SlideShare a Scribd company logo
การเมืองระหวางประเทศในอาเซียน (POL 9221)
ความขัดแยงกรณีหมูเกาะสแปรตลีย
โดย
นายเยาวลักษณ ชาวบานโพธิ์
รหัสประจําตัว 5719860013
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมือง รุนที่ 7
เสนอ
รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฏิ์ สตะเวทิน
บทนําและความเปนมา
 การอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย (Spratlys) ซึ่งเปนกลุมของเกาะใน
ทะเลจีนใต ตั้งอยูทาง ตอนใตของเกาะไหหลําของจีน อยูนอกชายฝงดานตะวันออก
ของเวียดนาม ทางตะวันตกของฟลิปปนสทางตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียและ
บรูไน ซึ่งจะเห็นไดวา จุดที่ตั้งของหมูเกาะสแปรตลียอยูในเสนทางเดินเรือที่สําคัญ
แหงหนึ่งของโลก อันที่จริงลักษณะทางภูมิศาสตรของหมูเกาะสแปรตลียสวนใหญ
เปน เกาะ แกง โขดหิน แนวปะการัง สันทราย ฯลฯ ซึ่งมนุษยไมสามารถอาศัยอยูได
 อยางไรก็ตาม หมูเกาะสแปรตลียไดทวีความสําคัญยิ่งขึ้นในสมัยสงครามโลก ครั้งที่
สอง เมื่อมีประเทศตางๆ ไดแก จีน อังกฤษ ญี่ปุน ใชหมูเกาะนี้เปนที่ ซองสุมกําลัง
ทหารและเปนที่จอดเรือรบ อีกทั้งเมื่อมีการเริ่มจัดทําอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย
กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
 ในปค.ศ. 1973 หมูเกาะสแปรตลียไดรับความสนใจอยางมากอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก
อนุสัญญาฉบับนี้นี้มีแนวคิดและไดสรางระบอบทางกฎหมายทะเลขึ้นใหมอีกหลาย
เรื่องอันมีผลกระทบตอประเทศในภูมิภาคนี้เปนปญหาหนึ่งที่สงผลกระทบตอความ
มั่นคงในทะเลจีนใต ซึ่งปญหานี้อาจเปนจุดวาบไฟ (Flashpoint) ที่ทําใหเกิดการ
เผชิญหนาจนถึงขั้นเกิดสงครามทางเรือและลุกลามไปในภูมิภาคทุกขณะ
 ปญหาที่เกิดขึ้นในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาการอางกรรมสิทธิ์ โดย จีน ไตหวัน
เวียดนาม ซึ่งตางอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะทั้งหมด ในขณะที่ฟลิปปนสอางกรรมสิทธิ์
เหนือดินแดนเกือบทั้งหมดของหมูเกาะสแปรตลียสวน มาเลเซียอางดินแดนบางสวน
ของหมูเกาะสแปรตลียวาอยูในเขตไหลทวีปของ ตนเชนเดียวกับบรูไน ปจจุบันจีนได
ครอบครองเกาะตางๆ ในหมูเกาะสแปรตลีย 8-9 เกาะ เวียดนามครอบครอง 24 เกาะ
ฟลิปปนสครอบครอง 8 เกาะ มาเลเซีย ครอบครอง 3-6 เกาะ
 ปญหากรณีพิพาทเหนือหมูเกาะสแปรตลียเกิดมานานเกือบศตวรรษแลว จนบัดนี้ก็ยัง
หาทางออกไมได โดยสถานการณความตึงเครียดจะเกิดขึ้นเปน ระยะๆ ดังเชน ในป
ค.ศ. 1988 เกิดการปะทะกันระหวางกองทัพเรือของจีนและ เวียดนามบริเวณจอหน
สัน เซาธรีฟ (Johnson South Reef) ในหมูเกาะสแปรตลียทําใหทหารเวียดนาม
เสียชีวิตมากกวา 70 นาย ในป ค.ศ. 2011
 เหตุการณกลับมาตึงเครียดอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเวียดนามกลาวหาวาเรือรบจีนขัดขวางเรือ
สํารวจน้ํามันของตนภายในเขต 200 ไมลทะเล อันเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ
เวียดนาม จีนตอบโตวาเวียดนามรุกล้ํานานน้ําและคุกคามชาวประมงจีน นํามาซึ่งการ
แสดงแสนยานุภาพขมขวัญกัน เริ่มจากเวียดนามซอมรบทางทะเลดวยกระสุนจริง ถัด
มาไมกี่วัน จีนประกาศซอมรบในทะเลจีนใตเชนเดียวกัน
Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร
• ราว 3 ปกอนคริสตกาล เกาะแหงนี้ถูกคนพบ
โดยชาวหนันเยวจากทางตอนใตของประเทศ
จีนที่เขามาทําประมงในแหลงดังกลาว(ซึ่งจีนใช
เปนเหตุผลในการอางสิทธิ)
• ชวงศตวรรษที่19ถึงตนศตวรรษที่20นัก
เดินทางชาวยุโรป วิลเลียม สแปรตลี่ย ได
เดินทางมาคนพบในการสํารวจเสนทางเดินเรือ
• ป 1930 ฝรั่งเศสประกาศสิทธิเหนือหมูเกาะ โดย
อางในฐานะที่เวียดนามเปนดินแดนอาณานิคม
ของตน
• จีนขัดคานการประการสิทธิของฝรั่งเศส และยัง
สนับสนุนชาวประมงในการเขาสูพื้นที่ ซึ่งทําให
เกิดการเผชิญหนากันเกิดขึ้น
Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร (ตอ)
 ป1931-1945 มีสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้น ญี่ปุนก็ไดเขาครอบหมูเกาะ
แหงนี้เพื่อใชเปนฐานเรือดําน้ํา เพื่อเสริมความแข็งแกรงทางทะเลในการเขา
รุกเขาสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไดมอบเกาะแหงนี้ใหอยูภายใตการ
ดูแลของไตหวัน
 หลังจากที่ญี่ปุนพายแพในสงคราม พรรคกกมินตั๋งก็ไดเขาครอบครองหมู
เกาะทั้งหมด
 ญี่ปุนประกาศสละสิทธิ์ในหมูเกาะที่ตนยึดไดในชวงสงครามทั้งหมด ดวย
การลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพซานฟรานซิสโกในป 1951
 ป1949พรรคกกมินตั๋ง พายแพตอพรรคคอมมิวนิสตจีน ทําใหตองถอนตัว
ออกจากการครอบครอง
 หลังจากฝรั่งเศสไดถอนกําลังออกจากเวียดนาม กองทัพเรือเวียดนามก็ได
เขาประจําการในเกาะสแปรตลี่ย
Spratly Islands
 เปนหมูเกาะที่ตั้งอยูในอาณาบริเวณ
ทะเลจีนใต
 มีอาณาบริเวณทางทะเล 3,500,000
ตารางกิโลเมตร
 ประกอบไปดวย แนวปะการัง และหิน
โสโครก และเกาะเล็กๆประมาณ 100
เกาะ
 เมื่อนําเนื้อที่ที่เปนเกาะเล็กๆมารวมกัน
จะมี พื้นที่เพียง 3 ตารางไมลและไม
เหมาะแกการตั้งถิ่นที่อยูอาศัย
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค
ทําไมตอง Spratly
 เปนเสนทางผานของเสนทางเดินเรือที่สําคัญในภูมิภาค และมีความสําคัญเปนอันดับ 2
ของโลก
 หากรัฐใดสามารถอางกรรมสิทธิ์เหนือ หมูเกาะSpratlyได ก็จะสามารถเขาควบคุม
เสนทางการเดินเรือบริเวณทะเลจีนใตไดทั้งหมด
 เปนจุดยุทธศาสตรทางทะเลที่สําคัญ ที่สงผลตอ จีน ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลี รวมทั้งเปนจุด
ถวงดุลอํานาจระหวางมหาอํานาจตางๆ
 ทรัพยากรธรรมชาติ ที่คาดการกันวามีจํานวนมหาศาล ซึ่งจะสามารถตอบสนองตอการ
เติบโตทางเศรษฐกิจหรือเพื่อเปน หลักประกันความมั่นคงทางพลังงานในอนาคตของรัฐ
ซึ่งในป 1968 มีการขุดพบน้ํามัน โดยกระทรวงทรัพยากรธรณีและแรธาตุของจีน
ประเมินวาใตทองทะเลแถบนี้มีน้ํามันและกาซธรรมชาติถึง 17.7 พันลานตัน(คูเวตมี 13
พันลานตัน)ทําใหสแปตรลี่ยเปนแหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติอันดับ 4 ของโลก
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
Spratly กับทรัพยากรธรรมชาติที่คุมคาในการแยงชิง
 ในปจจุบันคงจะปฏิเสธไมไดวาปจจัยที่สงผลตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ
ความเจริญกาวหนาของรัฐนั้น ยอมจะมีปจจัยดานความมั่นคงทางพลังงานเขามา
เกี่ยวของดวยเสมอ สงผลใหรัฐตางๆเรงแสวงหาแหลงพลังงานแหงใหมๆ ที่จะสามารถ
ตอบสนองตอความตองการของรัฐที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย
 รัฐในเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เชนเดียวกัน ซึ่งจากการคาดการณถึง ปริมาณ
ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจีนใตที่มีเปนจํานวนมาก ทําใหรัฐตางๆบริเวณโดยรอบ
ทะเลจีนใตพยายามที่จะอางกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ทะเลจีนใตจนนําไปสูขอพิพาท
ระหวางรัฐเกิดขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาติใน Spratly
 น้ํามัน
 กาซธรรมชาติ
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
ภาพแสดงถึงอิทธิพลทางทะเลของ Spratly
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
กฎหมายทางทะเล
 The Third united Nations Convention on the Law of Sea (UNCLOS 3,1973-1982)
คือ การประชุมสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทางทะเลครั้งที่ 3 และมีผลบังคับใชป 1994 ซึ่ง
ขอสรุปในการประชุมครั้งนี้มีการพูดถึงในหัวขอ
 ทะเลอาณาเขตและเขตตอเนื่อง (Territorial Sea and Contiguous Zone)
 ชองแคบระหวางประเทศ (Straits used for International Navigation)
 เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone)
 ไหลทวีป (Continental Shelf)
 ทะเลหลวง (High Seas)
 ระบอบของเกาะ (Regime of Islands)
 รัฐหมูเกาะ (Archipelagic States)
 การวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล (Marine Scientific Research)
