SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ทีต้ง
่ ั

่ ้
ตั้งอยูดานตะวันออกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ หรื อทิศตะวันตกของ
คาบสมุทรอินโดจีน

แผนที่

พืนที่
้

331,690 ตารางกิโลเมตร (ประมาณพื้นที่ 3 ใน 5 ของไทย)

อาณาเขตติดต่ อ

เวียดนาม มีพรมแดนติดต่อกับ 3 ประเทศ ดังนี้
ทิศเหนือ
ติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นระยะทาง
1,281 กิโลเมตร
ทิศใต้
ติดกับทะเลจีนใต้
ทิศตะวันตก
ติดกับ สปป.ลาว เป็ นระยะทาง 2,130 กิโลเมตร
กัมพูชา เป็ นระยะทาง 1,228 กิโลเมตร และอ่าวไทย
ทิศตะวันออก
ติดกับอ่าวตังเกี๋ย และทะเลจีนใต้
1
ภูมิประเทศ

ประเทศเวียดนามมีลกษณะเป็ นแนวยาว โดยมีความยาวจากเหนือจรดใต้
ั
1,650 กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี้ ยังมี
ไหล่เขาและหมู่เกาะต่างๆ อีกนับพันเกาะเรี ยงรายตั้งแต่อ่าวตังเกี๋ยไปจนถึงอ่าวไทย
เวียดนามมีลกษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าขนาดใหญ่ 2 ตอน คือ ตอนเหนือ
ั
เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าแดง และตอนใต้เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง และมีที่ราบสู ง
ตอนเหนือของประเทศ และยังเป็ นภูมิภาคที่มี เขาฟาน ซี ปั ง (Phan Xi Pung)
่
ซึ่งเป็ นภูเขาที่สูง 3,143 เมตร (10,312 ฟุต) ตั้งอยูในจังหวัดเล่าไค ซึ่งเป็ นยอดเขา
ที่สูงที่สุดในอินโดจีน

ภูมิอากาศ

เวียดนาม มีสภาพภูมิอากาศเป็ นแบบมรสุ มเขตร้อน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก
เปิ ดโล่งรับลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือที่พดผ่านทะเลจีนใต้ทาให้มีโอกาสรับ
ั
ลมมรสุ ม และพายุหมุนเขตร้อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว โดยฝนจะตกตลอดปี
เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ มีความชื้นประมาณ
ร้อยละ 84 ตลอดปี และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ 5 - 37 องศาเซลเซียส เวียดนามทาง
ตอนใต้มีภูมิอากาศคล้ายประเทศไทย คือ ประมาณ 27 - 30 องศาเซลเซียส และ
มี 2 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (พ.ค.- ต.ค.) ฤดูร้อน (พ.ย.- เม.ย.) เวียดนามทางตอนเหนือ
มี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (มี.ค.- เม.ย.) ฤดูร้อน (พ.ค.- ส.ค.) ฤดูใบไม้ร่วง (ก.ย.- พ.ย.)
ฤดูหนาว (ธ.ค.- ก.พ.)

การท่องเที่ยว

ทั้งสองประเทศมีความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือด้านการท่องเที่ยว ซึ่ งลงนามวันที่
16 มีนาคม 2537 และมีความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผูถือ
้
หนังสื อเดินทางธรรมดา ซึ่งลงนามวันที่ 9 พฤษภาคม 2543 จากสถิติเมื่อสิ้ นปี 2554
มีนกท่องเที่ยวเวียดนามมาไทย 488,315 คน (เพิ่มขึ้นจาก 280,368 คน ในปี 2553
ั
ร้อยละ 28.38) ในขณะที่นกท่องเที่ยวไทยไปเวียดนาม 181,820 คน (ลดลงจาก
ั
222,800 คน ในปี 2553 ร้อยละ 18.40)

2. การเมืองการปกครอง
ระบอบการปกครอง

เวียดนามปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ น
องค์กรที่มีอานาจ สู งสุ ดเพียงพรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี้นา
ภายใต้ระบบผูนาร่ วม (Collective leadership) ที่คานอานาจระหว่างกลุ่มผูนา
้
้
ได้แก่
2
1. กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิ ดเสรี ทางเศรษฐกิจ นาโดยอดีตนายกรัฐมนตรี
ฟาน วัน ขาย
2. กลุ่มอนุรักษ์นิยม ซึ่ งต่อต้านหรื อชะลอการเปิ ดประเทศ เพราะเกรงภัยของ
“วิวฒนาการที่สันติ” (peaceful evolution) อันเนื่องมาจากการเปิ ดประเทศ
ั
3. กลุ่มที่เป็ นกลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นาโดยอดีต
ประธานาธิบดี เจิ่น ดึ๊ก เลือง ส่ งผลให้รัฐบาลเวียดนามต้องปรับแนวทางการ
บริ หารประเทศให้ยดหยุนและเปิ ดกว้างมากขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดาเนิ นไปได้
ื ่
ในย่างก้าวที่รวดเร็ วนัก
เมืองหลวงและ
เมืองทีสาคัญ
่

กรุ งฮานอย (Hanoi) เป็ นเมืองหลวงของเวียดนาม และมีเมืองที่สาคัญ
คือ นครโฮจิมินห์ ไฮฟอง และดานัง โดย
- นครโฮจิมินห์ เป็ นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเวียดนาม เดิมชื่ อเมืองไซ่ง่อน
และเป็ นศูนย์กลางการค้า การสื่ อสาร และการขนส่ งของเวียดนาม
- ไฮฟอง เป็ นเมืองค้าขายทางทะเลหลักของภาคเหนือ และเป็ นเมือง
ศูนย์กลางการติดต่อกับศูนย์กลางอื่นๆ ของประเทศและต่างประเทศ
่
- ดานัง เป็ นหนึ่งในสามศูนย์กลางของวัฒนธรรมที่อยูอาศัยที่เป็ นที่รู้จก
ั
ของโลก มีท่าเรื อและท่าอากาศยานนานาชาติ

ภาษาราชการ

ั
ภาษาเวียดนาม ส่ วนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศที่มีการใช้ควบคู่กบ
ภาษาเวียดนามในเอกสารทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าต่างชาติและ
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ รวมทั้งในเว็บไซด์ของหน่วยงานธุ รกิจและ
ภาครัฐ นอกจากนี้ มีการใช้ภาษาฝรั่งเศส และจีนในการติดต่อทางธุ รกิจ

วันชาติ

2 กันยายน

ประธานาธิบดี

(ผูนาประเทศ) คือ นายเจือง เติ๋น ซาง (Trương Tấn Sang)
้

3
รองประธานาธิบดี

นางเหวียนถิดว่าน ((Nguyễn Thị Doan)

คณะรัฐบาล
นายกรัฐมนตรี

(ผูนารัฐบาล) คือ นายเหวียน เติ๋น ยวุ๋ง (Nguyễn Tấn Dũng)
้

Deputy Prime Minister
Deputy Prime Minister
Deputy Prime Minister
Deputy Prime Minister
Minister of Agriculture& Rural Development
Minister of Construction
Minister of Culture, Sports & Tourism
Minister of Education & Training
Minister of Finance
Minister of Foreign Affairs
Minister of Home Affairs
Minister of Industry & Trade
Minister of Information & Communications
Minister of Justice
Minister of Labor, War Invalids, & Social Welfare
Minister of National Defense

Hoàng Trung Hải
Nguyễn Xuân Phúc
Vũ Văn Ninh
Nguyễn Thiện Nhân
Cao Đức Phát
Trịnh Đình Dũng
Hoàng Tuấn Anh
Phạm Vũ Luận
Vương Đình Huệ
Phạm Bình Minh
Nguyễn Thái Bình
Vũ Huy Hoàng
Nguyễn Bắc Son
Hà Hùng Cường
Phạm Thị Hải Chuyền
Phùng Quang Thanh
4
Minister of Natural Resources & Environment
Minister of Planning & Investment
Minister of Public Health
Minister of Public Security
Minister of Science & Technology
Minister of Transport
Inspector-General
Minister, Chairman of the Office of the Government
Minister, Chairman of the Committee for Ethnic Affairs
Governor of the State Bank
Ambassador to the US
Ambassador Extraordinary and
Plenipotentiary Permanent Representative
เลขาธิการพรรค

Nguyễn Minh Quang
Bùi Quang Vinh
Nguyễn Thị Kim Tiến
Trần Đại Quang
Nguyễn Quân
Đinh La Thăng
Huỳnh Phong Tranh
Vũ Đức Đam
Giàng Seo Phử
Nguyễn Văn Bình
Nguyễn Quốc Cường
Lê Hoài Trung

นายเหวียน ซีง หุ่ง (Nguyễn Sinh Hùng)

ประธานสภาแห่ งชาติ นายเหวียน ซีง หุ่ง (Nguyễn Sinh Hùng)

5
วันสถาปนาความสั มพันธ์ 6 สิ งหาคม 2519
ทางการทูตกับไทย
เอกอัครราชทูตไทย
ประจาเวียดนาม

นายสมชาย เภาเจริ ญ

เอกอัครราชทูต
เวียดนามประจาไทย

นายโง ดิ๊ก ถัง (Ngo Đức Thang)

การปกครอง

- มี 59 จังหวัด และ 5 นคร (กรุ งฮานอย นครไฮฟอง นครดานัง นครโฮจิมินห์
และนครเกิ่นเทอ ) แบ่งเป็ น 8 ภาค คือ
 ภาคเหนื อฝั่งตะวันออก มี 4 จังหวัด มีชายแดนติดลาวและจีน
 ภาคเหนื อฝั่งตะวันตก มี 11 จังหวัด
 ที่ราบลุ่มแม่น้ าแดง มี 9 จังหวัด และ 2 นคร คือกรุ งฮานอยที่เป็ น
เมืองหลวงและนครไฮฟองที่เป็ นเมืองท่า
 เขตชายฝั่งทะเลภาคกลางทางตอนเหนื อ มี 6 จังหวัด ซึ่ งทุกจังหวัดติดลาว
 เขตชายฝั่งทะเลภาคกลางทางตอนใต้ มี 5 จังหวัดและ 1 นคร คือนครดานัง
 เขตที่ราบสู งภาคกลาง มี 5 จังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ชนกลุ่มน้อย
่
ส่ วนใหญ่อาศัยอยูในเขตนี้
 ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มี 7 จังหวัด และ 1 นครคือนครโฮจิมินห์ ซึ่ งเป็ น
ศูนย์กลางการค้าของประเทศ
 ที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง มี 12 จังหวัด ซึ่ งส่ วนใหญ่มีขนาดเล็ก และ 1 นคร
คือ นครเกิ่นเทอ มีชายแดนติดกัมพูชา
6
เมืองและแขวงทีสาคัญ นครโฮจิมินห์ ประชากร (เฉพาะที่จดทะเบียน)
่
นครโฮจิมินห์มีประชากรซึ่ งเป็ นผูใช้แรงงานจากพื้นที่ชนบทอพยพเข้ามา
้
่
เป็ นจานวนมากโดยไม่ลงทะเบียนแจ้ง นอกจากนี้ นครโฮจิมินห์อยูใกล้เขต
นิคมอุตสาหกรรมที่สาคัญในจังหวัดบินห์เยือง ด่องไน และลองอาน ซึ่ งเชื่อว่า
จังหวัดเหล่านี้ได้ช่วยรองรับแรงงานบางส่ วนที่ทะลักออกไปจากนครโฮจิมินห์ดวย
้
ภาคเหนือ

