SlideShare a Scribd company logo
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ความหมาย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่ องรอยของสิ่ งที่
มนุษย์ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ รวมทั้งร่ องรอยของพฤติกรรมที่
เกิดขึ้นในอดีต และเหลือตกค้างมาถึงปัจจุบน ซึ่งสามารถใช้
ั
เป็ นเครื่ องนาทางในการศึกษา สื บค้น แสวงหาข้อเท็จจริ ง
เกี่ยวกับเรื่ องราวในอดีตของมนุษย์ได้ในระดับหนึ่ง
แบ่ งตามยุคสมัย
1. หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์
2. หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์

คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยงไม่มีการบันทึกเป็ นอักษร
ั
แต่เป็ นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่ งมีชีวิตต่างๆ เครื่ องมือ
เครื่ องใช้ เครื่ องประดับ ร่ องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน
ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของมนุษย์
ก่อนประวัติศาสตร์ ในลักษณะของการบอกเล่าต่อๆกันมา เป็ น
นิทานหรื อตานานซึ่งเราเรี ยกว่า “มุขปาฐะ”
หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์

คือ หลักฐานสมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตวอักษร และ
ั
บันทึกในวัสดุต่างๆ มีร่องรอยที่แน่นอนเกี่ยวกับสังคมเมือง มี
การรู้จกใช้เหล็ก และโลหะอื่นๆ มาเป็ นเครื่ องมือใช้สอยที่
ั
ปราณี ต มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรู ปเคารพใน
ศาสนาอย่างชัดเจน
แบ่ งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก
ได้แก่
1. หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกษร
ั
2. หลักฐานที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกษร
ั
หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อกษร
ั
ได้แก่ จารึ ก บันทึก จดหมายเหตุร่วมสมัย
ตานาน พงศาวดาร วรรณกรรมต่างๆ บันทึกความทรงจา
เอกสารราชการ หนังสื อพิมพ์ กฎหมาย งานวิจย
ั
งานพิมพ์ทางประวัติศาสตร์ เป็ นต้น
( ผนังถ้ าที่เป็ นรู ปวาดแต่สามารถแปลความหมายได้ จะถือว่า
เป็ นหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกษร เช่น ผนังของสุ สาน
ั
ฟาโรห์ )
หลักฐานที่ไม่ เป็ นลายลักษณ์ อกษร
ั
ได้แก่ หลักฐานจากการบอกเล่ า ที่เรี ยกว่า “มุขปาฐะ” หลัก
ฐานด้านภาษา เกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาพูด
หลักฐานทางศิลปกรรม ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์

หลักฐานประเภทโสตทัศน์ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพสไสด์ แผนที่
โปสเตอร์ แถบบันทึกเสี ยง แผ่นเสี ยง
ภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณี ยากร
หลักฐานทางมานุษยวิทยาและสั งคมวิทยา เช่น ขนบธรรมเนียม
ประเพณี คติความเชื่อ วิถีชีวตของกลุ่มชนต่างๆ ฯลฯ
ิ
( กาแพงเมือง เมืองโบราณ โครงกระดูก
นับว่าเป็ นหลักฐานที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกษร)
ั
แบ่ งตามลาดับความสาคัญ
• หลักฐานชั้นต้นหรื อหลักฐานปฐมภูมิ
• หลักฐานชั้นรองหรื อหลักฐานทุติยภูมิ
หลักฐานชั้นต้ นหรือหลักฐานปฐมภูมิ
เป็ นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริ งๆ โดยมี
การบันทึกของผูที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรื อผูที่รู้เหตุการณ์
้
้
นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานชั้นต้น จึงเป็ นหลักฐานที่มี
ความสาคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด
เช่น จดมายเหตุ คาสัมภาษณ์ เอกสารทางราชการ
บันทึกความทรงจา กฎหมาย หนังสื อพิมพ์ ภาพยนตร์
สไลด์ วีดิทศน์ แถบบันทึกเสี ยง โบราณสถาน
ั
แหล่งโบราณคดี โบราณวัตถุ
หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุตยภูมิ
ิ
เป็ นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับเหตุการณ์น้ นโดยตรง โดยมีการเรี ยบเรี ยงขึ้นภายหลังจากเกิด
ั
่
เหตุการณ์น้ นๆ ส่ วนใหญ่อยูในรู ปของบทความทางวิชาการและ
ั
หนังสื อต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตานาน บันทึกคาบอกเล่า ผลงาน
ทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ
สาหรับหลักฐานชั้นรองนั้นมีขอดี คือ มีความสะดวกและง่าย
้
่
ในการศึกษาทาความเข้าใจ เนื่องจากเป็ นข้อมูลได้ผานการศึกษา
ค้นคว้า ตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์เหตุการณ์และอธิบายไว้
อย่างเป็ นระบบโดยนักประวัติศาสตร์ มาแล้ว
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ในภูมภาคต่ างๆของโลก
ิ
ซึ่งสามารถแบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกตามยุคสมัย ได้แก่

1. หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยกลาง
3. หลักฐานประวัติศาสตร์ในสมัยใหม่และสมัยปัจจุบน
ั
หลักฐานประวัติศาสตร์ สมัยโบราณ
เป็ นสมัยเริ่ มต้นอารยธรรมของมนุษย์ในภูมิภาคต่างๆ
ในแต่ละภูมิภาคต่างๆของโลก ได้แก่
หลักฐานประวัติศาสตร์ จีนสมัยโบราณ

เริ่ มตั้งแต่ 1. หลักฐานลายลักษณ์ อกษรในสมัยราชวงศ์ ชาง
ั
ปรากฎเป็ นอักษรภาพจารึ กตามกระดองเต่า กระดูกสัตว์ และ
ภาชนะสาริ ดที่ใช้ในพิธีกรรมต่างๆ
ผูจารึ กมักเป็ นกษัตริ ยและนักบวช โดยมีวตถุประสงค์เพื่อ
้
์
ั
กระทาพิธีเสี่ ยงทายเกี่ยวกับสภาวะของบ้านเมืองในขณะนั้น
เช่น สภาวะการเพาะปลูก สภาวะทางธรรมชาติ การเมืองและ
การสงคราม
2. สื่ อจีหรือบันทึกของนักประวัติศาสตร์ เขียนโดยสื่ อหม่าเฉี ยน
้
โดยมีวตถุประสงค์ในการบันทึกงานประวัติศาสตร์ของจีน คือ
ั
การศึกษาพฤติกรรมของผูนาจีนกับปรากฎการณ์ธรรมชาติเพื่อ
้
ศึกษาเป็ นบทเรี ยน ของชนชั้นปกครอง
3. สุ สานจักรพรรดิฉินซื่อหวงตี้ หลักฐานที่คนพบ คือ รู ปทหาร
้
ดินเผาจานวนมากกว่า 6,000 รู ป รู ปม้าศึก รถศึก จัดระบบทหาร
ตามแบบกองทัพสมัยราชวงศ์ฉิน รู ปปั้ นทหารที่คนพบจะมี
้
ลักษณะหน้าตาที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละคน เครื่ องแต่งกายมี
ลักษณะเหมือนจริ งและมีการเขียนด้วยสี
หลักฐานประวัตศาสตร์ ญปุ่นสมัยโบราณ
ิ
ี่

จะมีหลักฐานโบราณคดีสมัยโจมอน หลักฐานโบราณคดีสมัยยาโยย
หลักฐานทางโบราณคดีสมัยหลุมฝังศพ

แจกันสมัย
โจมอน
หลักฐานสมัยยาโยย

กระจกทาด้ วยทองเหลือง
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ อนเดีย
ิ
มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณ คือ เมืองโบราณโมเฮนโจ
ดาโรและฮารัปปา คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ศิลาจารึ กของ
พระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตะวันตกสมัยโบราณ

มีปรากฎในรู ปแบบของตัวอักษรของ อักษรคูนิฟอร์มของ
เมโสโปเตเมีย อักษรเฮียโรกลิฟิกของอารยธรรมอียปต์
ิ
อักษรกรี กและอักษรโรมัน เช่น ประมวลกฏหมายฮัมมูราบี
บันทึกกระดาษปาปิ รุ ส งานประวัติศาสตร์ของกรี ก – โรมัน
อักษรคูนิฟอร์ ม
อักษรเฮียโรกลิฟิก
ประมวลกฏหมายฮัมมูราบี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยกลาง
หลักฐานจีนสมัยกลาง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญ
ได้แก่ งานบันทึกประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ หลักฐานแหล่ง
โบราณคดีถ้ าพุทธศิลป์ ในสมัยราชวงศ์ฮนตะวันออก
ั่
ซึ่งพระพุทธศาสนาได้เผยแพร่ เข้ามาในประเทศจีน
โดยผ่านเส้นทางสายไหมในเอเชียกลาง
หลักฐานประวัตศาสตร์ ญปุ่นสมัยกลาง
ิ
ี่

ในช่วงนี้ญี่ปุ่นได้รับเอาวัฒนธรรมจีนและพระพุทธศาสนาเข้ามา
ปรับปรุ งประเทศ หลักฐานที่สาคัญในช่วงสมัยต่างๆได้แก่
โคจิกิ คือการบันทึกเรื่ องราวของสิ่ งโบราณ นิฮงโชกิ เป็ นต้น
นิฮงโชกิ
หลักฐานประวัติศาสตร์ อนเดียสมัยกลาง
ิ
ได้แก่ ประวัติของชาห์ ฟี รุ ส งานวรรณกรรมของอะมีร์ คุสเรา

Amir Khusrau
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ตะวันตกสมัยกลาง
ได้แก่ มหากาพย์ บทเพลงของโรลองด์ ทะเบียนราษฎร์
หนังสื อแห่งกาลเวลา เป็ นต้น
Chanson de Roland
ทะเบียนราษฏร์ (Domesday Book)
หนังสื อแห่ งกาลเวลา
(Tres riches heures
du Duc de Berry)
หลักฐานประวัตศาสตร์ ในสมัยใหม่ และสมัยปัจจุบัน
ิ
หลักฐานประวัติศาสตร์ จีน
สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบน
ั

เริ่ มขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิงจนถึงปั จจุบน ได้แก่
ั
- งานวรรณกรรมของหลู่ซุ่น
- เอกสารแถลงการณ์ร่วมประชุมระหว่างประมุขแห่งผูนารัฐบาล
้
อาเซียนกับ ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ กรุ ง
กัวลาลัมเปอร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ของ
ญีปุ่นสมัยใหม่
่
และสมัยปัจจุบน
ั
เริ่ มตั้งแต่ สมัยโตกุกาวา
จนถึงปัจจุบน หลักฐานที่
ั
ปรากฎคือ ประวัติศาสตร์
ญี่ปุ่น รัฐธรรมนูญฉบับ
ค.ศ. 1947
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ อนเดีย
ิ
สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบน
ั
เริ่ มต้นด้วยการที่พวกโมกุลสถาปนาราชวงศ์โมกุลจนถึง
สมัยอังกฤษปกครองอินเดีย และได้รับเอกราชจนถึงปัจจุบน
ั
หลักฐานที่สาคัญได้แก่ ประวัติของอักบาร์ พระราชโองการของ
พระราชินีวิกตอเรี ย
ประวัตอกบาร์
ิั
พระราชโองการของพระราชินีวกตอเรีย
ิ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตะวันตก
สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบน
ั
หลักฐานที่ปรากฎได้แก่ คาประกาศสิ ทธิมนุษยชนและพลเมือง
สนธิสญญาแวร์ซาย เป็ นต้น
ั
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทย
การแบ่ งช่ วงเวลาทางประวัติศาสตร์ ตามแบบไทย
นักประวัติศาสตร์ไทยไม่นิยมแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
ในสมัยโบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่ เหมือนที่ทาในประเทศ
ตะวันตก แต่จะมีลกษณะเป็ นรู ปแบบของตนเอง ดังนี้
ั
แบ่ งตามสมัย (หรือตามเวลาที่เริ่มใช้ ตัวอักษร )
แบ่งได้ 2 สมัย ดังนี้

1. สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ หมายถึง
ยุคหิ น (ยุคหิ นเก่า หิ นกลาง และหิ นใหม่)
และยุคโลหะ (ยุคสาริ ด และเหล็ก)
มีอายุประมาณ 700,000 - 1,400 ปี มาแล้ว
ในสมัยนี้ยงไม่มีตวอักษรใช้
ั
ั
2. สมัยประวัติศาสตร์ เป็ นสมัยที่ผคนเริ่ มใช้ตวอักษรบันทึก
ู้
ั
เรื่ องราวเหตุการณ์ต่างๆ สาหรับดินแดนประเทศไทยเริ่ มเข้าสู่
สมัยประวัติศาสตร์ เมื่อตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 12
จากหลักฐานทางโบราณคดีที่คนพบ คือ
้
ศิลาจารึ กที่ปราสาทเขาน้อย จังหวัดสระแก้ว ทาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1180
สมัยตามราชธานี

เป็ นการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามราชธานีของไทย
เรี ยงตามลาดับ ได้แก่ สมัยสุ โขทัย, สมัยอยุธยา, สมัย
ธนบุรี และสมัยรัตนโกสิ นทร์
แบ่ งตามสมัยพระราชวงศ์

เป็ นการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามพระราชวงศ์ เช่น
สมัยราชวงศ์อ่ทอง, สมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ, สมัยราชวงศ์สุโขทัย,
ู
สมัยราชวงศ์ปราสาททอง และสมัยราชวงศ์บานพลูหลวง เป็ นต้น
้
ทั้งหมดนี้เป็ นชื่อพระราชวงศ์
ที่ครองราชสมบัติเป็ นกษัตริ ยในสมัยอยุธยา
์
แบ่ งยุคสมัยตามรัชกาล
เป็ นการแบ่งยุคสมัยในช่วงเวลาที่พระมหากษัตริ ยพระองค์
์
นั้นทรงครองราชย์อยู่ เช่น รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
่ ั
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว เป็ นต้น
แบ่ งยุคสมัยตามระบอบการเมืองการปกครอง

