย กิ ต รายวิชาฝึกปฏิบตงานวิชาชีพสาขาวิทยาการทาง ั ิ เภสัชศาสตร์ จำานวน 30 หน่วยกิต 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 331 เภสัชศาสตร์ 1 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship I) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 332 เภสัชศาสตร์ 2 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship II) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 333 เภสัชศาสตร์ 3 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship III) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 334 เภสัชศาสตร์ 4 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship IV) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 335 เภสัชศาสตร์ 5 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship V) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านวิทยาการทาง 5(ไม่น้อยกว่า 336 เภสัชศาสตร์ 6 300 ชั่วโมง) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 21. 21 (Pharmaceutical Sciences Clerkship VI) รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง เภสัชกรรม จำานวน 30 หน่วยกิตประกอบด้วย บังคับฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง เภสัชกรรม จำานวน 20 หน่วยกิต 551 การฝกปฏิบตงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง ั ิ 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 337 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) อายุรศาสตร์ (Pharmaceutical Care Clerkship in Medicine) 551 การฝกปฏิบตงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง ั ิ 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 338 เภสัชกรรมทางการ 300 ชั่วโมง) ดูแลผูปวยนอก   (Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 339 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) เภสัชกรรมชุมชน (Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 340 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) บริการเภสัชสนเทศ (Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service) เลือกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทาง เภสัชกรรม จำานวน 10 หน่วยกิต 551 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 341 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก (Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 342 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 22. 22 เภสัชกรรมสถานพยาบาล (Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service) 551 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 343 เภสัชกรรมทาง 300 ชั่วโมง) กุมารเวชศาสตร (Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics) 551 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 344 เภสัชกรรมทางผู้สูงอายุ 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Care Clerkship in Geriatrics) 551 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 345 เภสัชกรรมทางโรคติดเชื้อ 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases) 551 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 346 เภสัชกรรมทางโรคหัวใจและหลอดเลือด 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 347 เภสัชกรรมโดยใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของ 300 ชั่วโมง) การดูแลผู้ป่วย (Pharmaceutical Care Clerkship in Electronic Pharmaceutical Care) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 348 เภสัชกรรมในผู้ป่วยที่ใช้การรักษาทางเลือก 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านบริบาลทาง 5(ไม่น้อยกว่า 349 เภสัชกรรมในการจัดการความเสี่ยงและ 300 ชั่วโมง) ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Pharmaceutical Care Clerkship in Risk Management and Patient Safety) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 23. 23 รายวิชาฝึกปฏิบตงานวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตร์สงคมและ ั ิ ั การบริหาร จำานวน 30 หน่วยกิต 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 350 สังคมและการบริหาร 1 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship I) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 351 สังคมและการบริหาร 2 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship II) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 352 สังคมและการบริหาร 3 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship III) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 353 สังคมและการบริหาร 4 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship IV) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 354 สังคมและการบริหาร 5 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship V) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านเภสัชศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 355 สังคมและการบริหาร 6 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship VI) รายวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตร์ ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จำานวน 30 หน่วยกิต ประกอบ ด้วย บังคับฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศ ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จำานวน 20 หน่วยกิต 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 356 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) ศึกษาระบบงานและการกำาหนดปัญหา สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 24. 24 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Study and Problem Identification) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ 5(ไม่น้อยกว่า 357 ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) วิเคราะห์ระบบงานและแนวทางการแก้ ปัญหา (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Analysis and Solutions to Problem) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 358 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิง 300 ชั่วโมง) บูรณาการ 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics I) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 359 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพเชิง 300 ชั่วโมง) บูรณาการ 2 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics II) เลือกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศ ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จำานวน 10 หน่วยกิต 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 360 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) พัฒนาระบบงาน 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation I) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 361 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) พัฒนาระบบงาน 2 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 25. 