ฮานอย (Ha Noi) เป็ นเมืองหลวง มีพ้ืนที่ประมาณ 921 ตารางกิโลเมตร
่
ประชากร 2.2 ล้านคน ตั้งอยูบริ เวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ าแดง โดยมีแม่น้ ามากมาย
ไหลผ่าน ได้แก่ The Duong, The Cau, The Ca Lo, The Day, The Nhue, The Tich,
The To Lich และ The Kim Nguu นอกจากนี้ ฮานอยยังเป็ นศูนย์กลางการบริ หาร
ประเทศและเป็ นศูนย์กลางธุ รกิจการค้าทางภาคเหนือ มีสนามบินนานาชาติที่สาคัญ
คือ Noi Bai International Airport
ไฮฟอง (Hai Phong) มีพ้ืนที่ 1,503 ตารางกิโลเมตร ประชากรราว 1.7 ล้านคน
เป็ นเมืองท่าสาคัญในภาคเหนือและเป็ นเขตอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมเคมี ต่อเรื อ และวัสดุก่อสร้าง มีท่าเรื อสาคัญ คือ Hai Phong Port
และสนามบิน Cat Bi Airport
กว๋ างนินห์ (Quang Ninh) มีพ้ืนที่ 5,899 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ
1 ล้านคน กว๋ างนินห์เป็ นเมืองท่าทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของเวียดนาม มีท่าเรื อ
สาคัญได้แก่ Hon Gai Port นอกจากนี้ ยังเป็ นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ดวยทรัพยากร
้
มากมาย อาทิ ป่ าไม้ และเป็ นแหล่ง ถ่านหิ นใหญ่ที่สุดในประเทศ รวมทั้งมีสถานที่
ท่องเที่ยวสวยงามมีชื่อเสี ยงระดับโลก คือ อ่าวฮาลอง (Ha Long Bay)
เซินลา (Son La) มีพ้ืนที่ 14,055 ตารางกิโลเมตร ประชากร 9 แสนคน
โดยพื้นที่กว่าร้อยละ 80 เป็ นไหล่เขา ซึ่ งเหมาะแก่การทาฟาร์ มโคนม มีสินค้า
ส่ งออกสาคัญ ได้แก่ ชาดา
ลายเจิว (Lai Chau) มีพ้ืนที่ 7,365 ตารางกิโลเมตร ประชากร 2 แสนคน
มีสนามบิน คือ Dien Bien Phu Airport
เตวียนกวาง (Tuyen Quang) มีพ้ืนที่ 5,868 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7 แสนคน
เป็ นจังหวัดที่อุดมไปด้วยป่ าไม้ และไม้มีค่าต่างๆ รวมถึงพืชสมุนไพรกว่า
1,000 ชนิด
7
หลาวกาย (Lao Cai) มีพ้ืนที่ 8,057 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนคน มีป่าไม้
อุดมสมบูรณ์และไม้หายากหลายชนิด อาทิ Po Mu (Fukiena), Lat Hoa (Chukrasia
Tabulario Cho Chi) รวมถึงพืชสมุนไพรและสัตว์หายากอื่นๆ เช่น กวาง หมูป่า
่
เสื อ เป็ นต้น เมืองท่องเที่ยวสาคัญคือ เมืองซาปา (Sa Pa) ซึ่งอยูบนภูเขาสู งและ
มีภูมิอากาศคล้ายยุโรป
ภาคกลาง

่
ภาคกลางของเวียดนามยังมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยูมากมาย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบสู ง
ซึ่งเต็มไปด้วยหินภูเขาไฟ หาดทราย เนินทราย และทะเลสาบ เป็ นเขตพื้นที่ป่าไม้
สาคัญที่สุดของเวียดนาม สภาพภูมิอากาศค่อนข้างร้อนตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดู คือ
ฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) และฤดูแล้ง (ตุลาคม - เมษายน)
ถัวเทียน - เว้ (Thua Tien - Hue) มีพ้ืนที่ 5,009 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1 ล้านคน
เป็ นอดีตเมืองหลวงของเวียดนาม ปั จจุบนเป็ นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญทางประวัติศาสตร์
ั
ที่น่าสนใจ
ดานัง (Da Nang) มีพ้ืนที่ 1,256 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนคนเป็ นศูนย์กลาง
ธุ รกิจ การท่องเที่ยว และเป็ นเมืองท่าสาคัญ โดยมีสนามบินคือ Da Nang Airport
และท่าเรื อ Tien Sa Seaport

ภาคใต้

พื้นที่ส่วนใหญ่ยงคงเป็ นที่ราบสู ง แต่ก็มีที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง (Mekong River Delta
ั
หรื อที่รู้จกกันในชื่ อ กู๋ลองยาง - Cuu Long Giang) อันอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่ง
ั
เพาะปลูกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ อีกทั้งยังเป็ นที่ต้ งของนครโฮจิมินห์ (Ho Chi
ั
Minh City) หรื ออดีตไซ่ง่อน (Saigon)
โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh City) มีพ้ืนที่ 2,095 ตารางกิโลเมตร ประชากร 5.4 ล้านคน
เป็ นศูนย์กลางธุ รกิจการค้า การนาเข้าส่ งออก และเป็ นเมืองท่าสาคัญ โดยมี
สนามบินนานาชาติ Tan Son Nhat Airport และมีท่าเรื อ Saigon Port โฮจิมินห์
ได้รับฉายาว่า "ไข่มุกแห่งเอเชียตะวันออก"
เกิ่นเธอ (Can Tho) มีพ้ืนที่ 1,390 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 1.1 ล้านคน เป็ นเมือง
อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารที่สาคัญ และเป็ นแหล่งปลูกข้าวใหญ่ที่สุดของเวียดนาม
เตี่ยนยาง (Tien Giang) มีพ้ืนที่ 2,367 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1.6 ล้านคน
่
เนื่องจากเตี่ยนยางตั้งอยูในบริ เวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง ซึ่งมีดินอุดมสมบูรณ์

8
เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชเขตร้อน จึงเป็ นแหล่งผลิตข้าวและผลไม้ต่างๆ อาทิ
ทุเรี ยน มะม่วง รวมถึงผลไม้เมืองร้อนชนิดอื่นๆ
บาเรี ย - หวุงเต่า (Ba Ria - Vung Tau) มีพ้ืนที่ 1,975 ตารางกิโลเมตร ประชากร
8 แสนคน เป็ นเมืองที่มีการผลิตน้ ามันดิบและก๊าชธรรมชาติ โดยเวียดนามสามารถ
่
ผลิตน้ ามันได้มากที่สุดในคาบสมุทรอินโดจีน แหล่งผลิตสาคัญอยูทางภาค
ตะวันออกเฉี ยงใต้ของเมือง เรี ยกว่า "Bac Ho" หรื อ "White Tiger"
3. เศรษฐกิจ
ภาคเศรษฐกิจ

เวียดนามมีรูปแบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมการผูกขาดและรวมศูนย์
ที่รัฐบาลกลาง นับตั้งแต่เดือนธันวาคมปี ค.ศ. 1986 เป็ นต้นมา และรัฐบาลเริ่ มใช้
นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ “โด่ย เหมย” (Doi Moi) เพื่อลดการผูกขาด รวมทั้ง
ความพยายามในการเปิ ดประเทศ โดยการเข้าเป็ นสมาชิกสมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (ASEAN) ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
- แปซิฟิก (APEC) และองค์การการค้าโลก (WTO) ประกอบกับความพยายาม
ในการปฏิรูประบบเศรษฐกิจภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เวียดนามมีแนวทาง
มุ่งไปสู่ เศรษฐกิจแห่งสี เขียวตามยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการขยายตัวแห่งสี เขียวในช่วง
ปี 2554-2573 เพื่อช่วยยกระดับประสิ ทธิ ภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน
และเป็ นการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และ
ลดปริ มาณการปล่อยก๊าซที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาเรื อนกระจกต่อโลก

สกุลเงิน

ด่อง

อัตราแลกเปลี่ยน

อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 665 ด่อง ต่อ 1 บาท (ธันวาคมปี ค.ศ. 2554)
ปี
2551
2552
2553
2554

ด่ อง/บาท
533.82
574.18
617.71
665.00

ด่ อง/เหรียญสหรัฐ
17,433
18,479
18,932
20,828

9
อุตสาหกรรมหลัก

อุตสาหกรรมการผลิต (สิ่ งทอและเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป) และธุ รกิจด้านอสังหาริ มทรัพย์
สั ดส่ วนโครงสร้ างเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม

ภาคเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจของเวียดนามส่ วนใหญ่พ่ ึงพาภาคอุตสาหกรรมเป็ นหลัก คิดเป็ น
ร้อยละ 39.9 รองลงมา ได้แก่ ภาคบริ การ คิดเป็ นร้อยละ 38.1 และ
ภาคการเกษตร คิดเป็ นร้อยละ 22.0

ตารางแสดงสถิติทางเศรษฐกิจทีสาคัญของเวียดนาม ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2554
่
รายการ
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี )
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาปัจจุบน
ั
(พันล้านเหรี ยญสหรัฐ)
อัตราเงินเฟ้ อ (ร้อยละต่อปี )
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI)
(ล้านเหรี ยญสหรัฐ)
หนี้ต่างประเทศ (ล้านเหรี ยญสหรัฐ)
เงินสารองระหว่างประเทศ (ล้านเหรี ยญสหรัฐ)

2551
6.3
90.3

2552
5.3
93.2

2553
6.8
104.6

2554
6.1
121.7

23.0
8,050

6.9
-

9.2
6,900

13.3
-

29.8
22,685

39.0
14,100

42.2
12,400

41.1
14,300

ที่มา : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปี 2554 และแนวโน้ม ปี 2555, ธนาคารแห่ งประเทศไทย
Asian Development Outlook 2011: South-South Economic Links

10
ตารางแสดงมูลค่ าการค้ าของเวียดนามกับต่ างประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2554

รายการ

2550

2551

109,200 143,353
มูลค่ าการค้ ารวม
48,400
62,662
มูลค่ าการส่ งออก
62,678
80,691
มูลค่ าการนาเข้ า
-14,276 -18,029
ดุลการค้ า
ที่มา : General Statistics Office of Vietnam

2552

2553

2554

127,045
57,096
69,949
-12,853

156,993
72,192
84,801
-12,375

202,100
96,300
105,800
-9,500

หน่วย : ล้านเหรี ยญสหรัฐ
อัตราการเปลียนแปลง (ร้ อยละ)
่
2551
2552
2553 2554
31.28
-11.38 23.57 28.73
29.47
-8.88 26.44 33.39
28.74
-13.31 21.23 24.76
26.29
-28.71 -3.72 -23.23

กราฟแสดงมูลค่ าการค้ าของเวียดนามกับต่ างประเทศ ระหว่ างปี พ.ศ. 2550-2554

สิ นค้ านาเข้ าสาคัญ
ตลาดนาเข้ าทีสาคัญ
่
สิ นค้ าส่ งออกสาคัญ
ตลาดส่ งออกทีสาคัญ
่

เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เส้นใยสิ่ งทอ คอมพิวเตอร์ สิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์
โทรศัพท์และอะไหล่โทรศัพท์ เหล็ก และน้ ามันสาเร็ จรู ป
ได้แก่ กลุ่มประเทศอาเซี ยนและสาธารณรัฐเกาหลี
เสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป รองเท้า ข้าว น้ ามันดิบ ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อาหารทะเล
โทรศัพท์ และอะไหล่โทรศัพท์
ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา กลุ่มประเทศยูโร และกลุ่มประเทศอาเซี ยน

11
ตารางแสดงการค้ าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555
หน่วย : ล้านเหรี ยญสหรัฐ
อัตราการเปลียนแปลง (ร้ อยละ)
่
2555
รายการ
2551
2552
2553
2554
(ม.ค.-ส.ค.)
2552
2553
2554
2555
6,468
6,064
7,242
9,091
6,471
มูลค่ าการค้ ารวม
-6.25
19.43
25.53 -28.82
5,845
7,059
4,551
มูลค่ าการส่ งออก
5,018
4,678
-6.78
24.95
20.77 -35.53
1,397
2,031
1,920
มูลค่ าการนาเข้ า
1,450
1,386
-4.41
0.79
45.38
-5.47
3,567
3,293
4,449
5,028
2,631
ดุลการค้ า
-7.68
35.10
13.01 -47.67
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์

กราฟแสดงการค้ าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555

ไทยส่ งออกไปเวียดนาม ได้แก่ น้ ามันสาเร็ จรู ป เม็ดพลาสติก เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง
และอื่นๆ
ไทยนาเข้ าจากเวียดนาม ได้แก่ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เครื่ องจักรไฟฟ้ าและ
ส่ วนประกอบ ด้ายและเส้นด้าย เคมีภณฑ์ และอื่นๆ
ั
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติของประเทศเวียดนาม
เวียดนามมีศกยภาพทางเศรษฐกิจสู งและกาลังขยายตัวอย่างต่อเนื่องภายใต้นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ
ั
“โด่ย เหมย” (Doi Moi) ซึ่ งเริ่ มตั้งแต่ปี 2529 ปั จจุบนเวียดนามพยายามปรับปรุ งแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ
ั
ให้สอดคล้องกับข้อกาหนดขององค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่งเวียดนามเข้าเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่
11 มกราคม 2550 โดยได้ศึกษาประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การปฏิรูป การปรับปรุ งกลไก
ภาครัฐ การปรับปรุ งกฎหมายและระเบียบต่างๆ จากหลายประเทศ โดยเฉพาะจีน
12
่
โดยในปั จจุบน เวียดนามอยูระหว่างการดาเนินงานภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ั
ปี 2549-2553 ซึ่งได้มีการระบุเป้ าหมายและทิศทางของการพัฒนาประเทศในช่วง 5 ปี ข้างหน้า ได้แก่
(1) ดาเนินการตามนโยบาย Doi Moi เพื่อให้ผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) ขยายตัวร้อยละ 8
หรื อมากกว่า/ ปี ซึ่งจะทาให้ GDP ของเวียดนามเพิ่มขึ้นเป็ น 94-98 พันล้านเหรี ยญสหรัฐในปี 2553
(2) สร้างความเข้มแข็งให้ระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยมเพื่อก้าวสู่ ความเป็ นประเทศกาลัง
พัฒนาและประเทศอุตสาหกรรมตามลาดับภายในปี 2563
(3) พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู้
(4) ปรับปรุ งคุณภาพการศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเร่ งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เพื่อตอบสนองต่อการส่ งเสริ มธุ รกิจเอกชน และการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
ในปั จจุบนเวียดนามได้พยายามเร่ งรัดพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจขนานใหญ่เพื่อรองรับ
ั
่
การเติบโตทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตามเมืองสาคัญๆ (ที่จงหวัดบาเรี ย หวุงเต่า ซึ่ งอยูใกล้
ั
นครโฮจิมินห์) การปรับปรุ งท่าเรื อน้ าลึก (ดานัง และที่อ่าวคัมรานห์) และการปรับปรุ งท่าอากาศยานนานาชาติ
ให้ทนสมัย ในส่ วนของการเตรี ยมความพร้อมด้านพลังงานไฟฟ้ า เวียดนามมีแผนการลงทุนโดยใช้งบประมาณ
ั
หลายพันล้านเหรี ยญสหรัฐเพื่อปรับปรุ งโรงไฟฟ้ าทัวประเทศ พร้อมทั้งมีการสร้างเขื่อนใหม่ที่จงหวัดเซินลา
ั
่
ทางภาคเหนือ ซึ่ งจะเป็ นเขื่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ รวมทั้งกาลังเตรี ยมโครงการ
สร้างโรงงานไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ โดยมีเป้ าหมายให้สร้างเสร็ จภายในปี 2563 ขณะเดียวกัน เวียดนามกาลัง
พัฒนาอุตสาหกรรมหนักหลายด้านที่สอดคล้องกับสภาพและเงื่อนไขของประเทศ อาทิ อุตสาหกรรมต่อเรื อ
้
ซึ่ งเวียดนามมีศกยภาพสู งที่จะพัฒนาให้กาวหน้า โดยปัจจุบนเวียดนามสามารถต่อเรื อสิ นค้าขนาดระวาง
ั
ั
53,000 ตันได้ และตั้งเป้ าที่จะต่อเรื อขนาดระวาง 1 แสนตันในอนาคต โดยได้รับความร่ วมมือด้านเทคโนโลยี
จากต่างประเทศ
โดยเวียดนามยังคงต้องใช้เงินทุนจานวนมากในการพัฒนาประเทศ ส่ วนใหญ่ได้จากการลงทุน
ต่างชาติ ซึ่งขณะนี้มีการกระจายอานาจให้รัฐบาลท้องถิ่นอนุมติโครงการลงทุนระดับเล็กและกลางได้
ั
นอกจากนี้ เวียดนามยังได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศและองค์กรต่างๆ อาทิ IDA (International
Development Association) ADB, JICA และยังมีเงินจากกลุ่มชาวเวียดนามโพ้นทะเล (“เวียดเกียว”)
หลายล้านคนซึ่ งส่ งเข้าไปพัฒนาระบบเศรษฐกิจของเวียดนามอีกด้วย ด้วยเสถียรภาพของรัฐบาลเวียดนาม
นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจที่ชดเจน และความเชื่อมันในเรื่ องความเอาจริ งเอาจังในการแก้ไขปั ญหาทุจริ ตและ
ั
่
ประพฤติมิชอบ กับการเสริ มสร้างธรรมาภิบาล ฯลฯ ได้มีส่วนช่วยดึงดูดเงินลงทุนต่างชาติเข้าสู่ เวียดนามเพิม
่
สู งขึ้น ทาให้จนถึงขณะนี้มีเงินลงทุนต่างชาติเข้าสู่ เวียดนามแล้วเป็ นจานวนถึง 56.24 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ
จานวนกว่า 6,635 โครงการ โดยมีสิงคโปร์ ไต้หวัน และเกาหลีใต้เป็ นผูลงทุนลาดับต้นๆ รวมทั้งญี่ปุ่นซึ่ งมอง
้
เวียดนามในฐานะอีกทางเลือกหนึ่งนอกจากจีน โดยเปลี่ยนไปลงทุนในเวียดนามเพิ่มขึ้นเพื่อกระจายความเสี่ ยง
ด้านการลงทุน

13
่
อย่างไรก็ดี เวียดนามยังคงมีปัญหาที่ประสบอยูโดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
่
ซึ่ งรัฐบาลเวียดนามได้พยายามวางแผนเพื่อรับมือปั ญหาเหล่านี้ โดยเน้นการสร้างความอยูดีกินดี มีโครงการ
ส่ งเสริ มการจ้างงานและจัดอบรมวิชาชีพแก่ประชาชนกว่าล้านคน มีการจัดส่ งแรงงานไปต่างประเทศ
อย่างเป็ นระบบมากยิงขึ้น โดยมีไต้หวัน มาเลเซี ย และเกาหลีใต้ เป็ นตลาดแรงงานสาคัญ นอกจากนี้ ยังคง
่
่
ให้ความสาคัญกับการลดระดับความยากจน ซึ่ งที่ผานมาถือว่าเวียดนามประสบความสาเร็ จในระดับที่น่าพอใจ
โดยได้รับการยอมรับจาก UNDP จากการที่เวียดนามสามารถลดระดับความยากจนจากร้อยละ 60 ในปี 2533
เป็ นร้อยละ 18 ในปี 2547
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม (2554-2563)
เวียดนามได้กาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระยะ 10 ปี (2554-2563) ตามทิศทางที่
พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามได้วางเอาไว้หลังการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรรคครั้งที่ 11 ในเดือนมกราคม
ปี 2554 โดยแผนการดังกล่าวนั้นได้กาหนดทิศทางและเป้ าหมายในการพัฒนาประเทศในช่วงทศวรรษ
ข้างหน้าดังต่อไปนี้
รัฐบาลเวียดนามมองแนวโน้มของการพัฒนาของโลกว่าจะมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว
และอาจจะเกิดความผันผวนอย่างไม่คาดหมายได้ตลอดเวลา แต่คาดว่าแนวโน้มใหญ่ของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของโลกจะมีลกษณะดังต่อไปนี้
ั
1) เทคโนโลยี จะเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจในยุคปั จจุบน จะมีการพัฒนาวิทยาศาสตร์
ั
และเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เศรษฐกิจจะเป็ นแบบอาศัยความรู ้เป็ นฐาน (Knowledge-based economy)
จะมีการใช้เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมมากขึ้น และมีการพัฒนาเศรษฐกิจรักษาสิ่ งแวดล้อม
(Green economy)
2) เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ จะมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้นเรื่ อยๆ กระบวนการในการผลิตจะเป็ น
สากลมากขึ้น กาลังแรงงานจะมีลกษณะข้ามชาติเป็ นสากลมากขึ้น ในสถานการณ์เช่นนี้การแข่งขันในทาง
ั
เศรษฐกิจก็จะรุ นแรงขึ้นด้วย
3) เศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิงจีน และอินเดีย จะมีบทบาทในโลกมากขึ้น
่
ซึ่ งจะส่ งผลต่อการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลกด้วยเช่นกัน
ในระดับภูมิภาคนั้น กลุ่มสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้หรื ออาเซี ยน จะผสานกันมากขึ้น
ลักษณะเช่นนี้ดานหนึ่งจะส่ งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติสมาชิก แต่อีกด้านหนึ่ งก็จะมีความเสี่ ยง
้
ของประเทศที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการผสานเศรษฐกิจเข้ากับกลุ่มอาเซี ยน
หลังจากวิกฤตเศรษฐกิจรอบล่าสุ ดในปี 2551 เศรษฐกิจโลกกลับมาฟื้ นตัวอย่างช้าๆ และเต็มไปด้วย
ความขัดแย้ง หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็ นปั ญหาทางการเงินในหลายพื้นที่อนเป็ นผลสื บเนื่องมาจาก
ั
ความพยายามในการแก้ไขปั ญหาวิกฤตก่อนหน้าในประเทศตะวันตกทั้งในสหรัฐและยุโรป
14
เวียดนามตั้งเป้ าจะพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัยในปี 2563 และเพื่อให้บรรลุ
ั
เป้ าหมายดังกล่าว รัฐบาลเวียดนามจึงมีภารกิจที่จะต้องฝ่ าฟันให้ได้ 3 ประการ คือ
1) ต้องพัฒนาเศรษฐกิจระบบสังคมนิยมแบบตลาด (Socialist-oriented market economy) ให้ได้
กล่าวคือ จะต้องสร้างสภาพแวดล้อมของการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่สมบูรณ์แบบ และมีการปฏิรูประบบ
การบริ หารเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
2) ต้องเร่ งพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ได้คุณภาพสู งขึ้น โดยผ่านระบบการศึกษาและเทคโนโลยี
3) ต้องสร้างโครงสร้างพื้นฐานและสิ่ งอานวยความสะดวกอย่างครบถ้วน มีโครงการที่ทนสมัย
ั
สร้างโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่สาหรับภาคเมือง และสร้างระบบการขนส่ งที่เพียงพอ เพื่อเชื่อมโยงภูมิภาค
ต่างๆ ของประเทศเข้าด้วยกัน
รัฐบาลเวียดนามมุ่งเน้นการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ และการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
นั้นมุ่งไปใน 5 แนวทาง ดังนี้
1) เร่ งกระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมและความทันสมัย ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมและภาคบริ การให้มี
สัดส่ วนในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศให้มากยิงขึ้น แต่ในยุทธศาสตร์ ระยะยาวต้องสร้างภาคเกษตร
่
ั
่
เพื่อให้เป็ นฐานให้กบความมันคงทางสังคม สร้างความมันคงทางอาหาร และส่ งเสริ มชีวตความเป็ นอยูของ
ิ
่
่
เกษตรกร
2) ปรับโครงสร้างทางด้านการผลิตและการบริ การ โดยการเน้น Supporting Industry และการบริ การ
คุณภาพสู ง เพื่อทาให้เวียดนามมีผลิตภัณฑ์ที่แข่งขันได้ในตลาดโลก ใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุ งการผลิต
ั
ภาคเกษตร สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบสิ นค้าเกษตร และเพิ่มผลผลิตต่อไร่ เฉลี่ยให้สูงขึ้น
3) ปรับโครงสร้างวิสาหกิจ ปรับปรุ งรัฐวิสาหกิจ และพัฒนาวิสาหกิจเอกชน เพื่อให้สามารถเพิ่ม
ศักยภาพในการผลิตให้มีคุณภาพและมีประสิ ทธิภาพ
4) ให้ความสาคัญกับตลาดภายในประเทศมากขึ้น และสร้างเครื อข่ายการกระจายสิ นค้า
ภายในประเทศมากขึ้น เพื่อใช้เป็ นฐานในการเข้าถึงตลาดโลก เพิมตลาดส่ งออก และหาประโยชน์จากความ
่
ตกลงการค้าเสรี มากขึ้น
5) ปรับปรุ งกลไกการลงทุนและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการลงทุน โดยรัฐจะเน้นการลงทุนในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม สนับสนุนการผลิตที่มีมูลค่าเพิ่ม
อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่สะอาด จากัดอุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมที่ใช้พ้ืนที่และพลังงานมาก
และละทิ้งการลงทุนในเทคโนโลยีต่าซึ่ งทาลายสิ่ งแวดล้อม