 การปกปกษและสงวนรักษาไวซึ่งสภาวะแวดลอมทางทะเล
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
กฎหมายทางทะเลที่เกี่ยวของกับขอพิพาท Spratly
 นานน้ําภายใน (Internal Waters) คือ นานน้ําที่อยูหลังเสนฐานปกติ หรือเสนฐาน
ตรง เขามาทางดานผืนแผนดินของรัฐชายฝง
 ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) คือ เขตทางทะเลที่อยูถัดจากนานน้ํา
ภายในประเทศ ซึ่งสามารถขยายออกไปไดไกลสุดไมเกิน 12 ไมลทะเล ซึ่งรัฐ
ชายฝง มีสิทธิครอบครองโดยกฎหมายภายในและใชอํานาจอธิปไตยไดอยางเต็มที่
 เขตตอเนื่อง (Contiguous Zone) คือ เขตที่อยูถัดจากทะเลอาณาเขต มีความกวาง
ไมเกิน 24 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดทะเลอาณาเขต ในเขตตอเนื่องรัฐ
มีอํานาจในการปองกันมิใหมีการฝาฝนกฎหมายวาดวยการ ศุลกากร การเขาเมือง
การลงโทษตอการฝาฝนกฎหมาย ซึ่งไดกระทําในดินแดนหรือภายในทะเลอาณา
เขตของรัฐชายฝง
 สิทธิการผานโดยสุจริต (Right of innocent passage) มาตรา 19(1)
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
กฎหมายทางทะเลที่เกี่ยวของกับขอพิพาท Spratly(ตอ)
 มาตรา121กําหนดวา บริเวณโขดหิน ที่ไมสามารถตั่งถิ่นที่อยูอาศัยของมนุษย
ได จะไมสามารถกําหนดเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะได
 เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ, มาตรา55-75) คือ
เขตที่มีความกวางไมเกิน 200 ไมลทะเล วัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดความกวางของ
ทองทะเลอาณาเขต รัฐชายฝงมีสิทธิแตเพียงผูเดียว อธิปไตยเหนือเขตนี้ในการ
สํารวจและแสวงหาผลประโยชน อนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มี
ชีวิตและไมมีชีวิต
 จากขอกําหนดดังกลาวทําใหหลายๆประเทศพยายามสรางสิ่งปลูกสรางตางๆใน
พื้นที่พิพาทเพื่อที่จะใชเปนขออางในการกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไมให
ขัดกับมาตรา121
เสรีภาพของรัฐอื่นใน EEZ ของรัฐชายฝง รัฐอื่นยังคงมีเสรีภาพในเรื่อง
1. เสรีภาพการเดินเรือ(Freedom of navigation)
2. เสรีภาพการบินผาน(Freedom of overflight)
3. เสรีภาพในการวางสายเคเบิลและทอใตทะเล (Freedom to lay
submarine cables and pipelines)
4. เสรีภาพในการวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล(Freedom of scientific
research)
5. เสรีภาพในการสรางเกาะเทียมและสิ่งติดตั้งอื่นๆ (Freedom to
construct artificial island and other installations)
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
สิทธิและหนาที่ของรัฐอื่นใน EEZ
ในการใชสิทธิและการปฏิบัติหนาที่ของตนตามอนุสัญญานี้ในเขต EEZ ใหรัฐ
อื่น คํานึงถึงสิทธิและหนาที่ของรัฐชายฝงและใหปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่ออก
โดยรัฐชายฝง ภาพตัวอยางแสดงถึงขอบเขตนานน้ําไทย
สีเขียว คือ นานน้ําภายใน
สีเหลือง คือ ทะเลอาณาเขต
สีน้ําเงิน คือ เขตตอเนื่อง
สีฟา คือ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ
บริเวณพื้นที่ทับซอน ไทย-มาเล
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
Spratly สูความขัดแยงที่รอวันปะทุ
 ความขัดแยงที่กําลังเกิดขึ้น ในบริเวณทะเลจีนใตในขณะนี้นั้น เปนลักษณะของ
ความขัดแยงที่เกิดขึ้นในรูปแบบของความขัดแยง ระหวางประเทศอันเปนความ
ขัดแยงระหวางรัฐกับรัฐ ที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของผลประโยชนแหงชาติเปนสําคัญ
ผลประโยชนแหงชาติ
 ในการดําเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆก็ตามของรัฐชาตินั้น ยอมจะใหความสําคัญ
กับผลประโยชนแหงรัฐเสมอ และในกรณีของ Spratly เองก็เชนกัน อันเปนผลมา
จากการที่รัฐตระหนักแลววา หากรัฐสามารถที่จะเขาถือครองกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่
แหงนี้ได รัฐก็จะไดรับผลประโยชน จากทรัพยากรธรรมที่มีอยูอยางมากมายอันจะ
สงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
เมื่อผลประโยชนแหงชาติขัดกัน
 ผลจากการสํารวจที่เกิดขึ้นในบริเวณใตทองทะเลของหมูเกาะ Spratly นั้นทําใหมี
การคาดการถึงความอุดมสมบรูณของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู อยางมากมายใน
บริเวณดังกลาว ซึ่งสอดคลองและตอบสนองตอนโยบายของรัฐตางๆในการที่จะ
แสวงหาแหลงทรัพยากรเพื่อที่จะเปนหลักประกันและเกื้อหนุนตอระบบเศรษฐกิจที่
กําลังขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นในปจจุบัน
 ซึ่งสถานการณที่เกิดขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตอรัฐอันเกิดจากเปาหมายในการ
แสวงหาผลประโยชนนั้นขัดกัน ทําใหรัฐตางๆพยายามแยงชิงรวมทั้งการอางสิทธิ
เขาครอบครอง จนสงผลไปสูความขัดแยงที่กําลังเปนอยูในขณะนี้
รัฐที่เกี่ยวของในความขัดแยงนี้
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
กลุมรัฐคูขัดแยงอันเกิดจากการชวงชิงแหลงผลประโยชนเดียวกัน
 ในสนามของการชวงชิงและการอางสิทธิเหนือพื้นที่พิพาทที่กําลังเกิดขึ้น ไดนํารัฐที่
เกี่ยวของเขาสูความขัดแยงอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งมีทั้งรัฐที่อยูในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตและรัฐในภูมิภาคที่คาบเกี่ยวกับทะเลจีนใตซึ่งมีสถานะเปนตัว
แสดงหลักในความขัดแยงนี้ อีกทั้งยังมีตัวแสดงภายนอกที่พยายามจะเขามามี
อิทธิพลในพื้นที่แหงนี้ดวยเชนกัน
 กลุมรัฐคูขัดแยงที่เกี่ยวของโดยตรง คือ ประเทศจีน เวียดนาม มาเลเซีย ฟลิปปนส
บรูไน ไตหวัน อีกทั้งยังมี อเมริกา ญี่ปุน ที่พยามยามเขามามีสวนรวมในสถานการณ
ที่เกิดขึ้น
 โดยที่ จีนและเวียดนาม อางสิทธิครอบครองหมูเกาะทั้งหมด ขณะที่ มาเลเซียและ
ฟลิปปนส อางเพียงบางสวน รวมทั้งบรูไนซึ่งไมไดอางสิทธิเหนือหมูเกาะใดในพื้นที่
พิพาท แตไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งไดเขาไปทับซอนกับอาณาเขตของการ
อางสิทธิของรัฐในขอพิพาทนี้
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
การอางสิทธิในความขัดแยงนี้
จีนไดเผยแพรแผนที่ทางการของตน ที่ครอบคลุมพื้นที่เปน
บริเวณกวางในทะเลจีนใตซึ่งทําใหแนวหมูเกาะตางๆรวมทั้งเสนทาง
เดินเรือทั้งหมดอยูภายใตอธิปไตยของจีน
 ซึ่งจีนไดอางหลักฐานทางประวัติศาสตร วาพื้นที่ดังกลาวเคย
ปรากฏอยูในแผนที่ของอาณาจักรจีนมาตั้งแต 200 ปกอนคริสตกาล
การอางสิทธิในความขัดแยง
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
จีน กับ การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติ
ตั้งแตเริ่มการปฏิรูปและพัฒนาประเทศของจีนนับตั้งแตป ค.ศ.1980 ทําใหชีวิตความ
เปนอยูของประชาชนและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนดีขึ้นโดยรวม
อีกทั้งยังผลักดันใหจีนกาวขึ้นสูสถานะหนึ่งในมหาอํานาจของโลก แตทวาจีนยังคงตอง
เผชิญกับความทาทายรูปแบบใหมที่มาพรอมกับการพัฒนาและความทันสมัย นั่นก็คือการ
ขาดแคลน ทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ
จากการ ที่จีนตระหนักแลววา แหลงทรัพยากรเดิมที่ตนมีอยูใน
ปจจุบัน ก็คือ ถานหินนั้นไมสามารถที่จะขับเคลื่อนระบบ
เศรษฐกิจจีนไดอีกตอไป ทั้งจะสงผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่
รุนแรง เปนผลใหจีนตองมองหาทรัพยากรใหมที่จะสามารถเขา
แทนที่ทรัพยากรเดิม
 ทําใหน้ํามันและกาซธรรมชาติกลายเปนพลังงานทางเลือกที่จะ
ตอบสนองตอความมั่นคงและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนอยู
ในปจจุบัน
จีน กับ การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติ (ตอ)
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
จากความขาดแคลน สูการเรงแสวงหาและเขาครอบครองแหลงทรัพยากร
การที่จีนไมมีแหลงทรัพยากรที่เพียงพอตอการพัฒนาประเทศ ทําใหจีน
จําเปนตองนําเขาพลังงานจากตางชาติเพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ อันเปน
ผลใหระบบเศรษฐกิจของจีนตองพึ่งพาตางชาติอยางหลีกเหลี่ยงไมได