25 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation II) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 362 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) วิเคราะห์ข้อมูล การค้นคืนข้อมูล และการนำา เสนอข้อมูล 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing I) 551 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านสารสนเทศ 5(ไม่น้อยกว่า 363 ศาสตร์ทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ทางการ 300 ชั่วโมง) วิเคราะห์ข้อมูล การค้นคืนข้อมูล และการนำา เสนอข้อมูล 2 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing II) 2.2.5 รายวิชาจุลนิพนธ์ จำานวน 3 หน่วยกิต 551 จุ ล นิ พ น ธ์ 1 1(0-3- 364 (Senior Project I) 0) 551 จุ ล นิ พ น ธ์ 2 2(0-6- 365 (Senior Project II) 0) 2.3 รายวิชาเลือกวิชาชีพ จำานวน 24 หน่วยกิต 2.3.1 กลุ่มวิชารายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการ ทางเภสัชศาสตร์ จำานวน 24 หน่วยกิต ประกอบด้วย รายวิ ช าบั ง คั บ กลุ่ม รายวิ ช าเลื อ กวิ ช าชี พ สาขา วิทยาการทางเภสัชศาสตร์ จำานวน 20 หน่วยกิต 561 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0- 241 (Pharmaceutical Biotechnology) 4) 561 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 2(2-0- 245 (Biological Quality Control in Pharmaceutical 4) Products) 561 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 1(0-3- 246 (Biological Quality Control in Pharmaceutical 0) Products Laboratory) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 26. 26 564 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห์ 3(1-6- 234 (Integrated Study in Pharmaceutical 2) Analysis) 565 การพัฒนาและควบคุมยา 2(2-0- 358 (Drug Development and Regulation) 4) 567 หลักการผลิตที่ดี 2 2(2-0- 272 (Good Manufacturing Practice II) 4) 567 การจัดการทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0- 273 (Management in Pharmaceutical Sciences) 4) 567 การออกแบบและพัฒนาสูตรตำารับเภสัชภัณฑ์ 4(2-6- 274 (Pharmaceutical Formulation and 4) Development) 567 การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับ 2(1-3- 275 อุตสาหกรรม 2) (Pharmaceutical Production Planning and Processing) ร า ย วิ ช า เ ลื อ ก วิ ช า ชี พ ส า ข า วิ ท ย า ก า ร ท า ง เภสั ช ศาสตร์ จำา นวนไม่ น้ อ ยกว่ า 4 หน่ว ยกิ ต เลื อ กเรี ยนจาก รายวิชาดังนี้ 561 โภชนาการและโภชนบำาบัด 2(2-0- 242 (Nutrition and Nutritional Therapy) 4) 561 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 3(3-0- 243 (Drug Biotransformation) 6) 561 เภสัชวิทยาจีโนม 2(2-0- 244 (Pharmacogenomics) 4) 561 ความปลอดภัยของอาหารและนำ้าดื่ม 3(1-6- 302 (Safety of Foods and Drinking Water) 2) 561 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสำา หรับเภสัชกร 3(2-3- 311 4) (Molecular Biotechnology for Pharmacists) 564 การแยกเพื่อการวิเคราะห์เภสัชภัณฑ์ 3(2-3- 235 (Analytical Separation of Pharmaceuticals ) 4) 564 วิธีพิเศษในการวิเคราะห์ยา 3(2-3- 236 (Special Methods in Medicinal Analysis) 4) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 27. 27 564 เภสัชวิเคราะห์ 4(2-6- 237 (Pharmaceutical Analysis) 4) 564 การวิเคราะห์ยาในสารชีวภาพ 3(2-3- 238 (Medicinal Analysis in Biologicals) 4) 564 หัวข้อปัจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0- 239 (Current Topics in Pharmaceutical Sciences) 4) 564 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0- 240 (Quality Assurance in Pharmaceutical 4) Sciences) 564 การสังเคราะห์ยา 3(2-3- 241 (Pharmaceutical Synthesis) 4) 564 การเรียนรู้เคมีทางยาโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2(2-0- 242 (Problem-Based Learning in Medicinal 4) Chemistry) 564 เคมีทางยาของยาใหม่ 2(2-0- 243 (Medicinal Chemistry of New Drugs) 4) 564 เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี 2 244 (Chemical Aspects in Drug Metabolism) (2-0-4 ) 564 การอธิบายโครงสร้างของอินทรียสารด้วยวิธีทาง 3(3-0- 245 สเปกโทรเมตรี 6) (Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds) 565 พิษวิทยาภาวะแวดล้อม 3(2-3- 359 (Environmental Toxicology) 4) 565 เภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3(3-0- 360 (Cellular and Molecular Pharmacology) 6) 565 การทดลองทางเภสัชวิทยา 2(1-3- 361 (Experimental Pharmacology) 2) 565 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท 2(2-0- 362 (Pharmacology of Neuropsychoactive 4) Drugs) 565 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและ 2(2-0- 363 หลอดเลือด 4) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢
  • 28. 28 (Pharmacology of Cardiovascular Drugs) 565 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดิน 2(2-0- 364 อาหาร 4) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs) 565 ยาใหม่ 2(2-0- 365 (New Drugs) 4) 565 การประเมินฤทธิ์ของยา 2(1-3- 366 (Evaluation of Drug Action) 2) 566 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร์ 3(2-3- 222 (Separation Technique in Pharmaceutical 4) Sciences) 566 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3- 223 (Research and Development in Medicinal 4) Plants) 566 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3- 224 (Biotechnology of Medicinal Plants) 4) 566 เภสัชเวทประยุกต์ 2(2-0- 225 (Applied Pharmacognosy) 4) 566 พฤกษบำาบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ์ 2(2-0- 226 (Evidence Base Phytotherapy) 4) 566 ยาสมุนไพรพื้นบ้าน 3(2-3- 227 (Indigenous Medicines) 4) 567 ระบบนำาส่งยาแบบใหม่ 2(2-0- 276 (Novel Drug Delivery System) 4) 567 วิทยาการเครื่องสำาอาง 4(2-6- 277 (Cosmeticology) 4) 567 การบริหารการผลิต 4(3-3- 278 (Manufacturing Management) 6) 567 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ 4(3-3- 279 (Quality Control and Quality Assurance 6) Systems) 567 การเคลือบยาเม็ด 3(2-3- 280 (Tablet Coating) 4) 567 วิทยาการพอลิเมอร์เบื้องต้นทางเภสัชกรรม 2(2-0- 281 (Introductory Polymer Sciences in 4) Pharmacy) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ ١٢/٢٥٥٢ วันที่ ٩ ธันวาคม ٢٥٥٢