15
โดยสรุ ปแล้วทิศทางการพัฒนาของเวียดนามจะเปลี่ยนจากเศรษฐกิจที่เติบโตจากการพึ่งพิงเงินลงทุน
จานวนมาก ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรบุคคลคุณภาพต่า ไปสู่ เศรษฐกิจที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ
ที่อาศัยเทคโนโลยี ใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสู ง และใช้ทกษะการจัดการที่ทนสมัย ทั้งนี้ รัฐบาลเวียดนาม
ั
ั
ได้กาหนดเป้ าหมายระยะสั้นในปี แรกของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาปี 2554-2563 ดังนี้
1) สร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาคและควบคุมเงินเฟ้ อ
2) เริ่ มต้นปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจและเปลี่ยนแบบแผนความเติบโตทางเศรษฐกิจ
3) สร้างเงื่อนไขที่เอื้อต่อการลงทุนในการผลิต พัฒนาธุ รกิจ และขยายตลาด
4) เน้นการพัฒนาภาคสังคมเพื่อลดความยากจนและการสร้างงาน
5) กระตุนกลไกทางด้านการจัดการ ผสานภาคส่ วนทางเศรษฐกิจต่างๆ เข้าด้วยกัน ทบทวนแผน
้
การกระจายอานาจเพื่อให้มนใจว่าการบริ หารจัดการจากส่ วนกลางในส่ วนของการดาเนิ นงานตามแผนพัฒนา
ั่
ต่างๆ นั้นเป็ นไปอย่างเข้มแข็งเพียงพอ
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติของเวียดนาม (ปี 2554-2563)
นายกรัฐมนตรี ของเวียดนาม (H.E. Nguyen Tan Dung) ได้แถลงว่าในปี 2554 รัฐบาลจะให้
ความสาคัญ กับการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค แก้ไขปั ญหาเงินเฟ้ อ ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
พัฒนาระบบ สวัสดิการทางสังคม (ระบบประกัน การศึกษา และบริ การสุ ขภาพ) เพื่อให้การเจริ ญเติบโต
ของประเทศเป็ นไปอย่าง ยังยืน โดยมีแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติระยะเวลา
่
10 ปี (ปี 2554-2563) ซึ่งมี เป้ าหมายที่จะทาให้เวียดนามเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัย (modern
ั
industrialized country) ภายในปี 2563 โดยมีระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม
็ ั
ในปี 2553 เวียดนามมีการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสู งคือร้อยละ 6.78 แต่กมีอตราเงินเฟ้ อ
สู งถึงร้อยละ 11.75 ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนที่มีความผันผวนทาให้เกิด
แรงกดดันอย่างมากต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการผลิตในประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมดังกล่าว
จึงให้มุ่งเน้นการส่ งเสริ มภาคธุ รกิจ การลงทุนจากต่างประเทศ การปฏิรูประบบบริ หารของภาครัฐและ
ั
สิ่ งแวดล้อม การพัฒนาเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์กบนานาประเทศ
โดยการเข้าร่ วมเป็ น สมาชิก WTO สาหรับภาคธุ รกิจที่รัฐบาลจะให้การสนับสนุน ได้แก่ ภาคการท่องเที่ยว
การขนส่ ง โลจิสติกส์ และ การบริ การท่าเรื อ และภาคการเกษตร ซึ่ งรวมถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน
ที่จาเป็ นต่อการเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ นอกจากนี้ รัฐบาลเวียดนามได้ประกาศว่าจะแก้ไขปั ญหา
ความยากจนโดยยกระดับเส้นแบ่งความยากจน (poverty line) ของประชากรในเขตเมองจากเดือนละ
260,000 ด่อง (455บาท) เป็ น 500,000 ด่อง (875 บาท) และในพื้นที่อื่นๆ จากเดือนละ 200,000 ด่อง
(350 บาท) เป็ น 400,000 ด่อง (700บาท) เพื่อให้การพัฒนาทางเศรษฐกิจสมดุลกับการพัฒนาทางสังคมและ
วัฒนธรรมที่มีความเสมอภาค
16
ศักยภาพทางเศรษฐกิจ
ภาพรวมเศรษฐกิจเวียดนามนั้นมีการเติบโตในอัตราที่ค่อนข้างสู งมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี 2543
เป็ นต้นมา จากการรายงานของสานักงานสถิติแห่งชาติเวียดนาม ในปี 2555 เป็ นปี สุ ดท้ายของการบังคับใช้
่
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาฉบับก่อน เวียดนามมีอตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศอยูใน
ั
่
ระดับร้อยละ 6.8 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2552 ซึ่ งมีการเติบโตค่อนข้างต่า คือ อยูในระดับร้อยละ 5.32 เป็ นผล
สื บเนื่องมาจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลกในช่วงก่อนหน้านี้
ธนาคารพัฒนาเอเชียรายงานว่า การฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจในปี 2553 เป็ นผลโดยตรงจากการฟื้ นตัว
ทางเศรษฐกิจของโลก ประกอบกับผลของมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลเวียดนามเอง นอกจากนี้
้
การเติบโตของการบริ โภคภายในประเทศที่ค่อนข้างสู ง ส่ งผลให้เกิดการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้นด้วย
เศรษฐกิจของเวียดนามในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ขยายตัวในอัตราที่ต่ากว่าการขยายตัวในช่วง
เดียวกันของปี 2554 โดย GDP ขยายตัวเพียงร้อยละ 4 ทั้งนี้ เนื่องมาจากมาตรการที่เข้มงวดของภาครัฐในการ
ควบคุมการปล่อยสิ นเชื่ อทางธุ รกิจทาให้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมขาดเงินทุนหมุนเวียนต้องปิ ดกิจการ
เป็ นจานวนมากในช่วงปลายปี 2554 และต้นปี 2555 นอกจากนี้ ยังมีปริ มาณสิ นค้าคงเหลือในสต๊อกจานวน
มากที่ยงไม่สามารถส่ งออกไปต่างประเทศได้
ั
อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วดทางเศรษฐกิจมหภาคอื่นๆ ได้แสดงให้เห็นว่าในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
ั
เศรษฐกิจของเวียดนามมีแนวโน้มที่ดีข้ ึน ตัวอย่างเช่น ความมีเสถียรภาพของเงินสกุลท้องถิ่นในช่วงที่กล่าว
้
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศค่อนข้างนิ่ง ไม่แกว่งตัวเหมือนปี 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินกูที่ลดลง
สภาพคล่องของธนาคารพาณิ ชย์ การฟื้ นตัวของตลาดหลักทรัพย์ และการเพิมขึ้นของเงินสารองเงินตรา
่
ั
ต่างประเทศ ล้วนเป็ นปั จจัยที่ส่งผลในเชิงบวกให้กบเศรษฐกิจโดยรวมของเวียดนาม
ปั ญหาสาคัญประการหนึ่งของเศรษฐกิจเวียดนาม คือ มีอตราเงินเฟ้ อที่ค่อนข้างสู ง กล่าวคือ สู งถึง
ั
ร้อยละ 18.6 ในปี 2554 ปั ญหาเงินเฟ้ อสร้างความวิตกกังวลในหมู่ประชาชนทัวไป คือ อานาจการซื้ อ
่
ของพวกเขาจะลดต่าลง เพราะปัญหาอีกประการหนึ่ง คือ เงินด่องของเวียดนามมีค่าลดลงเรื่ อยๆ เมื่อ
เปรี ยบเทียบกับทองคาและเหรี ยญสหรัฐ แต่ทางการเวียดนามมีศกยภาพที่จะพยุงค่าเงินด่องไม่สูงนัก
ั
เนื่องจากมีสารองเงินตราต่างประเทศน้อย กล่าวคือ มีประมาณ 14,300 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (สิ้ นปี 2554)
แหล่งรายได้หลักของเศรษฐกิจเวียดนามมาจากการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเป็ นสาคัญ
การค้าเวียดนามฟื้ นตัวขึ้นตามการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจของโลก ปี 2553 มูลค่าการส่ งออกเพิ่มร้อยละ 26.4
(คิดตามเงินเหรี ยญสหรัฐ) ส่ วนที่เพิ่มจะมาจากสิ นค้าประเภทสิ่ งทอ รองเท้า ชิ้นส่ วนอิเลคทรอนิกส์ และ
คอมพิวเตอร์ แต่การนาเข้าของเวียดนามในปี ค.ศ. 2010 เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 อันเนื่องมาจาการนาเข้าสิ นค้าทุน
รายได้จากการส่ งเงินกลับบ้านของชาวเวียดนามโพ้นทะเล (เวียดเกี่ยว) และการท่องเที่ยวเป็ นแหล่ง
รายได้หลักอีกทางหนึ่ง ส่ วนการลงทุนจากต่างประเทศในปี 2543 มีท้ งสิ้ น 7.1 พันล้านเหรี ยญสหรัฐเพิ่มขึ้น
ั
ร้อยละ 3 เวียดนามอนุมติการลงทุนทั้งสิ้ น 18.6 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ ต่ากว่าปี 2542 ธนาคารพัฒนาเอเชีย
ั
17
รายงานว่า เป็ นผลสื บเนื่องมาจากทิศทางของนโยบายเกี่ยวกับการลงทุนจากต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของ
เวียดนามเอง
นโยบายต่ างประเทศ
แนวนโยบายต่างประเทศตามที่กาหนดโดยที่ประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์ ครั้งที่ 11 เมื่อ
เดือนมกราคม 2554 นั้น ได้วางหลักการสาคัญของนโยบายต่างประเทศเวียดนาม คือ ต้องดาเนินไปเพื่อความ
เป็ นเอกราช พึ่งตนเอง สันติภาพ ความร่ วมมือ และการพัฒนา นโยบายต่างประเทศเวียดนามจะเน้น การเปิ ด
กว้าง ความหลากหลาย และเน้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบพหุ ภาคี เวียดนามจะร่ วมผสานเศรษฐกิจ
กับสากลอย่างแข็งขันโดยขยายความร่ วมมือในด้านต่างๆ อย่างรอบด้าน เวียดนามจะเป็ นมิตรและเป็ น
หุ นส่ วนกับทุกประเทศในชุมชนนานาชาติ จะร่ วมมืออย่างจริ งจังกับกระบวนการความมือทั้งระดับสากลและ
้
ระดับภูมิภาค
กิจกรรมทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของเวียดนาม คือ การรักษาสภาพแวดล้อมที่มีสันติภาพ
สร้างเงื่อนไขระหว่างประเทศให้เอื้ออานวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรมแห่งชาติ และ
ั
ความทันสมัย เวียดนามจะสร้างความมันคงให้กบการป้ องกันประเทศ ในขณะที่จะมีส่วนร่ วมกับประชาคม
่
โลกในการสร้างสรรค์สันติภาพ ความเป็ นเอกราชแห่งชาติ ประชาธิ ปไตย และความก้าวหน้าทางสังคม
ั
เวียดนามมีนโยบายในการสร้างเสถียรภาพที่ยงยืนให้กบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สร้าง
ั่
ั
ความสัมพันธ์กบประเทศ และองค์กรต่างๆ ของโลก ภายใต้หลักการแห่งความเป็ นเอกราช อานาจอธิ ปไตย
และบูรณภาพแห่งดินแดน ไม่แทรกแซงกิจการภายในของชาติอื่น ไม่ใช้หรื อสร้างภัยคุกคามด้วยกาลังทหาร
แต่จะแก้ไขความขัดแย้งโดยการเจรจาอย่างสันติวธี ด้วยความเคารพ ความเสมอภาค และเพื่อผลประโยชน์
ิ
ร่ วมกัน
ในฐานะที่ยงดารงความเป็ นรัฐแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เวียดนามมีนโยบายต่างประเทศที่จะให้
ั
การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ กรรมาชีพ พรรคการเมืองฝ่ ายซ้าย ขบวนการต่อสู ้เพื่อความเป็ นเอกราช
ั
่
ขบวนการปฏิวติทวโลก ในขณะเดียวกันก็ตองรักษาความสัมพันธ์กบพรรคการเมืองที่อยูในอานาจด้วย
ั ั่
้
พร้อมกับพัฒนาความสัมพันธ์ของประชาชนต่อประชาชนภายนอก การมีส่วนร่ วมกับเวทีประชาชนต่างๆ
และมีส่วนร่ วมกับการต่อสู ้เพื่อสันติภาพ ความเสมอภาค การพัฒนาที่ยงยืน ประชาธิ ปไตย และความก้าวหน้า
ั่
ทางสังคม เพิ่มความพยายามในการแสวงหาความช่วยเหลือ และเพิ่มคุณภาพของความร่ วมมือกับองค์กร
พัฒนาเอกชนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม
เวียดนามมีแนวนโยบายต่างประเทศในการต่อสู ้เพื่อสิ ทธิ มนุษยชนร่ วมกัน รัฐบาลเวียดนามพร้อม
ที่จะเจรจากับประเทศและองค์กรสากลต่างๆ ในปั ญหาสิ ทธิ มนุษยชน แต่จะต่อต้านการบิดเบือนประเด็น
ทางด้านสิ ทธิมนุษยชน ประชาธิ ปไตย ศาสนา และชาติพนธุ์ เพื่อมาแทรกแซงกิจการภายในของเวียดนาม
ั
หรื อเพื่อทาลายความเป็ นเอกราช อธิ ปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน ความมันคง และเสถียรภาพทางการเมือง
่
ของเวียดนาม
18
เวียดนามมีนโยบายต่างประเทศในการผลักดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ บูรณาการ
เศรษฐกิจของเวียดนามกับเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจระดับภูมิภาค และสถาบันเศรษฐกิจระดับทวิภาคีอื่นๆ
เวียดนามจะบูรณาการเศรษฐกิจแห่งชาติเข้ากับเศรษฐกิจสากล ตามแผนยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมและ
วิสัยทัศน์ปี 2563 (มุ่งสู่ ความเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัย) เตรี ยมการที่เหมาะสมในการเข้าร่ วมลงนาม
ั
ในความตกลงความร่ วมมือทางด้านเศรษฐกิจต่างๆ ส่ งเสริ มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศอาเซียนใน
ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก รวมถึงความร่ วมมือทางเศรษฐกิจแบบทวิภาคี ใช้ประโยชน์จากการเป็ นสมาชิก
องค์กรการค้าโลก
เวียดนามจะมุ่งปรับปรุ งสถาบันทางเศรษฐกิจของตนเอง ปรับปรุ งและแก้ไขระเบียบกฎหมายต่างๆ
เพื่อให้มีเสถียรภาพและโปร่ งใส ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจเพื่อดึงดูดและเพิ่มพูนการลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign direct investment) ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาอย่างเป็ นทางการ
(Official Development Assistance) การลงทุนในหุน (portfolio investment) และแหล่งทุนอื่นๆ ให้ไหลเข้าสู่
้
เวียดนามมากขึ้น
เวียดนามมีนโยบายที่จะกาหนดเป้ าหมายการใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาให้ชดเจน
ั
แน่นอน ปรับปรุ งรู ปแบบการบริ หารจัดการ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ชาระหนี้คืนอย่างตรงเวลา และกาหนด
สัดส่ วนหนี้ต่างประเทศให้เหมาะสม
เวียดนามจะส่ งเสริ มการเผยแพร่ วฒนธรรมของตนเองในต่างประเทศ ส่ งเสริ มการเผยแพร่ ขอมูล
ั
้
ข่าวสาร เพื่อช่วยส่ งเสริ มมิตรภาพความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของเวียดนามกับต่างประเทศ เวียดนามจะ
ั
ทาการฝึ กอบรมบุคลากรที่ทางานทางด้านความสัมพันธ์กบต่างประเทศให้มีความชัดเจนทางการเมือง
มีทกษะในการใช้ภาษาต่างประเทศได้อย่างเหมาะสม มีมาตรฐานสู ง และมีจริ ยธรรมอย่างเพียงพอ
ั
แนวทางในการรับความช่ วยเหลือ
ตามกรอบยุทธศาสตร์ การรับความช่วยเหลือต่างประเทศช่วง 5 ปี (ระหว่างปี 2554-2558) นั้น
เวียดนามต้องการใช้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญส่ วนหนึ่งในการสร้างความ
เติบโตทางเศรษฐกิจให้ได้เฉลี่ยร้อยละ 7 - 7.5 ต่อปี และเพื่อสร้างการพัฒนาที่ทนสมัยผ่านโครงการต่างๆ
ั
โดยมุ่งสร้างเครื อข่ายการขนส่ งและโครงการต่างๆ ในการพัฒนาเมือง
เวียดนามต้องการที่จะดึงเงินทุนจากแหล่งต่างๆ ให้ได้ถึงร้อยละ 40 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ (GDP) ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของแผนยุทธศาสตร์ ดงกล่าว กล่าวคือ โดยเฉลี่ยให้มีการเติบโต
ั
ของเงินทุนจากความช่วยเหลือต่างประเทศในรู ปแบบต่างๆ ร้อยละ 16 ต่อปี
่
จากความสาเร็ จในการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะที่ผานมา นับตั้งแต่การเริ่ มปฏิรูปเศรษฐกิจในปี 2529
เป็ นต้นมา ทาให้ปัจจุบนเวียดนามเป็ นประเทศที่มีฐานะเป็ นประเทศมีรายได้ระดับกลางถึงต่า (Lower Middle
ั
Income Country – MIC) ซึ่ งจะทาให้ประเทศต่างๆ ที่จะให้ความช่วยเหลือจะต้องปรับเปลี่ยนแนวทางในการ
19
ให้ความช่วยเหลือใหม่ ในขณะที่เวียดนามเองก็จาเป็ นจะต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ และแนวทางในการรับ
ความช่วยเหลือด้วยเช่นกัน เพื่อให้สอดรับกับฐานะทางเศรษฐกิจ
ประเทศที่พฒนาแล้วจานวนหนึ่งได้ปรับเปลี่ยนแนวทางการให้ความช่วยเหลือเวียดนามจากเน้น
ั
การให้เปล่าเป็ นการสร้างความสัมพันธ์แบบหุ นส่ วนเพื่อให้ความร่ วมมือเพิ่มขึ้นและลดความช่วยเหลือแบบ
้
ให้เปล่าลง
สถาบันทางการเงินระหว่างประเทศจานวนมาก เช่น ธนาคารโลกและธนาคารพัฒนาเอเชีย ได้ใช้
รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรเป็ นเกณฑ์สาคัญในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือทางเงินประเภท concession
loan และในอนาคตนั้นความช่วยเหลือทางการเงินประเทศนี้จะน้อยลงเรื่ อยๆ ตามระดับของการพัฒนา
เศรษฐกิจของเวียดนาม
ดังนั้น เวียดนามจึงมีความจาเป็ นต้องปรับแผนยุทธศาสตร์ ในช่วงระยะเวลา 5 ปี (2554-2558) โดย
จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาในเรื่ องต่อไปนี้เป็ นสาคัญ
1) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ โครงการที่ใช้เทคโนโลยีที่ทนสมัย และโครงการ
ั
ทางด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยโครงการเหล่านี้มี 5 ประเภทด้วยกัน คือ
(1) โครงการทางด้านการขนส่ ง เช่น ทางด่วน สนามบิน ท่าเรื อ ฯลฯ
(2) โครงการพัฒนาพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
พลังงานใหม่หรื อพลังงานหมุนเวียน
(3) โครงการพัฒนาการสื่ อสารโดยเฉพาะอย่างยิงในพื้นที่ชนบท
่
(4) การพัฒนาสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพอนามัยในเขตเมือง เช่น โครงการประปา การขนส่ งในเมือง
การกาจัดน้ าเสี ยและขยะ
(5) พัฒนาเทคโนโลยีระดับสู งสาหรับภาคเกษตร แหล่งน้ าขนาดใหญ่ การพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานสาหรับภาคชนบท และการพัฒนาโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับภาคเกษตร เพื่อปรับปรุ งชีวต
ิ
่
ความเป็ นอยูของประชาชนในภาคเกษตรและภาคชนบท
2) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ งเวียดนามจะให้ความสาคัญกับการ
พัฒนาสถาบันการศึกษา ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย วิทยาลัย อาชีวศึกษา และสถาบันทางด้านสาธารณสุ ข
โดยเฉพาะโรงพยาบาลทันสมัยที่ได้มาตรฐานสากล
นอกจากนี้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนานั้นควรใช้เพื่อสนับสนุนแผนการของรัฐบาลในการขจัด
ความยากจน โครงการทางด้านความมันคงทางสังคม การควบคุมโรคร้ายเช่น HIV/AIDS การพัฒนาชนบท
่
และการเกษตร