ทําใหบทบาทในการดําเนินการแสวงหาน้ํามันของจีนในปจจุบัน ปรากฏ
เปนรูปธรรมในหลายภูมิภาคทั่วโลก โดยผาน ความสัมพันธในระดับกลไกของ
รัฐและเอกชน ไมวาจะเปนการแสวงหาการเขาไปลงทุนดานพลังงานใน
ตางประเทศ และการปกปองแหลงพลังงานที่ตนมีอยู
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
 สงเสริมการดําเนินการของรัฐวิสาหกกิจน้ํามัน ในตางแดน
 ใหความสําคัญกับประเด็นความมั่นคงทางพลังงาน
 สรางความชอบธรรมใหเกิดขึ้นในเวทีระหวางประเทศ เพื่ออํานวยประโยชน
แกการเขาไปดําเนินการของรัฐวิสาหกิจน้ํามัน
 ดําเนินการสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร
 สรางความเชื่อมั่นวาน้ํามันจะถูกลําเลียงสูจีนอยางปลอดภัย
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
เพื่อความมั่นคงของเสนทางลําเลียงน้ํามันทางทะเล เนื่องจากหาก
เกิดเหตุสุดวิสัยหรืออุปสรรคใดๆตอเสนทางลําเลียงน้ํามันเหลานั้น
ยอมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงดานพลังงานของจีนได
เพื่อเขาครอบครองแหลงทรัพยากร อันจะนําไปสูความมันคงทาง
พลังงาน
เพื่อถวงดุลอิทธิพลของประเทศมหาอํานาจที่พยายามเขามามี
อิทธิพลในภูมิภาคนี้
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
ฟลิปปนสไดประกาศ EEZ ของตนและเริ่มเขาทําการสํารวจและ
ผลิตกาซธรรมชาติในพื้นที่พิพาท ที่จีนอาง กรรมสิทธิ์
มาเลเซียไดประกาศ EEZ ของตนโดยอางอิงจากอาณาเขตชายฝง
ของหมูเกาะซาราวัค ซึ่ง EEZ ของมาเลที่วานี้ก็อยูใน อาณาเขต
นานน้ําที่จีนอาง กรรมสิทธิ์
เวียดนาม อางกรรมสิทธิ์ เหนือแหลงน้ํามันในพื้นที่นอกชายฝงของ
เวียดนาม ซึ่งครอบคลุมแหลง พลังงานนอกชายฝงของจีน
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
ในชวงเวลาของการพิพาทและความขัดแยงที่ผานมา มีการปะทะ
ประปรายของกองกําลังทหารหนวยยอยๆระหวางกองเรือ
ลาดตระเวน ซึ่งจํากัดความรุนแรงและไมไดนําไปสูการเกิดสงคราม
ป 1974 จีนบุกเขายึดครองหมูเกาะพาราเซลจากเวียดนาม
ป 1988 เกิดการปะทะระหวางกองเรือจีนและกองเรือเวียดนาม
สงผลใหเรือของเวียดนาม จมไปหลายลําและทําใหลูกเรือกวา 70
นายเสียชีวิต
จีนไดเริ่มคุกคามบริษัทน้ํามันตะวันตก และ ปโตรเวียดนาม ใน
ระหวางการเขาสํารวจแหลงทัพยากรในพื้นที่พิพาท
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
แนวโนมการจัดซื้ออาวุธและเสริมสรางความมั่นคงทาง
ทหารในภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น
กองทัพอากาศมาเลเซีย ใหเหตุผลในการจัดหาเครื่องรบ
SU-30 MKM วา เปนการรับมือกับความทาทายใหม ในการ
ยุทธทางทะเล
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
 จีนไดประกาศหามเรือประมงของประเทศอื่น เขาไปจับปลาใน
เขตหมูเกาะสแปรตลี่ย ที่จีนอางกรรมสิทธิ์ และไดมีการจับกุม
ชาวประมงของประเทศเพื่อนบานอยูหลายครั้ง
 จีนไดเสริมกองกําลังทางทะเลเขาสูทะเลจีนใต และในเดือน
มีนาคม ป 2010 เรือรบของจีนไดมีการเผชิญหนากับเรือรบของ
สหรัฐในนานน้ําทะเลจีนใต
 จีนไดจัดการซอมรบขึ้น กับ รัสเซีย ในรูปแบบของการรบ
ทางอากาศ ทางบก ทางทะเล ซึ่งเปนการแสดงความพรอมใน
การรบหากเกิดสถานการณที่ไมคาดฝนขึ้น
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
 ฟลิปปนส จีน เวียดนาน ไดเขาไปตั้งปอมปราการทางทหาร
บริเวณเกาะเล็กเกาะนอยตางๆ เพื่อคุมกันแทนขุดเจาะของตน
 เวียดนามและฟลิปปนสไดจัดการซอมรบทางทะเล ดวย
กระสุนจริงและมีการซอม ปลอยขีปนาวุธตอตานเรือรบชนิด
ตางๆ
 ไตหวันเรงเสริมสรางกองกําลังทางทะเลของตนใหแข็งแกรง
ขึ้นเพื่อรับมือกับความรุนแรงที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
 จีนเตรียมกองเรือเฉพาะกิจไวที่ฐานทัพเรือบนเกาะไหหลํา ซึ่ง
อยูหางจาก สแปรตลี่ย 1000 กิโลเมตร กองเรือดังกลาวพรอม
เคลื่อนยายทันทีหากมีความรุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที่
 จีนแสดงทาทีไมพอใจ ตอกรณีที่ 5 สมาชิกสภาผูแทน ของ
ฟลิปปนสเดินทางไปยังหมูเกาะสแปรตลี่ย โดยที่จีนอางวาเปน
การกระทําที่ยั่วยุตออํานาจอธิปไตยของจีน
 ฟลิปปนสแสดงความไมพอใจตอการอางกรรมสิทธิ์ของ
ทางการจีน จนนําไปสูความคิดที่จะเปลี่ยนชื่อทะเลจีนใต ไป
เปนทะเลฟลิปปนส
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
อาคารที่ทางการจีนสรางไวในพื้นที่พิพาท เพื่อใชเปนปอมปราการทางทหาร
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
เรือปลอยขีปนาวุธตอสูเรือรบ ของกองทัพเรือ เวียดนาน ขณะเตรียมตัวกอน
ออกลาดตระเวนในทะเลจีนใต
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
เรือรบเวียดนามทําการซอมยิงขีปนาวุธ ตอตาน อากาศยาน เรือผิวน้ํา และตอสู
ชายฝง
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
เรือตรวจการณขีปนาวุธ กองทัพเรือเวียดนามขณะลาดตระเวนในบริเวณทะเลจีนใต
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
กองเรือขีปนาวุธ เวียดนามแลนออกจากทา เพื่อเขาสูสถานการณรบดวยกระสุนจริง
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
ไตหวัน นํารถถังเขาประจําการบนเกาะในพื้นที่พิพาท
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
จีนสงเรือรบเขาสูนานน้ําทะเลจีนใตเพื่อขมขวัญและแสดงแสนยานุภาพทางทะเลของตน
ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต
แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท
 จากสถานการณความรุนแรงที่เกิดขึ้น หากมองในมุมของอํานาจ
ทางการทหารนั้น เห็นไดชัดวาคงไมมีประเทศใดในความขัดแยงนี้ที่
จะมีแสนยานุภาพทางการทหารที่เหนือกวาจีนไปได และจีนเองก็
ตระหนักในความเหนือกวาของตนดี
ซึ่งทําใหจีนตองแสดงทาทีทางทหารใหอยูในกรอบที่เหมาะสมและ
ควบคูไปกับการดําเนินการทางการทูตเพราะหากสถานการณใน
พื้นที่ขยายวงกวางออกไป ยอมจะสงผลตอภาพลักษณของการเปน
มหาอํานาจในเอเชียของจีน และอาจจะเปนเหตุผลใหมหาอํานาจอื่น
เขามาแทรกแซงสถานการณที่เกิดขึ้น
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
สหรัฐอเมริกาตอกรณีความขัดแยงในทะเลจีนใต
 ดวยความที่พื้นที่บริเวณทะเลจีนใต เปนจุดยุทธศาสตรที่มีความสําคัญ ตอการถวงดุล
อํานาจระหวางประเทศและมีความสําคัญตอความเจริญกาวหนาของจีน ซึ่งสถานการณ
ความขัดแยงที่เกิดขึ้ง ไดสรางความชอบธรรมในการที่อเมริกาจะเขาไปมีบทบาทใน
พื้นที่ เนื่องจากเปนที่ทราบกันดีวา ยุทธศาสตรใหญของสหรัฐในภูมิภาคนี้ คือ การปด
ลอมจีน อีกทั้งยังไดรับการรองขอจากชาติที่เกี่ยวของใน ความขัดแยงนี้โดยตรง ไมวา
จะเปน เวียดนาม และ ฟลิปปนส
ทาทีของอเมริกาในความขัดแยงนี้
 อเมริกาไดกระชับความสัมพันธทางทหารกับเวียดนาม
 อเมริกาจัดการซอมรบรวมกับ ฟลิปปนส และ เวียดนาม
 สถานการณความขัดแยงที่เกิดขึ้นนี้ สหรัฐเองถึงแมวาจะเปนมหาอํานาจทางทหารแต
จะใหเปดฉากสงครามก็คงจะไมเปนผลดีตอทั้งอเมริกา และจีน ดังนั้นสถานการณที่
เกิดขึ้น ก็นาจะเปนไปในรูปของการ แสดงทาทีทางการทูตเสียมากกวา
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
แผนที่ ที่แสดงอาณา
เขตรับผิดชอบทาง
ทหารของอเมริกาที่มี
อยูทั่วทุกมุมโลก ซึ่ง
แสดงใหเห็นถึงความ
ทะเยอทะยาน ในการที่
จะเปนเจามหาอํานาจ
ของสหรัฐอเมริกา
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)
ความขัดแยงกับการแสวงหาทางออก
 สถานการณความขัดแยงที่เกิดขึ้น สงผลโดยตรงตอเสถียรภาพและความมั่นคงของ
ภูมิภาค ทําใหประชาคมระหวางตองเรงแสวงหาทางออกจากความขัดแยงนี้รวมกัน
เพื่อที่จะปองกัน เหตุบานปลายที่อาจสงผลใหเกิดความรุนแรง และเปนความทาทาย
ใหมขององคกรระหวางประเทศในพื้นที่วาจะสามารถแสดงความสามารถในการ
แกไข ความขัดแยงนี้ไดดีเพียงใด
การแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
 การริเริ่มใชแนวทางการทูต และขอตกลงความรวมมือตางๆเพื่อแกปญหาในทะเลจีน
ใต โดยการเจรจาผานเวทีประชุมของกลุมความรวมมือประชาติแหงเอเชียตะวันออก
เฉียงใต
 ที่ประชุมอาเซียน ในป 2539 ไดมีมติในการออกระเบียบปฏิบัติในทะเลจีนใต
(Code of Conduct)
บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย
 บทบาทของอาเซียนในหมูเกาะสแปรตลียสามารถพิจารณาไดจากการที่ประชุมระดับ
รัฐมนตรีตางประเทศของอาเซียนที่ฟลิปปนสเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1992 ไดออก
ปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใต (ASEAN Declaration on the South China Sea) กําหนด
แนวทางในการแก ปญหาขัดแยงโดยสันติวิธี จีนซึ่งเขารวมในการประชุมไดลงนามในการ
รับรอง ดวยอยางไรก็ตามแมมีปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใตแลว รัฐที่กลาวอาง สิทธิ์ก็
ยังตอสูชวงชิงเพื่อใหตนไดมาซึ่งลักษณะทางภูมิศาสตรในบริเวณหมูเกาะสแปรตลียที่ยัง
ไมมีรัฐใดเขาไปครอบครองซึ่งความตึงเครียดนี้ขึ้นสูจุดสูงสุด
 ในป ค.ศ. 1995 หลังจากจีนเขาไปครอบครอง Mischief Reef ซึ่งฟลิปปนสอางสิทธิ์วาเปน
ของตนและตั้งอยูนอกชายฝงของเกาะ Palawan เพียง 100 ไมลการเขาครอบครอง
Mischief Reef ของจีน กอใหเกิดความตึงเครียดอยางรุนแรงระหวางอาเซียนกับจีนดวยเหตุ
นี้จึงมีความพยายามที่จะจัดทําความตกลงเกี่ยวกับแนวปฏิบัติของรัฐผูเปนฝายในกรณี
พิพาท ซึ่งไดแก ปฏิญญา อาเซียนจีนวาดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทใน
ทะเลจีนใต (2002 ASEAN-China Declaration on the Conduct of Parties in the South
China Sea)
บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย
 ซึ่งไดรับการยอมรับโดยรัฐมนตรีตางประเทศ ของอาเซียนและจีนในคราวประชุมสุดยอด
อาเซียน (ASEAN Summit) ที่ กรุงพนมเปญ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002
ปฏิญญาอาเซียน-จีนวา ดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทในทะเลจีนใตกําหนด
วา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทยืนยันวาจะเคารพและใหคํามั่นสัญญาวาจะปฏิบัติตามหลัก
เสรีภาพในการเดินเรือและการบินผานในทะเลจีนใตตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่
ไดรับการยอมรับระดับสากลซึ่งรวมถึงอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย กฎหมายทะเล
ค.ศ. 1982 และยืนยันวาการรับเอาแนวปฏิบัติ (Code of Con­duct) ในทะเลจีน
ใตจะเปนการสงเสริมสันติภาพและความมั่นคง (Peace and Stability)
 ในภูมิภาคและตกลงวาจะดําเนินการในเรื่องนี้ใหสําเร็จลุลวงตาม วัตถุประสงคบน
พื้นฐานของหลักฉันทามติ (Consensus) นอกจากนี้ปฏิญญาฯ ยังกําหนดใหรัฐผูเปน
ฝายที่เกี่ยวของในกรณีพิพาทพรอมที่จะดําเนินการใหมีการปรึกษาหารือและการเจรจาใน
ประเด็นปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับขอพิพาทนั้นตาม วิธีการที่ไดตกลงกันและโดยประการ
สําคัญปฏิญญาฯ นี้ไดระบุวา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทรับวาตนจะเคารพและกระทําการ
ตามบทบัญญัติของปฏิญญาฯ
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
 Code of Conduct
 เปนกระบวนการแสวงหาทางออก โดยผานกระบวนการในการตกลงรวมกัน ในการ
ที่จะสรางความสันติใหเกิดขึ้นในพื้นที่ รวมทั้งทําใหเกิดความชัดเจนในการ
ดําเนินการดานตางๆ เชน การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร การปราบปรามโจรสลัด
และขบวนการคายาเสพติด โดยไมกอใหเกิดความขัดแยงในดานอธิปไตย
 ป ค.ศ. 1999 ไดมีการผลักดันใหมีการกําหนดระเบียบปฏิบัติในการแกไขปญหาขอ
พิพาท โดย เวียดนามและฟลิปปนส ซึ่งเห็นวาควรใหจีนเขามามีสวนในขอตกลงนี้
 จีนไดเริ่มเปดการเจรจากับกลุมอาเซียนเกี่ยวกับ ระเบียบปฏิบัติ ซึ่งจะใชกําหนดการ
ปฏิบัติ ของผูอางสิทธิทั้งหลาย ซึ่งจีนมีความคิดเห็นไมตรงกับหลายๆประเทศใน
เรื่องที่วา “ภาคีอาเซียนตองการผลักดันใหเกิดพันธะผูกพันที่ชัดเจน ในขณะที่จีน
ตองการพันธะผูกพันแบบกวางๆเพื่อยับยั้งการกระทําที่อาจจะ ทําใหสถานการณ
ยุงยากมากขึ้น”
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
ทาทีของสหรัฐในการแกไขความขัดแยง
 ในการประชุม ARF ที่ผานมานั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ
ตางประเทศของสหรัฐ Hillary Clinton ไดประกาศทาทีที่ตอความขัดแยง
ที่เกิดขึ้น
 สหรัฐถือวาเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญและจะเขามามีบทบาทในการแกไข
ปญหาและไมเห็นดวยกับการใชกําลังในการแกไขปญหา
 สหรัฐสนับสนุนใหมีการเจรจาแบบพหุภาคี
 สหรัฐใชยุทธศาสตรความมั่นคงรวม ในภูมิภาคเพื่อจะใชเปนหลักประกัน
เสถียรภาพและความมั่นคงของสหรัฐในวามขัดแยงที่เกิดขึ้นผานทาง
ขอตกลงตางๆ
Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)
 ตราบใดที่ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ยังคงเปนความตองการเรงดวนของทุกรัฐ
ในปจจุบันนี้แลว ปจจัยดานพลังงานก็จะเปนตัวหนุนและรองรับความเจริญเติบโตที่
เกิดขึ้น ไมวาจะเปนไปในรูปของการแสวงหาพลังงานเขาสูรัฐ หรือแมกระทั่ง การคา
ขายทรัพยากรพลังงาน ที่ไดจากแหลงทรัพยากรพลังงานของรัฐ และดวย
ผลประโยชนที่เกิดขึ้นอยางมากมายนี้เอง ที่นําไปสูความขัดแยงที่นับวันจะทวีความ
รุนแรงขึ้นตราบใดที่ยังไมสามารถหาขอยุติในการอางสิทธิที่คาบเกี่ยวกันได
 การจัดตั้งกระบวนการเจรจาไกลเกลี่ยโดยสันติวิธี และจัดทํา ระเบียบปฏิบัติ ที่
ยอมรับรวมกัน จึงจําเปนตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อเปนหลักประกัน ตอความ
มั่นคงและความสงบสุขของภูมิภาค
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทย
 สําหรับประเทศไทย ปญหาการแยงชิงกรรมสิทธิ์ในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาที่มี
ความสําคัญอยางยิ่งเนื่องจากหากมีการสูรบกันเกิดขึ้นประเทศไทยอาจไดรับผลกระทบทั้ง
ในดานภูมิศาสตรเศรษฐกิจและการเมือง กลาวคือ ประเทศไทยมีพื้นที่ติดทะเลอยู 2 ดาน
คืออาวไทยและทะเลอันดามัน โดยเฉพาะอาวไทยเปนอาวที่ล้ําเขามาในแผนดินและมีรัฐ
ชายฝงอื่นๆ ลอมรอบทําใหเสนทางคมนาคมถูกปดลอมโดยที่ตั้งทางภูมิศาสตรหากมีการสู
รบกันเกิดขึ้นในทะเลจีนใต นอกจากนี้ทะเลจีนใตยังเปนพื้นที่สําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของไทยโดยเปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญในการขนสงสินคาทางทะเล พาณิชยนาวี
 เหตุการณรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตจะทําใหไทยถูกดึงเขาไปเกี่ยวของ อยางหลีกเลี่ยง
ไมไดในระดับใดระดับหนึ่งและอาจเกิดผลกระทบตอความสัมพันธทางดานการเมือง
ระหวางประเทศ เพราะประเทศที่อางกรรมสิทธิ์เปนสมาชิกของอาเซียนถึง 4 ประเทศ
หากเกิดเหตุการณรุนแรงขึ้นยอมสงผลกระทบตอการปองกันประเทศและผลประโยชนทาง
เศรษฐกิจของไทย สมควรที่จะมีการพิจารณากําหนดทาทีของไทยตอปญหาและผลกระทบ
ที่อาจเกิดขึ้นจากความขัดแยงในบริเวณ ดังกลาวเพื่อใหสามารถรักษาผลประโยชนของชาติ
ไดอยางเหมาะสม
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทย
 นอกจากนี้ปญหาหมูเกาะสแปรตลียมีความสําคัญตอไทยในแงที่เปนเขตกองเรือประมงน้ํา
ลึกของไทยอาจไปรวมทําการประมงโดยขอตกลงรวมกับประเทศที่อางกรรมสิทธิ์ตางๆ ได
และประเทศไทยจําเปนตองอาศัยเสนทางคมนาคมผานดินแดนทะเลจีนใตนี้ ความมั่นคง
ปลอดภัยของเสนทางเดินเรือจึงมีความสําคัญและประการสุดทาย ถามีการแกปญหาโดยการ
ใชกําลัง ประเทศไทย ก็จะไดรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได
 ดังนั้น การวางตัวเปนกลางของไทยตอการขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นนาจะอํานวยประโยชนและ
สรางความมั่นคงใหแกไทยไดมากที่สุด อยางไรก็ตาม ไทย นาจะยืนยันตามปฏิญญาอาเซียน
วาดวยทะเลจีนใต ซึ่งไดเสนอใหใชหลักการ ของสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเนนการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธีโดยไทยควรยึดหลักการ
สําคัญ 3 ประการ คือ
1. ยืนยันสนับสนุนการแกปญหาโดยสันติวิธี
2. ไมสนับสนุนใหอาเซียนโดดเดี่ยวประเทศใดที่กลาวอางกรรมสิทธิ์
3. ไมแสดงทาทีสนับสนุนการกลาวอางกรรมสิทธิ์ของฝายใดฝายหนึ่ง
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