ได้แก่ สมัยสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ และสมัยประชาธิปไตย
โดยถือตามเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็ นเส้นแบ่งยุคสมัย
ดังกล่าว โดย “ คณะราษฎร” ใช้กาลังทหารเข้ายืดอานาจและ
เปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์เข้าสู่
ประชาธิปไตย
แบ่ งยุคสมัยตามรัฐบาลบริหารประเทศ
เช่น สมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
สมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร เป็ นต้น
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ทีใช้ ศึกษาประวัติศาสตร์ ไทย
่
จารึก
เป็ นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อกษรที่เก่าแก่ที่สุดของไทย
ั
มีความคงทนถาวร เพราะทาด้วยวัสดุอย่างแท่งหิ น
แผ่นเงิน แผ่นทองคา หรื อทองแดง
และไม่ถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความได้ง่ายๆ
ในประเทศไทยพบจารึ กเป็ นจานวนมาก เช่น ศิลาจารึ ก
ฐานพระพุทธรู ป ปูชนียสถานต่างๆ ซึ่งจารึ กด้วยอักษรและภาษา
ต่างๆ เช่น เขมร มอญ อินเดียใต้ และไทย บางจารึ กเป็ นของ
่
อาณาจักรที่มีอิทธิพลอยูในดินแดนไทย เช่น อาณาจักรทวารวดี
ศรี วิชย ลพบุรี สุ โขทัย ล้านนา อยุธยา บางจารึ กไม่มีหลักฐานแน่
ั
่
ชัดว่าอยูที่ใด เช่น จารึ ก “ศรี จนาศะ” เป็ นต้น
จดหมายเหตุชาวต่ างชาติ
เนื่องจากดินแดนไทยเป็ นเส้นทางการค้ามาตั้งแต่สมัยโบราณ
ทาให้มีเอกสารต่างชาติบนทึกเรื่ องราวของดินแดนไทยไว้ เช่น
ั
วรรณคดีอินเดียที่เรี ยกว่า “คัมภีร์นิเทสะ และมิลินทปัญหา”
ในราวพุทธศตวรรษที่ 6 นับเป็ นเอกสารต่างชาติที่เก่าที่สุด
ในพุทธศตวรรษที่ 8 มีนกภูมิศาสตร์ชาวกรี กเดินทางมาถึง
ั
ดินแดนแถบประเทศไทย และบันทึกไว้ในหนังสื อภูมิศาสตร์
ของปโตเลมี (Ptolemy’s Geography) เอกสารจีนโบราณ เช่น
จดหมายเหตุของหลวงจีนอี้จิง ในพุทธศตวรรษที่ 13 มีรายงาน
ของคณะทูตจีน “โจวตากวน” ในพุทธศตวรรษที่ 19 พ่อค้าชาว
อาหรับและเปอร์เซียกล่าวถึงเมืองท่า หรื อรัฐโบราณในดินแดน
ไทย ส่ วนเอกสารชาวตะวันตกมีมากในพุทธศตวรรษที่ 21 เช่น
ชาวโปรตุเกส
ได้แก่ จดหมายเหตุของโทเม ปิ เรส์ (Tome Pires)
จดหมายเหตุของบรัซ อัลบูแคร์ก (Braz d’ Albuquerque)
จดหมายเหตุการณ์เดินทางของเฟอร์นนด์ เมนเดส ปิ นโต
ั
(Fernand Mendes Pinto)

ชาวฮอลันดา
เช่น จดหมายเหตุของนายสเคาเตน (Joost Schouten)
นายเยเรเมียส ฟาน ฟลีท (Jeremias Van Vliet)
จดหมายเหตุของหมอแกมป์ เฟอร์
ชาวฝรั่งเศส
เช่น จดหมายเหตุลาลูแบร์
จดหมายเหตุนิโคลาส แชร์แวส
จดหมายเหตุเล่าเรื่ องกรุ งสยามของสังฆราชปัลเลกัวซ์
ชาวอังกฤษ
เช่น จดหมายของนายยอร์ช ไวท์
จดหมายเหตุของนายจอห์น ครอเฟิ ร์ด
เอกสารของนายเฮนรี เบอร์นี และเซอร์จอห์น เบาว์ริง

ชาวอเมริกน
ั
เช่น บันทึกของหมอบรัดเลย์ เป็ นต้น
พระราชพงศาวดาร
เป็ นการรวบรวมพระราชกรณี ยกิจของพระมหากษัตริ ย ์
พงศาวดารไทยที่เก่าแก่ที่สุดคือ พระราชพงศาวดารฉบับ
หลวงประเสริ ฐ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช
จดหมายเหตุของไทย

เป็ นการรวบรวมความทรงจาเกี่ยวกับประเพณี และพระราชพิธีเก่าๆ
เช่น จดหมายเหตุขนโขลน จดหมายเหตุพระราชพิธีโสกันต์เจ้านาย
ุ
จดหมายเหตุสมโภชช้างเผือก เป็ นต้น
เอกสารการปกครอง

ส่ วนใหญ่เป็ นเอกสารที่มีในสมัยรัตนโกสิ นทร์ หลังจากที่ได้
มีการจัดตั้งกรมหรื อกระทรวงขึ้นแล้ว เอกสารเหล่านี้จะมีการ
จัดเก็บเป็ นระบบขึ้น เช่น
ใบบอก ซึ่ ง เป็ นรายงานจากข้าราชการส่ วนภูมิภาคส่ งมาให้
รัฐบาลที่กรุ งเทพฯ เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ เช่น การส่ งส่ วย
การส่ งสิ่ งของที่ถูกเกณฑ์ รายงานเรื่ องการเกษตร
การรบทัพ เป็ นต้น
คาให้ การ เช่น คาให้การของคดีอุทธรณ์
คาให้การของข้าศึก เป็ นต้น