20
3) เพื่อสนับสนุนโครงการทางด้านสิ่ งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้เทคโนโลยี
ที่รักษาสิ่ งแวดล้อมหรื อที่รู้จกกันในนามเทคโนโลยีสีเขียว
ั
4) เพื่อสนับสนุนการปรับปรุ งกฎหมายและสถาบัน เพื่อให้ตรงและทันกับระดับการพัฒนา
ที่เปลี่ยนแปลงไป ปรับปรุ งคุณภาพของนักวิจยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปรับปรุ งการบริ หารงาน
ั
ภาครัฐ เพื่อให้คุณภาพการให้บริ การสาธารณะดียงขึ้น
ิ่
ั
นอกจากนี้ ความช่วยเหลือประเภทที่เป็ น less concessional loan จะนาไปใช้กบโครงการในภาคส่ วน
ที่ให้ผลตอบแทนสู ง เพื่อช่วยสร้างงาน กระตุนเศรษฐกิจ และการลดทอนความยากจน
้
ในส่ วนของผูใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือนั้นจะเน้นรู ปแบบของการดาเนินงานร่ วมกันระหว่าง
้
ภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership – PPP) มากขึ้น
บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการความช่ วยเหลือเพือการพัฒนา
่
รัฐบาลมีหน้าที่ในการตัดสิ นในเรื่ องยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนการ และแสวงหาประโยชน์จากความ
ช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ใช้อานาจนายกรัฐมนตรี ในการอนุมติคาขอโครงการต่างๆ ออกกฎหมายเพื่อบริ หาร
ั
จัดการโครงการจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาตามอานาจหน้าที่ ทาหน้าที่ในการบริ หารจัดการโครงการ
ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาในระดับมหภาค
นอกจากรัฐบาลแล้วมีกระทรวงและหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริ หารจัดการความช่วยเหลือ
เพื่อการพัฒนาจากต่างประเทศดังนี้
1) กระทรวงแผนการและการลงทุน ทาหน้าที่เป็ นจุดศูนย์กลางการประสานงาน เป็ นหน่วยงานหลัก
ในการทาแผนยุทธศาสตร์ ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา จัดทาร่ างกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้ทิศทาง
กับหน่วยงานเจ้าของโครงการ ไปจนถึงการประเมินผลโครงการโดยรวมระดับมหภาค
2) กระทรวงการคลัง ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านยุทธศาสตร์ และ
นโยบายความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ให้แนวทางในการจัดการทางด้านการเงิน เป็ นหน่วยงานหลักในการ
เตรี ยมการเจรจากับประเทศผูบริ จาคตามที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย กระทรวงการคลังจะเป็ นผูแทนของ
้
้
่
รัฐบาลเวียดนามในฐานะ “ผูกยม” ตามสัญญา ถึงแม้วาในบางกรณี นายกรัฐมนตรี จะมอบหมายให้หน่วยงาน
้ ู้ ื
้
อื่นเป็ นผูเ้ จรจาเงื่อนไขเงินกูก็ตาม แต่โดยหลักแล้วกระทรวงการคลังจะทาหน้าที่ในการจัดการเงินผ่านเข้า
และออกสาหรับโครงการจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา
3) กระทรวงยุติธรรม ทาหน้าที่ในการดูแลสัญญากับต่างประเทศ ให้ความเห็นทางกฎหมายเกี่ยวกับ
สัญญานั้นๆ
4) ธนาคารกลางเวียดนาม ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดเตรี ยมสาระ
ของการเจรจา ทาหน้าที่เป็ นผูเ้ จรจาหลักกับสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงิน
21
ระหว่างประเทศ และธนาคารพัฒนาเอเชีย ประสานงานกับกระทรวงการคลังเพื่อกาหนดว่าธนาคารพาณิ ชย์
ใดจะเป็ นผูโอนหรื อรับโอนเงินช่วยเหลือ
้
5) กระทรวงการต่างประเทศ ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแสวงหา
ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ มีส่วนร่ วมในการเจรจา ให้ความเห็นในร่ างสัญญา
6) สานักงานทาเนียบรัฐบาล ทาหน้าที่ช่วยเหลือนายกรัฐมนตรี ในการตัดสิ นในเรื่ องยุทธศาสตร์ และ
นโยบายตามอานาจหน้าที่ของรัฐบาล
7) กระทรวงอื่นๆ และคณะกรรมาธิ การระดับจังหวัด ทาหน้าที่ประสานกับกระทรวงแผนการและ
การลงทุนในโครงการที่ตนเสนอและเกี่ยวข้อง
กฎหมายและระเบียบว่าด้ วยการจัดการและใช้ ประโยชน์ ความช่ วยเหลือเพือการพัฒนา
่
เวียดนามมีกฎหมาย ระเบียบ และคาสังหลายฉบับเพื่อใช้ในการกากับการจัดการและใช้ประโยชน์
่
จากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา โดยกฎหมายที่ใช้เป็ นหลักในปั จจุบนนั้นเป็ นกฤษฎีกา (Decree) ว่าด้วย
ั
ระเบียบการจัดการและการใช้ประโยชน์จากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา โดยประกาศใช้เมื่อเดือน
พฤศจิกายน 2549 แทนฉบับเก่าที่ออกในปี 2544
่
กฤษฎีกาที่วาด้วยระเบียบนี้มีสาระสาคัญ คือ มีการกาหนดลาดับความสาคัญของภาคเศรษฐกิจต่างๆ
ที่จะใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือจากการพัฒนา ซึ่ งส่ วนหนึ่งก็จะล้อไปกับแผนยุทธศาสตร์ ในการรับความ
ช่วยเหลือ โดยกฤษฎีกานั้นให้ความสาคัญกับภาคเกษตร การพัฒนาชนบท การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
สาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ทนสมัย การสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม เช่นการศึกษา สาธารณสุ ข
ั
และการปกป้ องคุมครองสิ่ งแวดล้อม การสร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แต่มี
้
การเปิ ดช่องให้รัฐบาลได้ใช้ดุลยพินิจได้ดวย โดยหากโครงการอื่นใดที่นายกรัฐมนตรี ตดสิ นใจว่ามี
้
ั
ความสาคัญลาดับต้นๆ ก็สามารถใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือในโครงการเหล่านั้นได้
่
โครงสร้างทางองค์กรในการบริ หารงานความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนานั้นอยูภายใต้การกากับดูแล
ของกระทรวงแผนการและการลงทุน หน่วยงานอื่นใดที่จะขอความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาจากต่างประเทศ
่
่
จะต้องส่ งโครงการ (ซึ่ งมีระเบียบวิธีวาด้วยการเสนอโครงการ) ซึ่ งอยูในแผนการที่ได้กาหนดเอาไว้แล้ว
ตามลาดับความสาคัญในแผนยุทธศาสตร์ ต่อกระทรวงแผนการ และกระทรวงแผนการฯ จะเสนอต่อไปยัง
นายกรัฐมนตรี เพื่อตัดสิ นใจต่อไป
เมื่อโครงการผ่านการอนุมติตามความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี และประเทศหรื อองค์กรผูบริ จาค
ั
้
แล้ว กระทรวงแผนการฯ ก็จะทาหน้าที่ในการประสานการดาเนินโครงการ
กฤษฎีกาว่าด้วยระเบียบการบริ หารจัดการความช่วยเหลือนั้นมีระเบียบค่อนข้างละเอียดว่าด้วยการ
จัดทาคาร้องขอเงินทุนจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาสาหรับโครงการประเภทต่างๆ ในกรณี ที่ได้สรุ ป
โครงการแล้วจาเป็ นจะต้องลงนามในสัญญากับประเทศหรื อองค์กรผูบริ จาค ศาลประชาชนสู งสุ ดจะเข้ามามี
้
22
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555