More Related Content

What's hot

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
Juno Nuttatida
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
Kroo R WaraSri
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
พัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
Kittayaporn Changpan
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
พัน พัน
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
Mind Mmindds
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
panomkon
 

What's hot (20)

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 

Viewers also liked

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาBangon Suyana
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
Witsarut Hongkeaw
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
Nobpakao Kantawong
 
Telepharma Pirsum
Telepharma PirsumTelepharma Pirsum
Telepharma Pirsumguest542dc8
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนthaneerat
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
Chainarong Maharak
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and BenefitsCVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
perreirad
 

Viewers also liked (19)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
กัมพูชา
กัมพูชากัมพูชา
กัมพูชา
 
กัมพูชา
กัมพูชากัมพูชา
กัมพูชา
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
 
Telepharma Pirsum
Telepharma PirsumTelepharma Pirsum
Telepharma Pirsum
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
เมียนม่าร์X
เมียนม่าร์Xเมียนม่าร์X
เมียนม่าร์X
 
CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and BenefitsCVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
 
กัมพูชา
กัมพูชากัมพูชา
กัมพูชา
 

Similar to ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียchanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
G9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress versionG9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress version
Weena Wongwaiwit
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
yah2527
 

Similar to ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ (6)

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 25551078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
 
G9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress versionG9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress version
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 

More from Yaowaluk Chaobanpho

Pol9235 mediation
Pol9235 mediationPol9235 mediation
Pol9235 mediation
Yaowaluk Chaobanpho
 
Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)
Yaowaluk Chaobanpho
 
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
Yaowaluk Chaobanpho
 
Federal class size reduction policy
Federal class size reduction policyFederal class size reduction policy
Federal class size reduction policy
Yaowaluk Chaobanpho
 
The sarit regime
The sarit regimeThe sarit regime
The sarit regime
Yaowaluk Chaobanpho
 
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลกพัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
Yaowaluk Chaobanpho
 
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
Yaowaluk Chaobanpho
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
Energy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทยEnergy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
Yaowaluk Chaobanpho
 
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทยบทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
Yaowaluk Chaobanpho
 
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
Yaowaluk Chaobanpho
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
Yaowaluk Chaobanpho
 
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Yaowaluk Chaobanpho
 
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
Yaowaluk Chaobanpho
 

More from Yaowaluk Chaobanpho (18)

Pol9235 mediation
Pol9235 mediationPol9235 mediation
Pol9235 mediation
 
Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)
 
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
 
Federal class size reduction policy
Federal class size reduction policyFederal class size reduction policy
Federal class size reduction policy
 
The sarit regime
The sarit regimeThe sarit regime
The sarit regime
 
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลกพัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
 
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
Energy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทยEnergy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทย
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
 
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
 
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทยบทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
 