บันทึก เป็ นเรื่ องราชการต่างๆ เช่น บันทึกที่
เรี ยกว่า “จดหมายหลวงอุดมสมบัติ”และ“บันทึก
พระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระนัง
่
่ ั
เกล้าเจ้าอยูหว
บัญชีทูลเกล้า เป็ น รายงานจากเจ้าหน้าที่
ส่ วนกลางสรุ ปบัญชีเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายให้
พระเจ้าแผ่นดินทอดพระเนตร เช่นเรื่ อง
การค้ากับเมืองจีน บัญชีไพร่ กรมกองต่างๆ

ตราสารศุภอักษร คือ หนังสื อจากเสนาบดีที่
กรุ งเทพฯ มีถึงเจ้าเมือง หรื อเจ้าประเทศราช
บันทึกเหตุการณ์ ของบุคคลต่ างๆ
เช่น จดหมายเหตุความทรงจาของกรมหลวงนริ นทรเทวี
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สองของนายดิเรก ชัยนาม เป็ นต้น
จดหมาย
เช่น พระราชหัตถเลขาของ
่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว
รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5
เป็ นต้น
หนังสื อพิมพ์
ซึ่งมีข้ ึนในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ ข่าวราชการที่เรี ยกว่า
“ราชกิจจานุเบกษา” “บางกอก รี คอร์เดอร์ ”
รวมทั้งหนังสื อพิมพ์ในปั จจุบน
ั
วรรณกรรม
เช่น เรื่ องมหาชาติคาหลวง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตโองการแช่งน้ า เป็ นต้น
ตานาน
เป็ นเรื่ องราวที่เล่าสื บต่อกันมาในเรื่ องเกี่ยวกับความเป็ นมา
ของเมือง ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ โดยการบอกเล่าต่อๆ กันมา
แล้วรวบรวมเขียนขึ้นภายหลัง ตานานจึงมีเรื่ องนิทาน
คติชาวบ้านและข้อเท็จจริ งในประวัติศาสตร์ร่วมกัน เช่น ตานาน
เมืองหริ ภุญไชย ตานานหิ รัญนคร ตานานสิ งหนวัติกมาร ตานาน
ุ
พระธาตุช่อแฮ ตานานพระแก้วมรกต พงศาวดารโยนก เป็ นต้น
มีงานนิพนธ์บางเรื่ องที่ใช้ชื่อเรี ยกว่า ตานาน แต่ไม่ใช่ เช่น
ตานานวังหน้า ตานานการเลิกบ่อนเบี้ยและเลิกหวย เป็ นต้น
ผู้จัดทำ
นางสาว ณิ ชา สัพโส
นางสาว นิธิดา สิ ทธิกรไพบูลย์

ม.6.5 เลขที่ 13
ม.6.5 เลขที่ 21

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติthnaporn999
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
mintmint2540
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
wiriya kosit
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
wittawat_name
 

What's hot (20)

3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 

Viewers also liked

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ponderingg
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Sununtha Sukarayothin
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
Napatrapee Puttarat
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Ning Rommanee
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
Horania Vengran
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
mintmint2540
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
Draftfykung U'cslkam
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 

Viewers also liked (20)

เม็งราย
เม็งรายเม็งราย
เม็งราย
 
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 

Similar to หลักฐานทางประวัติศาสตร์

1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Noo Suthina
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
Kwandjit Boonmak
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (20)

1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
Pawat
PawatPawat
Pawat
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
Art
ArtArt
Art
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 

More from Pannaray Kaewmarueang

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
Pannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (15)

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

หลักฐานทางประวัติศาสตร์