More Related Content

What's hot

เจนจิรา สร้อยดอกไม้
เจนจิรา สร้อยดอกไม้เจนจิรา สร้อยดอกไม้
เจนจิรา สร้อยดอกไม้janejirasoidokmail
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 
ประเทศติมอร์ตะวันออก
ประเทศติมอร์ตะวันออกประเทศติมอร์ตะวันออก
ประเทศติมอร์ตะวันออกSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้Supisara Jaibaan
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมลpornpimon79
 
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Ritthiporn Lekdee
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีnoeiinoii
 
Planning nong kai1
Planning   nong kai1Planning   nong kai1
Planning nong kai1purithem
 

What's hot (17)

History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
แอฟริกาใต้
แอฟริกาใต้แอฟริกาใต้
แอฟริกาใต้
 
Bdc 412 กัมพูชา
Bdc 412 กัมพูชาBdc 412 กัมพูชา
Bdc 412 กัมพูชา
 
เจนจิรา สร้อยดอกไม้
เจนจิรา สร้อยดอกไม้เจนจิรา สร้อยดอกไม้
เจนจิรา สร้อยดอกไม้
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
จังหวัดตาก
จังหวัดตากจังหวัดตาก
จังหวัดตาก
 
ประเทศติมอร์ตะวันออก
ประเทศติมอร์ตะวันออกประเทศติมอร์ตะวันออก
ประเทศติมอร์ตะวันออก
 
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
 
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
ไนจีเรีย
ไนจีเรียไนจีเรีย
ไนจีเรีย
 
โมร็อกโก
โมร็อกโกโมร็อกโก
โมร็อกโก
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
ประเทศเคนย่า
ประเทศเคนย่าประเทศเคนย่า
ประเทศเคนย่า
 
Planning nong kai1
Planning   nong kai1Planning   nong kai1
Planning nong kai1
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Химия побед
Химия победХимия побед
Химия побед
 
Bentley
Bentley Bentley
Bentley
 
Capitulo 3
Capitulo 3Capitulo 3
Capitulo 3
 
Equipo 6 sistemas operativos
Equipo 6 sistemas operativosEquipo 6 sistemas operativos
Equipo 6 sistemas operativos
 