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
 
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
 

ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

  • 1. การเมืองระหวางประเทศในอาเซียน (POL 9221) ความขัดแยงกรณีหมูเกาะสแปรตลีย โดย นายเยาวลักษณ ชาวบานโพธิ์ รหัสประจําตัว 5719860013 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมือง รุนที่ 7 เสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฏิ์ สตะเวทิน
  • 2. บทนําและความเปนมา  การอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย (Spratlys) ซึ่งเปนกลุมของเกาะใน ทะเลจีนใต ตั้งอยูทาง ตอนใตของเกาะไหหลําของจีน อยูนอกชายฝงดานตะวันออก ของเวียดนาม ทางตะวันตกของฟลิปปนสทางตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียและ บรูไน ซึ่งจะเห็นไดวา จุดที่ตั้งของหมูเกาะสแปรตลียอยูในเสนทางเดินเรือที่สําคัญ แหงหนึ่งของโลก อันที่จริงลักษณะทางภูมิศาสตรของหมูเกาะสแปรตลียสวนใหญ เปน เกาะ แกง โขดหิน แนวปะการัง สันทราย ฯลฯ ซึ่งมนุษยไมสามารถอาศัยอยูได  อยางไรก็ตาม หมูเกาะสแปรตลียไดทวีความสําคัญยิ่งขึ้นในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ สอง เมื่อมีประเทศตางๆ ไดแก จีน อังกฤษ ญี่ปุน ใชหมูเกาะนี้เปนที่ ซองสุมกําลัง ทหารและเปนที่จอดเรือรบ อีกทั้งเมื่อมีการเริ่มจัดทําอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
  • 3.  ในปค.ศ. 1973 หมูเกาะสแปรตลียไดรับความสนใจอยางมากอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก อนุสัญญาฉบับนี้นี้มีแนวคิดและไดสรางระบอบทางกฎหมายทะเลขึ้นใหมอีกหลาย เรื่องอันมีผลกระทบตอประเทศในภูมิภาคนี้เปนปญหาหนึ่งที่สงผลกระทบตอความ มั่นคงในทะเลจีนใต ซึ่งปญหานี้อาจเปนจุดวาบไฟ (Flashpoint) ที่ทําใหเกิดการ เผชิญหนาจนถึงขั้นเกิดสงครามทางเรือและลุกลามไปในภูมิภาคทุกขณะ
  • 4.  ปญหาที่เกิดขึ้นในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาการอางกรรมสิทธิ์ โดย จีน ไตหวัน เวียดนาม ซึ่งตางอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะทั้งหมด ในขณะที่ฟลิปปนสอางกรรมสิทธิ์ เหนือดินแดนเกือบทั้งหมดของหมูเกาะสแปรตลียสวน มาเลเซียอางดินแดนบางสวน ของหมูเกาะสแปรตลียวาอยูในเขตไหลทวีปของ ตนเชนเดียวกับบรูไน ปจจุบันจีนได ครอบครองเกาะตางๆ ในหมูเกาะสแปรตลีย 8-9 เกาะ เวียดนามครอบครอง 24 เกาะ ฟลิปปนสครอบครอง 8 เกาะ มาเลเซีย ครอบครอง 3-6 เกาะ
  • 5.  ปญหากรณีพิพาทเหนือหมูเกาะสแปรตลียเกิดมานานเกือบศตวรรษแลว จนบัดนี้ก็ยัง หาทางออกไมได โดยสถานการณความตึงเครียดจะเกิดขึ้นเปน ระยะๆ ดังเชน ในป ค.ศ. 1988 เกิดการปะทะกันระหวางกองทัพเรือของจีนและ เวียดนามบริเวณจอหน สัน เซาธรีฟ (Johnson South Reef) ในหมูเกาะสแปรตลียทําใหทหารเวียดนาม เสียชีวิตมากกวา 70 นาย ในป ค.ศ. 2011  เหตุการณกลับมาตึงเครียดอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเวียดนามกลาวหาวาเรือรบจีนขัดขวางเรือ สํารวจน้ํามันของตนภายในเขต 200 ไมลทะเล อันเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ เวียดนาม จีนตอบโตวาเวียดนามรุกล้ํานานน้ําและคุกคามชาวประมงจีน นํามาซึ่งการ แสดงแสนยานุภาพขมขวัญกัน เริ่มจากเวียดนามซอมรบทางทะเลดวยกระสุนจริง ถัด มาไมกี่วัน จีนประกาศซอมรบในทะเลจีนใตเชนเดียวกัน
  • 6. Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร • ราว 3 ปกอนคริสตกาล เกาะแหงนี้ถูกคนพบ โดยชาวหนันเยวจากทางตอนใตของประเทศ จีนที่เขามาทําประมงในแหลงดังกลาว(ซึ่งจีนใช เปนเหตุผลในการอางสิทธิ) • ชวงศตวรรษที่19ถึงตนศตวรรษที่20นัก เดินทางชาวยุโรป วิลเลียม สแปรตลี่ย ได เดินทางมาคนพบในการสํารวจเสนทางเดินเรือ • ป 1930 ฝรั่งเศสประกาศสิทธิเหนือหมูเกาะ โดย อางในฐานะที่เวียดนามเปนดินแดนอาณานิคม ของตน • จีนขัดคานการประการสิทธิของฝรั่งเศส และยัง สนับสนุนชาวประมงในการเขาสูพื้นที่ ซึ่งทําให เกิดการเผชิญหนากันเกิดขึ้น
  • 7. Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร (ตอ)  ป1931-1945 มีสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้น ญี่ปุนก็ไดเขาครอบหมูเกาะ แหงนี้เพื่อใชเปนฐานเรือดําน้ํา เพื่อเสริมความแข็งแกรงทางทะเลในการเขา รุกเขาสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไดมอบเกาะแหงนี้ใหอยูภายใตการ ดูแลของไตหวัน  หลังจากที่ญี่ปุนพายแพในสงคราม พรรคกกมินตั๋งก็ไดเขาครอบครองหมู เกาะทั้งหมด  ญี่ปุนประกาศสละสิทธิ์ในหมูเกาะที่ตนยึดไดในชวงสงครามทั้งหมด ดวย การลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพซานฟรานซิสโกในป 1951  ป1949พรรคกกมินตั๋ง พายแพตอพรรคคอมมิวนิสตจีน ทําใหตองถอนตัว ออกจากการครอบครอง  หลังจากฝรั่งเศสไดถอนกําลังออกจากเวียดนาม กองทัพเรือเวียดนามก็ได เขาประจําการในเกาะสแปรตลี่ย
  • 8. Spratly Islands  เปนหมูเกาะที่ตั้งอยูในอาณาบริเวณ ทะเลจีนใต  มีอาณาบริเวณทางทะเล 3,500,000 ตารางกิโลเมตร  ประกอบไปดวย แนวปะการัง และหิน โสโครก และเกาะเล็กๆประมาณ 100 เกาะ  เมื่อนําเนื้อที่ที่เปนเกาะเล็กๆมารวมกัน จะมี พื้นที่เพียง 3 ตารางไมลและไม เหมาะแกการตั้งถิ่นที่อยูอาศัย
  • 9. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค ทําไมตอง Spratly  เปนเสนทางผานของเสนทางเดินเรือที่สําคัญในภูมิภาค และมีความสําคัญเปนอันดับ 2 ของโลก  หากรัฐใดสามารถอางกรรมสิทธิ์เหนือ หมูเกาะSpratlyได ก็จะสามารถเขาควบคุม เสนทางการเดินเรือบริเวณทะเลจีนใตไดทั้งหมด  เปนจุดยุทธศาสตรทางทะเลที่สําคัญ ที่สงผลตอ จีน ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลี รวมทั้งเปนจุด ถวงดุลอํานาจระหวางมหาอํานาจตางๆ  ทรัพยากรธรรมชาติ ที่คาดการกันวามีจํานวนมหาศาล ซึ่งจะสามารถตอบสนองตอการ เติบโตทางเศรษฐกิจหรือเพื่อเปน หลักประกันความมั่นคงทางพลังงานในอนาคตของรัฐ ซึ่งในป 1968 มีการขุดพบน้ํามัน โดยกระทรวงทรัพยากรธรณีและแรธาตุของจีน ประเมินวาใตทองทะเลแถบนี้มีน้ํามันและกาซธรรมชาติถึง 17.7 พันลานตัน(คูเวตมี 13 พันลานตัน)ทําใหสแปตรลี่ยเปนแหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติอันดับ 4 ของโลก
  • 10. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) Spratly กับทรัพยากรธรรมชาติที่คุมคาในการแยงชิง  ในปจจุบันคงจะปฏิเสธไมไดวาปจจัยที่สงผลตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ ความเจริญกาวหนาของรัฐนั้น ยอมจะมีปจจัยดานความมั่นคงทางพลังงานเขามา เกี่ยวของดวยเสมอ สงผลใหรัฐตางๆเรงแสวงหาแหลงพลังงานแหงใหมๆ ที่จะสามารถ ตอบสนองตอความตองการของรัฐที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย  รัฐในเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เชนเดียวกัน ซึ่งจากการคาดการณถึง ปริมาณ ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจีนใตที่มีเปนจํานวนมาก ทําใหรัฐตางๆบริเวณโดยรอบ ทะเลจีนใตพยายามที่จะอางกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ทะเลจีนใตจนนําไปสูขอพิพาท ระหวางรัฐเกิดขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติใน Spratly  น้ํามัน  กาซธรรมชาติ
  • 11. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) ภาพแสดงถึงอิทธิพลทางทะเลของ Spratly
  • 13. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) กฎหมายทางทะเล  The Third united Nations Convention on the Law of Sea (UNCLOS 3,1973-1982) คือ การประชุมสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทางทะเลครั้งที่ 3 และมีผลบังคับใชป 1994 ซึ่ง ขอสรุปในการประชุมครั้งนี้มีการพูดถึงในหัวขอ  ทะเลอาณาเขตและเขตตอเนื่อง (Territorial Sea and Contiguous Zone)  ชองแคบระหวางประเทศ (Straits used for International Navigation)  เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone)  ไหลทวีป (Continental Shelf)  ทะเลหลวง (High Seas)  ระบอบของเกาะ (Regime of Islands)  รัฐหมูเกาะ (Archipelagic States)  การวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล (Marine Scientific Research)  การปกปกษและสงวนรักษาไวซึ่งสภาวะแวดลอมทางทะเล
  • 14. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) กฎหมายทางทะเลที่เกี่ยวของกับขอพิพาท Spratly  นานน้ําภายใน (Internal Waters) คือ นานน้ําที่อยูหลังเสนฐานปกติ หรือเสนฐาน ตรง เขามาทางดานผืนแผนดินของรัฐชายฝง  ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) คือ เขตทางทะเลที่อยูถัดจากนานน้ํา ภายในประเทศ ซึ่งสามารถขยายออกไปไดไกลสุดไมเกิน 12 ไมลทะเล ซึ่งรัฐ ชายฝง มีสิทธิครอบครองโดยกฎหมายภายในและใชอํานาจอธิปไตยไดอยางเต็มที่  เขตตอเนื่อง (Contiguous Zone) คือ เขตที่อยูถัดจากทะเลอาณาเขต มีความกวาง ไมเกิน 24 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดทะเลอาณาเขต ในเขตตอเนื่องรัฐ มีอํานาจในการปองกันมิใหมีการฝาฝนกฎหมายวาดวยการ ศุลกากร การเขาเมือง การลงโทษตอการฝาฝนกฎหมาย ซึ่งไดกระทําในดินแดนหรือภายในทะเลอาณา เขตของรัฐชายฝง  สิทธิการผานโดยสุจริต (Right of innocent passage) มาตรา 19(1)
  • 15. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) กฎหมายทางทะเลที่เกี่ยวของกับขอพิพาท Spratly(ตอ)  มาตรา121กําหนดวา บริเวณโขดหิน ที่ไมสามารถตั่งถิ่นที่อยูอาศัยของมนุษย ได จะไมสามารถกําหนดเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะได  เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ, มาตรา55-75) คือ เขตที่มีความกวางไมเกิน 200 ไมลทะเล วัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดความกวางของ ทองทะเลอาณาเขต รัฐชายฝงมีสิทธิแตเพียงผูเดียว อธิปไตยเหนือเขตนี้ในการ สํารวจและแสวงหาผลประโยชน อนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มี ชีวิตและไมมีชีวิต  จากขอกําหนดดังกลาวทําใหหลายๆประเทศพยายามสรางสิ่งปลูกสรางตางๆใน พื้นที่พิพาทเพื่อที่จะใชเปนขออางในการกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไมให ขัดกับมาตรา121
  • 16. เสรีภาพของรัฐอื่นใน EEZ ของรัฐชายฝง รัฐอื่นยังคงมีเสรีภาพในเรื่อง 1. เสรีภาพการเดินเรือ(Freedom of navigation) 2. เสรีภาพการบินผาน(Freedom of overflight) 3. เสรีภาพในการวางสายเคเบิลและทอใตทะเล (Freedom to lay submarine cables and pipelines) 4. เสรีภาพในการวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล(Freedom of scientific research) 5. เสรีภาพในการสรางเกาะเทียมและสิ่งติดตั้งอื่นๆ (Freedom to construct artificial island and other installations)
  • 17. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) สิทธิและหนาที่ของรัฐอื่นใน EEZ ในการใชสิทธิและการปฏิบัติหนาที่ของตนตามอนุสัญญานี้ในเขต EEZ ใหรัฐ อื่น คํานึงถึงสิทธิและหนาที่ของรัฐชายฝงและใหปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่ออก โดยรัฐชายฝง ภาพตัวอยางแสดงถึงขอบเขตนานน้ําไทย สีเขียว คือ นานน้ําภายใน สีเหลือง คือ ทะเลอาณาเขต สีน้ําเงิน คือ เขตตอเนื่อง สีฟา คือ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ บริเวณพื้นที่ทับซอน ไทย-มาเล
  • 18. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) Spratly สูความขัดแยงที่รอวันปะทุ  ความขัดแยงที่กําลังเกิดขึ้น ในบริเวณทะเลจีนใตในขณะนี้นั้น เปนลักษณะของ ความขัดแยงที่เกิดขึ้นในรูปแบบของความขัดแยง ระหวางประเทศอันเปนความ ขัดแยงระหวางรัฐกับรัฐ ที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของผลประโยชนแหงชาติเปนสําคัญ ผลประโยชนแหงชาติ  ในการดําเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆก็ตามของรัฐชาตินั้น ยอมจะใหความสําคัญ กับผลประโยชนแหงรัฐเสมอ และในกรณีของ Spratly เองก็เชนกัน อันเปนผลมา จากการที่รัฐตระหนักแลววา หากรัฐสามารถที่จะเขาถือครองกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ แหงนี้ได รัฐก็จะไดรับผลประโยชน จากทรัพยากรธรรมที่มีอยูอยางมากมายอันจะ สงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ
  • 19. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) เมื่อผลประโยชนแหงชาติขัดกัน  ผลจากการสํารวจที่เกิดขึ้นในบริเวณใตทองทะเลของหมูเกาะ Spratly นั้นทําใหมี การคาดการถึงความอุดมสมบรูณของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู อยางมากมายใน บริเวณดังกลาว ซึ่งสอดคลองและตอบสนองตอนโยบายของรัฐตางๆในการที่จะ แสวงหาแหลงทรัพยากรเพื่อที่จะเปนหลักประกันและเกื้อหนุนตอระบบเศรษฐกิจที่ กําลังขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นในปจจุบัน  ซึ่งสถานการณที่เกิดขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตอรัฐอันเกิดจากเปาหมายในการ แสวงหาผลประโยชนนั้นขัดกัน ทําใหรัฐตางๆพยายามแยงชิงรวมทั้งการอางสิทธิ เขาครอบครอง จนสงผลไปสูความขัดแยงที่กําลังเปนอยูในขณะนี้
  • 22. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) กลุมรัฐคูขัดแยงอันเกิดจากการชวงชิงแหลงผลประโยชนเดียวกัน  ในสนามของการชวงชิงและการอางสิทธิเหนือพื้นที่พิพาทที่กําลังเกิดขึ้น ไดนํารัฐที่ เกี่ยวของเขาสูความขัดแยงอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งมีทั้งรัฐที่อยูในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและรัฐในภูมิภาคที่คาบเกี่ยวกับทะเลจีนใตซึ่งมีสถานะเปนตัว แสดงหลักในความขัดแยงนี้ อีกทั้งยังมีตัวแสดงภายนอกที่พยายามจะเขามามี อิทธิพลในพื้นที่แหงนี้ดวยเชนกัน  กลุมรัฐคูขัดแยงที่เกี่ยวของโดยตรง คือ ประเทศจีน เวียดนาม มาเลเซีย ฟลิปปนส บรูไน ไตหวัน อีกทั้งยังมี อเมริกา ญี่ปุน ที่พยามยามเขามามีสวนรวมในสถานการณ ที่เกิดขึ้น  โดยที่ จีนและเวียดนาม อางสิทธิครอบครองหมูเกาะทั้งหมด ขณะที่ มาเลเซียและ ฟลิปปนส อางเพียงบางสวน รวมทั้งบรูไนซึ่งไมไดอางสิทธิเหนือหมูเกาะใดในพื้นที่ พิพาท แตไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งไดเขาไปทับซอนกับอาณาเขตของการ อางสิทธิของรัฐในขอพิพาทนี้
  • 23. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) การอางสิทธิในความขัดแยงนี้ จีนไดเผยแพรแผนที่ทางการของตน ที่ครอบคลุมพื้นที่เปน บริเวณกวางในทะเลจีนใตซึ่งทําใหแนวหมูเกาะตางๆรวมทั้งเสนทาง เดินเรือทั้งหมดอยูภายใตอธิปไตยของจีน  ซึ่งจีนไดอางหลักฐานทางประวัติศาสตร วาพื้นที่ดังกลาวเคย ปรากฏอยูในแผนที่ของอาณาจักรจีนมาตั้งแต 200 ปกอนคริสตกาล
  • 25. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) จีน กับ การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติ ตั้งแตเริ่มการปฏิรูปและพัฒนาประเทศของจีนนับตั้งแตป ค.ศ.1980 ทําใหชีวิตความ เปนอยูของประชาชนและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนดีขึ้นโดยรวม อีกทั้งยังผลักดันใหจีนกาวขึ้นสูสถานะหนึ่งในมหาอํานาจของโลก แตทวาจีนยังคงตอง เผชิญกับความทาทายรูปแบบใหมที่มาพรอมกับการพัฒนาและความทันสมัย นั่นก็คือการ ขาดแคลน ทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ
  • 26. จากการ ที่จีนตระหนักแลววา แหลงทรัพยากรเดิมที่ตนมีอยูใน ปจจุบัน ก็คือ ถานหินนั้นไมสามารถที่จะขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจจีนไดอีกตอไป ทั้งจะสงผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่ รุนแรง เปนผลใหจีนตองมองหาทรัพยากรใหมที่จะสามารถเขา แทนที่ทรัพยากรเดิม  ทําใหน้ํามันและกาซธรรมชาติกลายเปนพลังงานทางเลือกที่จะ ตอบสนองตอความมั่นคงและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนอยู ในปจจุบัน จีน กับ การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติ (ตอ)
  • 27. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) จากความขาดแคลน สูการเรงแสวงหาและเขาครอบครองแหลงทรัพยากร การที่จีนไมมีแหลงทรัพยากรที่เพียงพอตอการพัฒนาประเทศ ทําใหจีน จําเปนตองนําเขาพลังงานจากตางชาติเพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ อันเปน ผลใหระบบเศรษฐกิจของจีนตองพึ่งพาตางชาติอยางหลีกเหลี่ยงไมได ทําใหบทบาทในการดําเนินการแสวงหาน้ํามันของจีนในปจจุบัน ปรากฏ เปนรูปธรรมในหลายภูมิภาคทั่วโลก โดยผาน ความสัมพันธในระดับกลไกของ รัฐและเอกชน ไมวาจะเปนการแสวงหาการเขาไปลงทุนดานพลังงานใน ตางประเทศ และการปกปองแหลงพลังงานที่ตนมีอยู
  • 28. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)  สงเสริมการดําเนินการของรัฐวิสาหกกิจน้ํามัน ในตางแดน  ใหความสําคัญกับประเด็นความมั่นคงทางพลังงาน  สรางความชอบธรรมใหเกิดขึ้นในเวทีระหวางประเทศ เพื่ออํานวยประโยชน แกการเขาไปดําเนินการของรัฐวิสาหกิจน้ํามัน  ดําเนินการสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร  สรางความเชื่อมั่นวาน้ํามันจะถูกลําเลียงสูจีนอยางปลอดภัย
  • 29. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต เพื่อความมั่นคงของเสนทางลําเลียงน้ํามันทางทะเล เนื่องจากหาก เกิดเหตุสุดวิสัยหรืออุปสรรคใดๆตอเสนทางลําเลียงน้ํามันเหลานั้น ยอมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงดานพลังงานของจีนได เพื่อเขาครอบครองแหลงทรัพยากร อันจะนําไปสูความมันคงทาง พลังงาน เพื่อถวงดุลอิทธิพลของประเทศมหาอํานาจที่พยายามเขามามี อิทธิพลในภูมิภาคนี้
  • 30. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท ฟลิปปนสไดประกาศ EEZ ของตนและเริ่มเขาทําการสํารวจและ ผลิตกาซธรรมชาติในพื้นที่พิพาท ที่จีนอาง กรรมสิทธิ์ มาเลเซียไดประกาศ EEZ ของตนโดยอางอิงจากอาณาเขตชายฝง ของหมูเกาะซาราวัค ซึ่ง EEZ ของมาเลที่วานี้ก็อยูใน อาณาเขต นานน้ําที่จีนอาง กรรมสิทธิ์ เวียดนาม อางกรรมสิทธิ์ เหนือแหลงน้ํามันในพื้นที่นอกชายฝงของ เวียดนาม ซึ่งครอบคลุมแหลง พลังงานนอกชายฝงของจีน
  • 32. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท ในชวงเวลาของการพิพาทและความขัดแยงที่ผานมา มีการปะทะ ประปรายของกองกําลังทหารหนวยยอยๆระหวางกองเรือ ลาดตระเวน ซึ่งจํากัดความรุนแรงและไมไดนําไปสูการเกิดสงคราม ป 1974 จีนบุกเขายึดครองหมูเกาะพาราเซลจากเวียดนาม ป 1988 เกิดการปะทะระหวางกองเรือจีนและกองเรือเวียดนาม สงผลใหเรือของเวียดนาม จมไปหลายลําและทําใหลูกเรือกวา 70 นายเสียชีวิต จีนไดเริ่มคุกคามบริษัทน้ํามันตะวันตก และ ปโตรเวียดนาม ใน ระหวางการเขาสํารวจแหลงทัพยากรในพื้นที่พิพาท
  • 33. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท แนวโนมการจัดซื้ออาวุธและเสริมสรางความมั่นคงทาง ทหารในภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น กองทัพอากาศมาเลเซีย ใหเหตุผลในการจัดหาเครื่องรบ SU-30 MKM วา เปนการรับมือกับความทาทายใหม ในการ ยุทธทางทะเล
  • 34. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท  จีนไดประกาศหามเรือประมงของประเทศอื่น เขาไปจับปลาใน เขตหมูเกาะสแปรตลี่ย ที่จีนอางกรรมสิทธิ์ และไดมีการจับกุม ชาวประมงของประเทศเพื่อนบานอยูหลายครั้ง  จีนไดเสริมกองกําลังทางทะเลเขาสูทะเลจีนใต และในเดือน มีนาคม ป 2010 เรือรบของจีนไดมีการเผชิญหนากับเรือรบของ สหรัฐในนานน้ําทะเลจีนใต  จีนไดจัดการซอมรบขึ้น กับ รัสเซีย ในรูปแบบของการรบ ทางอากาศ ทางบก ทางทะเล ซึ่งเปนการแสดงความพรอมใน การรบหากเกิดสถานการณที่ไมคาดฝนขึ้น
  • 35. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท  ฟลิปปนส จีน เวียดนาน ไดเขาไปตั้งปอมปราการทางทหาร บริเวณเกาะเล็กเกาะนอยตางๆ เพื่อคุมกันแทนขุดเจาะของตน  เวียดนามและฟลิปปนสไดจัดการซอมรบทางทะเล ดวย กระสุนจริงและมีการซอม ปลอยขีปนาวุธตอตานเรือรบชนิด ตางๆ  ไตหวันเรงเสริมสรางกองกําลังทางทะเลของตนใหแข็งแกรง ขึ้นเพื่อรับมือกับความรุนแรงที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต
  • 36. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท  จีนเตรียมกองเรือเฉพาะกิจไวที่ฐานทัพเรือบนเกาะไหหลํา ซึ่ง อยูหางจาก สแปรตลี่ย 1000 กิโลเมตร กองเรือดังกลาวพรอม เคลื่อนยายทันทีหากมีความรุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที่  จีนแสดงทาทีไมพอใจ ตอกรณีที่ 5 สมาชิกสภาผูแทน ของ ฟลิปปนสเดินทางไปยังหมูเกาะสแปรตลี่ย โดยที่จีนอางวาเปน การกระทําที่ยั่วยุตออํานาจอธิปไตยของจีน  ฟลิปปนสแสดงความไมพอใจตอการอางกรรมสิทธิ์ของ ทางการจีน จนนําไปสูความคิดที่จะเปลี่ยนชื่อทะเลจีนใต ไป เปนทะเลฟลิปปนส
  • 37. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) อาคารที่ทางการจีนสรางไวในพื้นที่พิพาท เพื่อใชเปนปอมปราการทางทหาร
  • 38. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) เรือปลอยขีปนาวุธตอสูเรือรบ ของกองทัพเรือ เวียดนาน ขณะเตรียมตัวกอน ออกลาดตระเวนในทะเลจีนใต
  • 39. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) เรือรบเวียดนามทําการซอมยิงขีปนาวุธ ตอตาน อากาศยาน เรือผิวน้ํา และตอสู ชายฝง
  • 40. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) เรือตรวจการณขีปนาวุธ กองทัพเรือเวียดนามขณะลาดตระเวนในบริเวณทะเลจีนใต
  • 41. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) กองเรือขีปนาวุธ เวียดนามแลนออกจากทา เพื่อเขาสูสถานการณรบดวยกระสุนจริง
  • 42. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) ไตหวัน นํารถถังเขาประจําการบนเกาะในพื้นที่พิพาท