BreeCS Example Report - Local Labour 2 Tier Lifespan
BreeCS Example Report - Local Labour 2 Tier LifespanBreeCS Example Report - Local Labour 2 Tier Lifespan
BreeCS Example Report - Local Labour 2 Tier Lifespan
 
communication channels or modes
communication channels or modescommunication channels or modes
communication channels or modes
 
How to Minimize the Damage of Identity Theft
How to Minimize the Damage of Identity TheftHow to Minimize the Damage of Identity Theft
How to Minimize the Damage of Identity Theft
 
Catalog UNIqueFORMS
Catalog UNIqueFORMSCatalog UNIqueFORMS
Catalog UNIqueFORMS
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Don't Forget Who You Are
Don't Forget Who You AreDon't Forget Who You Are
Don't Forget Who You Are
 
Simon Havingaschool
Simon HavingaschoolSimon Havingaschool
Simon Havingaschool
 
Finante publice locale:Argentina vs Kazahstan
Finante publice locale:Argentina vs KazahstanFinante publice locale:Argentina vs Kazahstan
Finante publice locale:Argentina vs Kazahstan
 
Virtue
VirtueVirtue
Virtue
 
Lessons from Psalm 4
Lessons from Psalm 4Lessons from Psalm 4
Lessons from Psalm 4
 
Presentacion equipo 7
Presentacion equipo   7Presentacion equipo   7
Presentacion equipo 7
 
StarUML NS Guide - Design
StarUML NS Guide - DesignStarUML NS Guide - Design
StarUML NS Guide - Design
 
MySender_eng_v5
MySender_eng_v5MySender_eng_v5
MySender_eng_v5
 
Media evalution final versions
Media evalution final versionsMedia evalution final versions
Media evalution final versions
 
What Are You Doing with God's Grace?
What Are You Doing with God's Grace?What Are You Doing with God's Grace?
What Are You Doing with God's Grace?
 
Does Jesus Care?
Does Jesus Care?Does Jesus Care?
Does Jesus Care?
 

Similar to 1078001586 เวียดนาม 2555

PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdf
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdfVietnam Trade and Investment Handbook.pdf
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdfPawachMetharattanara
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียน
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียนงานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียน
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียนTaoTao52
 
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1iambank2009
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนขวัญ ขวัญ
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราชSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศ
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศงานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศ
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศOme Dum
 
ส่งงาน
ส่งงาน ส่งงาน
ส่งงาน Ome Dum
 

Similar to 1078001586 เวียดนาม 2555 (20)

เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdf
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdfVietnam Trade and Investment Handbook.pdf
Vietnam Trade and Investment Handbook.pdf
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียน
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียนงานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียน
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาเซียน
 
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1
นายธนภัทร นวลจริต ม.4/8 เลขที่ 1
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศ
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศงานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศ
งานนำเสนอ3 อาเซียน10 ประเทศ
 
ส่งงาน
ส่งงาน ส่งงาน
ส่งงาน
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
3
33
3
 