  • 44. ประเด็นเพื่อผลประโยชนแหงชาติ อันนําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต แนวโนมความรุนแรงที่เกิดจากการพิพาท  จากสถานการณความรุนแรงที่เกิดขึ้น หากมองในมุมของอํานาจ ทางการทหารนั้น เห็นไดชัดวาคงไมมีประเทศใดในความขัดแยงนี้ที่ จะมีแสนยานุภาพทางการทหารที่เหนือกวาจีนไปได และจีนเองก็ ตระหนักในความเหนือกวาของตนดี ซึ่งทําใหจีนตองแสดงทาทีทางทหารใหอยูในกรอบที่เหมาะสมและ ควบคูไปกับการดําเนินการทางการทูตเพราะหากสถานการณใน พื้นที่ขยายวงกวางออกไป ยอมจะสงผลตอภาพลักษณของการเปน มหาอํานาจในเอเชียของจีน และอาจจะเปนเหตุผลใหมหาอํานาจอื่น เขามาแทรกแซงสถานการณที่เกิดขึ้น
  • 45. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) สหรัฐอเมริกาตอกรณีความขัดแยงในทะเลจีนใต  ดวยความที่พื้นที่บริเวณทะเลจีนใต เปนจุดยุทธศาสตรที่มีความสําคัญ ตอการถวงดุล อํานาจระหวางประเทศและมีความสําคัญตอความเจริญกาวหนาของจีน ซึ่งสถานการณ ความขัดแยงที่เกิดขึ้ง ไดสรางความชอบธรรมในการที่อเมริกาจะเขาไปมีบทบาทใน พื้นที่ เนื่องจากเปนที่ทราบกันดีวา ยุทธศาสตรใหญของสหรัฐในภูมิภาคนี้ คือ การปด ลอมจีน อีกทั้งยังไดรับการรองขอจากชาติที่เกี่ยวของใน ความขัดแยงนี้โดยตรง ไมวา จะเปน เวียดนาม และ ฟลิปปนส ทาทีของอเมริกาในความขัดแยงนี้  อเมริกาไดกระชับความสัมพันธทางทหารกับเวียดนาม  อเมริกาจัดการซอมรบรวมกับ ฟลิปปนส และ เวียดนาม  สถานการณความขัดแยงที่เกิดขึ้นนี้ สหรัฐเองถึงแมวาจะเปนมหาอํานาจทางทหารแต จะใหเปดฉากสงครามก็คงจะไมเปนผลดีตอทั้งอเมริกา และจีน ดังนั้นสถานการณที่ เกิดขึ้น ก็นาจะเปนไปในรูปของการ แสดงทาทีทางการทูตเสียมากกวา
  • 46. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) แผนที่ ที่แสดงอาณา เขตรับผิดชอบทาง ทหารของอเมริกาที่มี อยูทั่วทุกมุมโลก ซึ่ง แสดงใหเห็นถึงความ ทะเยอทะยาน ในการที่ จะเปนเจามหาอํานาจ ของสหรัฐอเมริกา
  • 47. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ) ความขัดแยงกับการแสวงหาทางออก  สถานการณความขัดแยงที่เกิดขึ้น สงผลโดยตรงตอเสถียรภาพและความมั่นคงของ ภูมิภาค ทําใหประชาคมระหวางตองเรงแสวงหาทางออกจากความขัดแยงนี้รวมกัน เพื่อที่จะปองกัน เหตุบานปลายที่อาจสงผลใหเกิดความรุนแรง และเปนความทาทาย ใหมขององคกรระหวางประเทศในพื้นที่วาจะสามารถแสดงความสามารถในการ แกไข ความขัดแยงนี้ไดดีเพียงใด การแกไขปญหาที่เกิดขึ้น  การริเริ่มใชแนวทางการทูต และขอตกลงความรวมมือตางๆเพื่อแกปญหาในทะเลจีน ใต โดยการเจรจาผานเวทีประชุมของกลุมความรวมมือประชาติแหงเอเชียตะวันออก เฉียงใต  ที่ประชุมอาเซียน ในป 2539 ไดมีมติในการออกระเบียบปฏิบัติในทะเลจีนใต (Code of Conduct)
  • 48. บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย  บทบาทของอาเซียนในหมูเกาะสแปรตลียสามารถพิจารณาไดจากการที่ประชุมระดับ รัฐมนตรีตางประเทศของอาเซียนที่ฟลิปปนสเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1992 ไดออก ปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใต (ASEAN Declaration on the South China Sea) กําหนด แนวทางในการแก ปญหาขัดแยงโดยสันติวิธี จีนซึ่งเขารวมในการประชุมไดลงนามในการ รับรอง ดวยอยางไรก็ตามแมมีปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใตแลว รัฐที่กลาวอาง สิทธิ์ก็ ยังตอสูชวงชิงเพื่อใหตนไดมาซึ่งลักษณะทางภูมิศาสตรในบริเวณหมูเกาะสแปรตลียที่ยัง ไมมีรัฐใดเขาไปครอบครองซึ่งความตึงเครียดนี้ขึ้นสูจุดสูงสุด  ในป ค.ศ. 1995 หลังจากจีนเขาไปครอบครอง Mischief Reef ซึ่งฟลิปปนสอางสิทธิ์วาเปน ของตนและตั้งอยูนอกชายฝงของเกาะ Palawan เพียง 100 ไมลการเขาครอบครอง Mischief Reef ของจีน กอใหเกิดความตึงเครียดอยางรุนแรงระหวางอาเซียนกับจีนดวยเหตุ นี้จึงมีความพยายามที่จะจัดทําความตกลงเกี่ยวกับแนวปฏิบัติของรัฐผูเปนฝายในกรณี พิพาท ซึ่งไดแก ปฏิญญา อาเซียนจีนวาดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทใน ทะเลจีนใต (2002 ASEAN-China Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea)
  • 49. บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย  ซึ่งไดรับการยอมรับโดยรัฐมนตรีตางประเทศ ของอาเซียนและจีนในคราวประชุมสุดยอด อาเซียน (ASEAN Summit) ที่ กรุงพนมเปญ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 ปฏิญญาอาเซียน-จีนวา ดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทในทะเลจีนใตกําหนด วา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทยืนยันวาจะเคารพและใหคํามั่นสัญญาวาจะปฏิบัติตามหลัก เสรีภาพในการเดินเรือและการบินผานในทะเลจีนใตตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่ ไดรับการยอมรับระดับสากลซึ่งรวมถึงอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และยืนยันวาการรับเอาแนวปฏิบัติ (Code of Con­duct) ในทะเลจีน ใตจะเปนการสงเสริมสันติภาพและความมั่นคง (Peace and Stability)  ในภูมิภาคและตกลงวาจะดําเนินการในเรื่องนี้ใหสําเร็จลุลวงตาม วัตถุประสงคบน พื้นฐานของหลักฉันทามติ (Consensus) นอกจากนี้ปฏิญญาฯ ยังกําหนดใหรัฐผูเปน ฝายที่เกี่ยวของในกรณีพิพาทพรอมที่จะดําเนินการใหมีการปรึกษาหารือและการเจรจาใน ประเด็นปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับขอพิพาทนั้นตาม วิธีการที่ไดตกลงกันและโดยประการ สําคัญปฏิญญาฯ นี้ไดระบุวา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทรับวาตนจะเคารพและกระทําการ ตามบทบัญญัติของปฏิญญาฯ
  • 50. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)  Code of Conduct  เปนกระบวนการแสวงหาทางออก โดยผานกระบวนการในการตกลงรวมกัน ในการ ที่จะสรางความสันติใหเกิดขึ้นในพื้นที่ รวมทั้งทําใหเกิดความชัดเจนในการ ดําเนินการดานตางๆ เชน การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร การปราบปรามโจรสลัด และขบวนการคายาเสพติด โดยไมกอใหเกิดความขัดแยงในดานอธิปไตย  ป ค.ศ. 1999 ไดมีการผลักดันใหมีการกําหนดระเบียบปฏิบัติในการแกไขปญหาขอ พิพาท โดย เวียดนามและฟลิปปนส ซึ่งเห็นวาควรใหจีนเขามามีสวนในขอตกลงนี้  จีนไดเริ่มเปดการเจรจากับกลุมอาเซียนเกี่ยวกับ ระเบียบปฏิบัติ ซึ่งจะใชกําหนดการ ปฏิบัติ ของผูอางสิทธิทั้งหลาย ซึ่งจีนมีความคิดเห็นไมตรงกับหลายๆประเทศใน เรื่องที่วา “ภาคีอาเซียนตองการผลักดันใหเกิดพันธะผูกพันที่ชัดเจน ในขณะที่จีน ตองการพันธะผูกพันแบบกวางๆเพื่อยับยั้งการกระทําที่อาจจะ ทําใหสถานการณ ยุงยากมากขึ้น”
  • 51. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ) ทาทีของสหรัฐในการแกไขความขัดแยง  ในการประชุม ARF ที่ผานมานั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศของสหรัฐ Hillary Clinton ไดประกาศทาทีที่ตอความขัดแยง ที่เกิดขึ้น  สหรัฐถือวาเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญและจะเขามามีบทบาทในการแกไข ปญหาและไมเห็นดวยกับการใชกําลังในการแกไขปญหา  สหรัฐสนับสนุนใหมีการเจรจาแบบพหุภาคี  สหรัฐใชยุทธศาสตรความมั่นคงรวม ในภูมิภาคเพื่อจะใชเปนหลักประกัน เสถียรภาพและความมั่นคงของสหรัฐในวามขัดแยงที่เกิดขึ้นผานทาง ขอตกลงตางๆ
  • 52. Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)  ตราบใดที่ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ยังคงเปนความตองการเรงดวนของทุกรัฐ ในปจจุบันนี้แลว ปจจัยดานพลังงานก็จะเปนตัวหนุนและรองรับความเจริญเติบโตที่ เกิดขึ้น ไมวาจะเปนไปในรูปของการแสวงหาพลังงานเขาสูรัฐ หรือแมกระทั่ง การคา ขายทรัพยากรพลังงาน ที่ไดจากแหลงทรัพยากรพลังงานของรัฐ และดวย ผลประโยชนที่เกิดขึ้นอยางมากมายนี้เอง ที่นําไปสูความขัดแยงที่นับวันจะทวีความ รุนแรงขึ้นตราบใดที่ยังไมสามารถหาขอยุติในการอางสิทธิที่คาบเกี่ยวกันได  การจัดตั้งกระบวนการเจรจาไกลเกลี่ยโดยสันติวิธี และจัดทํา ระเบียบปฏิบัติ ที่ ยอมรับรวมกัน จึงจําเปนตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อเปนหลักประกัน ตอความ มั่นคงและความสงบสุขของภูมิภาค
  • 53. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทย  สําหรับประเทศไทย ปญหาการแยงชิงกรรมสิทธิ์ในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาที่มี ความสําคัญอยางยิ่งเนื่องจากหากมีการสูรบกันเกิดขึ้นประเทศไทยอาจไดรับผลกระทบทั้ง ในดานภูมิศาสตรเศรษฐกิจและการเมือง กลาวคือ ประเทศไทยมีพื้นที่ติดทะเลอยู 2 ดาน คืออาวไทยและทะเลอันดามัน โดยเฉพาะอาวไทยเปนอาวที่ล้ําเขามาในแผนดินและมีรัฐ ชายฝงอื่นๆ ลอมรอบทําใหเสนทางคมนาคมถูกปดลอมโดยที่ตั้งทางภูมิศาสตรหากมีการสู รบกันเกิดขึ้นในทะเลจีนใต นอกจากนี้ทะเลจีนใตยังเปนพื้นที่สําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ ของไทยโดยเปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญในการขนสงสินคาทางทะเล พาณิชยนาวี  เหตุการณรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตจะทําใหไทยถูกดึงเขาไปเกี่ยวของ อยางหลีกเลี่ยง ไมไดในระดับใดระดับหนึ่งและอาจเกิดผลกระทบตอความสัมพันธทางดานการเมือง ระหวางประเทศ เพราะประเทศที่อางกรรมสิทธิ์เปนสมาชิกของอาเซียนถึง 4 ประเทศ หากเกิดเหตุการณรุนแรงขึ้นยอมสงผลกระทบตอการปองกันประเทศและผลประโยชนทาง เศรษฐกิจของไทย สมควรที่จะมีการพิจารณากําหนดทาทีของไทยตอปญหาและผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากความขัดแยงในบริเวณ ดังกลาวเพื่อใหสามารถรักษาผลประโยชนของชาติ ไดอยางเหมาะสม
  • 54. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทย  นอกจากนี้ปญหาหมูเกาะสแปรตลียมีความสําคัญตอไทยในแงที่เปนเขตกองเรือประมงน้ํา ลึกของไทยอาจไปรวมทําการประมงโดยขอตกลงรวมกับประเทศที่อางกรรมสิทธิ์ตางๆ ได และประเทศไทยจําเปนตองอาศัยเสนทางคมนาคมผานดินแดนทะเลจีนใตนี้ ความมั่นคง ปลอดภัยของเสนทางเดินเรือจึงมีความสําคัญและประการสุดทาย ถามีการแกปญหาโดยการ ใชกําลัง ประเทศไทย ก็จะไดรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได  ดังนั้น การวางตัวเปนกลางของไทยตอการขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นนาจะอํานวยประโยชนและ สรางความมั่นคงใหแกไทยไดมากที่สุด อยางไรก็ตาม ไทย นาจะยืนยันตามปฏิญญาอาเซียน วาดวยทะเลจีนใต ซึ่งไดเสนอใหใชหลักการ ของสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเนนการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธีโดยไทยควรยึดหลักการ สําคัญ 3 ประการ คือ 1. ยืนยันสนับสนุนการแกปญหาโดยสันติวิธี 2. ไมสนับสนุนใหอาเซียนโดดเดี่ยวประเทศใดที่กลาวอางกรรมสิทธิ์ 3. ไมแสดงทาทีสนับสนุนการกลาวอางกรรมสิทธิ์ของฝายใดฝายหนึ่ง