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
ธงชาติ
ธงชาติธงชาติ
ธงชาติ
 

1078001586 เวียดนาม 2555

  • 1. สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ทีต้ง ่ ั ่ ้ ตั้งอยูดานตะวันออกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ หรื อทิศตะวันตกของ คาบสมุทรอินโดจีน แผนที่ พืนที่ ้ 331,690 ตารางกิโลเมตร (ประมาณพื้นที่ 3 ใน 5 ของไทย) อาณาเขตติดต่ อ เวียดนาม มีพรมแดนติดต่อกับ 3 ประเทศ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นระยะทาง 1,281 กิโลเมตร ทิศใต้ ติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันตก ติดกับ สปป.ลาว เป็ นระยะทาง 2,130 กิโลเมตร กัมพูชา เป็ นระยะทาง 1,228 กิโลเมตร และอ่าวไทย ทิศตะวันออก ติดกับอ่าวตังเกี๋ย และทะเลจีนใต้ 1
  • 2. ภูมิประเทศ ประเทศเวียดนามมีลกษณะเป็ นแนวยาว โดยมีความยาวจากเหนือจรดใต้ ั 1,650 กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี้ ยังมี ไหล่เขาและหมู่เกาะต่างๆ อีกนับพันเกาะเรี ยงรายตั้งแต่อ่าวตังเกี๋ยไปจนถึงอ่าวไทย เวียดนามมีลกษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าขนาดใหญ่ 2 ตอน คือ ตอนเหนือ ั เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าแดง และตอนใต้เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง และมีที่ราบสู ง ตอนเหนือของประเทศ และยังเป็ นภูมิภาคที่มี เขาฟาน ซี ปั ง (Phan Xi Pung) ่ ซึ่งเป็ นภูเขาที่สูง 3,143 เมตร (10,312 ฟุต) ตั้งอยูในจังหวัดเล่าไค ซึ่งเป็ นยอดเขา ที่สูงที่สุดในอินโดจีน ภูมิอากาศ เวียดนาม มีสภาพภูมิอากาศเป็ นแบบมรสุ มเขตร้อน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก เปิ ดโล่งรับลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือที่พดผ่านทะเลจีนใต้ทาให้มีโอกาสรับ ั ลมมรสุ ม และพายุหมุนเขตร้อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว โดยฝนจะตกตลอดปี เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ มีความชื้นประมาณ ร้อยละ 84 ตลอดปี และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ 5 - 37 องศาเซลเซียส เวียดนามทาง ตอนใต้มีภูมิอากาศคล้ายประเทศไทย คือ ประมาณ 27 - 30 องศาเซลเซียส และ มี 2 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (พ.ค.- ต.ค.) ฤดูร้อน (พ.ย.- เม.ย.) เวียดนามทางตอนเหนือ มี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (มี.ค.- เม.ย.) ฤดูร้อน (พ.ค.- ส.ค.) ฤดูใบไม้ร่วง (ก.ย.- พ.ย.) ฤดูหนาว (ธ.ค.- ก.พ.) การท่องเที่ยว ทั้งสองประเทศมีความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือด้านการท่องเที่ยว ซึ่ งลงนามวันที่ 16 มีนาคม 2537 และมีความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผูถือ ้ หนังสื อเดินทางธรรมดา ซึ่งลงนามวันที่ 9 พฤษภาคม 2543 จากสถิติเมื่อสิ้ นปี 2554 มีนกท่องเที่ยวเวียดนามมาไทย 488,315 คน (เพิ่มขึ้นจาก 280,368 คน ในปี 2553 ั ร้อยละ 28.38) ในขณะที่นกท่องเที่ยวไทยไปเวียดนาม 181,820 คน (ลดลงจาก ั 222,800 คน ในปี 2553 ร้อยละ 18.40) 2. การเมืองการปกครอง ระบอบการปกครอง เวียดนามปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ น องค์กรที่มีอานาจ สู งสุ ดเพียงพรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี้นา ภายใต้ระบบผูนาร่ วม (Collective leadership) ที่คานอานาจระหว่างกลุ่มผูนา ้ ้ ได้แก่ 2
  • 3. 1. กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิ ดเสรี ทางเศรษฐกิจ นาโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ฟาน วัน ขาย 2. กลุ่มอนุรักษ์นิยม ซึ่ งต่อต้านหรื อชะลอการเปิ ดประเทศ เพราะเกรงภัยของ “วิวฒนาการที่สันติ” (peaceful evolution) อันเนื่องมาจากการเปิ ดประเทศ ั 3. กลุ่มที่เป็ นกลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นาโดยอดีต ประธานาธิบดี เจิ่น ดึ๊ก เลือง ส่ งผลให้รัฐบาลเวียดนามต้องปรับแนวทางการ บริ หารประเทศให้ยดหยุนและเปิ ดกว้างมากขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดาเนิ นไปได้ ื ่ ในย่างก้าวที่รวดเร็ วนัก เมืองหลวงและ เมืองทีสาคัญ ่ กรุ งฮานอย (Hanoi) เป็ นเมืองหลวงของเวียดนาม และมีเมืองที่สาคัญ คือ นครโฮจิมินห์ ไฮฟอง และดานัง โดย - นครโฮจิมินห์ เป็ นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเวียดนาม เดิมชื่ อเมืองไซ่ง่อน และเป็ นศูนย์กลางการค้า การสื่ อสาร และการขนส่ งของเวียดนาม - ไฮฟอง เป็ นเมืองค้าขายทางทะเลหลักของภาคเหนือ และเป็ นเมือง ศูนย์กลางการติดต่อกับศูนย์กลางอื่นๆ ของประเทศและต่างประเทศ ่ - ดานัง เป็ นหนึ่งในสามศูนย์กลางของวัฒนธรรมที่อยูอาศัยที่เป็ นที่รู้จก ั ของโลก มีท่าเรื อและท่าอากาศยานนานาชาติ ภาษาราชการ ั ภาษาเวียดนาม ส่ วนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศที่มีการใช้ควบคู่กบ ภาษาเวียดนามในเอกสารทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าต่างชาติและ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ รวมทั้งในเว็บไซด์ของหน่วยงานธุ รกิจและ ภาครัฐ นอกจากนี้ มีการใช้ภาษาฝรั่งเศส และจีนในการติดต่อทางธุ รกิจ วันชาติ 2 กันยายน ประธานาธิบดี (ผูนาประเทศ) คือ นายเจือง เติ๋น ซาง (Trương Tấn Sang) ้ 3
  • 4. รองประธานาธิบดี นางเหวียนถิดว่าน ((Nguyễn Thị Doan) คณะรัฐบาล นายกรัฐมนตรี (ผูนารัฐบาล) คือ นายเหวียน เติ๋น ยวุ๋ง (Nguyễn Tấn Dũng) ้ Deputy Prime Minister Deputy Prime Minister Deputy Prime Minister Deputy Prime Minister Minister of Agriculture& Rural Development Minister of Construction Minister of Culture, Sports & Tourism Minister of Education & Training Minister of Finance Minister of Foreign Affairs Minister of Home Affairs Minister of Industry & Trade Minister of Information & Communications Minister of Justice Minister of Labor, War Invalids, & Social Welfare Minister of National Defense Hoàng Trung Hải Nguyễn Xuân Phúc Vũ Văn Ninh Nguyễn Thiện Nhân Cao Đức Phát Trịnh Đình Dũng Hoàng Tuấn Anh Phạm Vũ Luận Vương Đình Huệ Phạm Bình Minh Nguyễn Thái Bình Vũ Huy Hoàng Nguyễn Bắc Son Hà Hùng Cường Phạm Thị Hải Chuyền Phùng Quang Thanh 4
  • 5. Minister of Natural Resources & Environment Minister of Planning & Investment Minister of Public Health Minister of Public Security Minister of Science & Technology Minister of Transport Inspector-General Minister, Chairman of the Office of the Government Minister, Chairman of the Committee for Ethnic Affairs Governor of the State Bank Ambassador to the US Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary Permanent Representative เลขาธิการพรรค Nguyễn Minh Quang Bùi Quang Vinh Nguyễn Thị Kim Tiến Trần Đại Quang Nguyễn Quân Đinh La Thăng Huỳnh Phong Tranh Vũ Đức Đam Giàng Seo Phử Nguyễn Văn Bình Nguyễn Quốc Cường Lê Hoài Trung นายเหวียน ซีง หุ่ง (Nguyễn Sinh Hùng) ประธานสภาแห่ งชาติ นายเหวียน ซีง หุ่ง (Nguyễn Sinh Hùng) 5
  • 6. วันสถาปนาความสั มพันธ์ 6 สิ งหาคม 2519 ทางการทูตกับไทย เอกอัครราชทูตไทย ประจาเวียดนาม นายสมชาย เภาเจริ ญ เอกอัครราชทูต เวียดนามประจาไทย นายโง ดิ๊ก ถัง (Ngo Đức Thang) การปกครอง - มี 59 จังหวัด และ 5 นคร (กรุ งฮานอย นครไฮฟอง นครดานัง นครโฮจิมินห์ และนครเกิ่นเทอ ) แบ่งเป็ น 8 ภาค คือ  ภาคเหนื อฝั่งตะวันออก มี 4 จังหวัด มีชายแดนติดลาวและจีน  ภาคเหนื อฝั่งตะวันตก มี 11 จังหวัด  ที่ราบลุ่มแม่น้ าแดง มี 9 จังหวัด และ 2 นคร คือกรุ งฮานอยที่เป็ น เมืองหลวงและนครไฮฟองที่เป็ นเมืองท่า  เขตชายฝั่งทะเลภาคกลางทางตอนเหนื อ มี 6 จังหวัด ซึ่ งทุกจังหวัดติดลาว  เขตชายฝั่งทะเลภาคกลางทางตอนใต้ มี 5 จังหวัดและ 1 นคร คือนครดานัง  เขตที่ราบสู งภาคกลาง มี 5 จังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ชนกลุ่มน้อย ่ ส่ วนใหญ่อาศัยอยูในเขตนี้  ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มี 7 จังหวัด และ 1 นครคือนครโฮจิมินห์ ซึ่ งเป็ น ศูนย์กลางการค้าของประเทศ  ที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง มี 12 จังหวัด ซึ่ งส่ วนใหญ่มีขนาดเล็ก และ 1 นคร คือ นครเกิ่นเทอ มีชายแดนติดกัมพูชา 6
  • 7. เมืองและแขวงทีสาคัญ นครโฮจิมินห์ ประชากร (เฉพาะที่จดทะเบียน) ่ นครโฮจิมินห์มีประชากรซึ่ งเป็ นผูใช้แรงงานจากพื้นที่ชนบทอพยพเข้ามา ้ ่ เป็ นจานวนมากโดยไม่ลงทะเบียนแจ้ง นอกจากนี้ นครโฮจิมินห์อยูใกล้เขต นิคมอุตสาหกรรมที่สาคัญในจังหวัดบินห์เยือง ด่องไน และลองอาน ซึ่ งเชื่อว่า จังหวัดเหล่านี้ได้ช่วยรองรับแรงงานบางส่ วนที่ทะลักออกไปจากนครโฮจิมินห์ดวย ้ ภาคเหนือ ฮานอย (Ha Noi) เป็ นเมืองหลวง มีพ้ืนที่ประมาณ 921 ตารางกิโลเมตร ่ ประชากร 2.2 ล้านคน ตั้งอยูบริ เวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ าแดง โดยมีแม่น้ ามากมาย ไหลผ่าน ได้แก่ The Duong, The Cau, The Ca Lo, The Day, The Nhue, The Tich, The To Lich และ The Kim Nguu นอกจากนี้ ฮานอยยังเป็ นศูนย์กลางการบริ หาร ประเทศและเป็ นศูนย์กลางธุ รกิจการค้าทางภาคเหนือ มีสนามบินนานาชาติที่สาคัญ คือ Noi Bai International Airport ไฮฟอง (Hai Phong) มีพ้ืนที่ 1,503 ตารางกิโลเมตร ประชากรราว 1.7 ล้านคน เป็ นเมืองท่าสาคัญในภาคเหนือและเป็ นเขตอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมเคมี ต่อเรื อ และวัสดุก่อสร้าง มีท่าเรื อสาคัญ คือ Hai Phong Port และสนามบิน Cat Bi Airport กว๋ างนินห์ (Quang Ninh) มีพ้ืนที่ 5,899 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1 ล้านคน กว๋ างนินห์เป็ นเมืองท่าทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของเวียดนาม มีท่าเรื อ สาคัญได้แก่ Hon Gai Port นอกจากนี้ ยังเป็ นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ดวยทรัพยากร ้ มากมาย อาทิ ป่ าไม้ และเป็ นแหล่ง ถ่านหิ นใหญ่ที่สุดในประเทศ รวมทั้งมีสถานที่ ท่องเที่ยวสวยงามมีชื่อเสี ยงระดับโลก คือ อ่าวฮาลอง (Ha Long Bay) เซินลา (Son La) มีพ้ืนที่ 14,055 ตารางกิโลเมตร ประชากร 9 แสนคน โดยพื้นที่กว่าร้อยละ 80 เป็ นไหล่เขา ซึ่ งเหมาะแก่การทาฟาร์ มโคนม มีสินค้า ส่ งออกสาคัญ ได้แก่ ชาดา ลายเจิว (Lai Chau) มีพ้ืนที่ 7,365 ตารางกิโลเมตร ประชากร 2 แสนคน มีสนามบิน คือ Dien Bien Phu Airport เตวียนกวาง (Tuyen Quang) มีพ้ืนที่ 5,868 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7 แสนคน เป็ นจังหวัดที่อุดมไปด้วยป่ าไม้ และไม้มีค่าต่างๆ รวมถึงพืชสมุนไพรกว่า 1,000 ชนิด 7
  • 8. หลาวกาย (Lao Cai) มีพ้ืนที่ 8,057 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนคน มีป่าไม้ อุดมสมบูรณ์และไม้หายากหลายชนิด อาทิ Po Mu (Fukiena), Lat Hoa (Chukrasia Tabulario Cho Chi) รวมถึงพืชสมุนไพรและสัตว์หายากอื่นๆ เช่น กวาง หมูป่า ่ เสื อ เป็ นต้น เมืองท่องเที่ยวสาคัญคือ เมืองซาปา (Sa Pa) ซึ่งอยูบนภูเขาสู งและ มีภูมิอากาศคล้ายยุโรป ภาคกลาง ่ ภาคกลางของเวียดนามยังมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยูมากมาย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบสู ง ซึ่งเต็มไปด้วยหินภูเขาไฟ หาดทราย เนินทราย และทะเลสาบ เป็ นเขตพื้นที่ป่าไม้ สาคัญที่สุดของเวียดนาม สภาพภูมิอากาศค่อนข้างร้อนตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) และฤดูแล้ง (ตุลาคม - เมษายน) ถัวเทียน - เว้ (Thua Tien - Hue) มีพ้ืนที่ 5,009 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1 ล้านคน เป็ นอดีตเมืองหลวงของเวียดนาม ปั จจุบนเป็ นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญทางประวัติศาสตร์ ั ที่น่าสนใจ ดานัง (Da Nang) มีพ้ืนที่ 1,256 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนคนเป็ นศูนย์กลาง ธุ รกิจ การท่องเที่ยว และเป็ นเมืองท่าสาคัญ โดยมีสนามบินคือ Da Nang Airport และท่าเรื อ Tien Sa Seaport ภาคใต้ พื้นที่ส่วนใหญ่ยงคงเป็ นที่ราบสู ง แต่ก็มีที่ราบลุ่มแม่น้ าโขง (Mekong River Delta ั หรื อที่รู้จกกันในชื่ อ กู๋ลองยาง - Cuu Long Giang) อันอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่ง ั เพาะปลูกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ อีกทั้งยังเป็ นที่ต้ งของนครโฮจิมินห์ (Ho Chi ั Minh City) หรื ออดีตไซ่ง่อน (Saigon) โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh City) มีพ้ืนที่ 2,095 ตารางกิโลเมตร ประชากร 5.4 ล้านคน เป็ นศูนย์กลางธุ รกิจการค้า การนาเข้าส่ งออก และเป็ นเมืองท่าสาคัญ โดยมี สนามบินนานาชาติ Tan Son Nhat Airport และมีท่าเรื อ Saigon Port โฮจิมินห์ ได้รับฉายาว่า "ไข่มุกแห่งเอเชียตะวันออก" เกิ่นเธอ (Can Tho) มีพ้ืนที่ 1,390 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 1.1 ล้านคน เป็ นเมือง อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารที่สาคัญ และเป็ นแหล่งปลูกข้าวใหญ่ที่สุดของเวียดนาม เตี่ยนยาง (Tien Giang) มีพ้ืนที่ 2,367 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1.6 ล้านคน ่ เนื่องจากเตี่ยนยางตั้งอยูในบริ เวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง ซึ่งมีดินอุดมสมบูรณ์ 8
  • 9. เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชเขตร้อน จึงเป็ นแหล่งผลิตข้าวและผลไม้ต่างๆ อาทิ ทุเรี ยน มะม่วง รวมถึงผลไม้เมืองร้อนชนิดอื่นๆ บาเรี ย - หวุงเต่า (Ba Ria - Vung Tau) มีพ้ืนที่ 1,975 ตารางกิโลเมตร ประชากร 8 แสนคน เป็ นเมืองที่มีการผลิตน้ ามันดิบและก๊าชธรรมชาติ โดยเวียดนามสามารถ ่ ผลิตน้ ามันได้มากที่สุดในคาบสมุทรอินโดจีน แหล่งผลิตสาคัญอยูทางภาค ตะวันออกเฉี ยงใต้ของเมือง เรี ยกว่า "Bac Ho" หรื อ "White Tiger" 3. เศรษฐกิจ ภาคเศรษฐกิจ เวียดนามมีรูปแบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมการผูกขาดและรวมศูนย์ ที่รัฐบาลกลาง นับตั้งแต่เดือนธันวาคมปี ค.ศ. 1986 เป็ นต้นมา และรัฐบาลเริ่ มใช้ นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ “โด่ย เหมย” (Doi Moi) เพื่อลดการผูกขาด รวมทั้ง ความพยายามในการเปิ ดประเทศ โดยการเข้าเป็ นสมาชิกสมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (ASEAN) ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก (APEC) และองค์การการค้าโลก (WTO) ประกอบกับความพยายาม ในการปฏิรูประบบเศรษฐกิจภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เวียดนามมีแนวทาง มุ่งไปสู่ เศรษฐกิจแห่งสี เขียวตามยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการขยายตัวแห่งสี เขียวในช่วง ปี 2554-2573 เพื่อช่วยยกระดับประสิ ทธิ ภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน และเป็ นการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และ ลดปริ มาณการปล่อยก๊าซที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาเรื อนกระจกต่อโลก สกุลเงิน ด่อง อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 665 ด่อง ต่อ 1 บาท (ธันวาคมปี ค.ศ. 2554) ปี 2551 2552 2553 2554 ด่ อง/บาท 533.82 574.18 617.71 665.00 ด่ อง/เหรียญสหรัฐ 17,433 18,479 18,932 20,828 9
  • 10. อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมการผลิต (สิ่ งทอและเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป) และธุ รกิจด้านอสังหาริ มทรัพย์ สั ดส่ วนโครงสร้ างเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม ภาคเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของเวียดนามส่ วนใหญ่พ่ ึงพาภาคอุตสาหกรรมเป็ นหลัก คิดเป็ น ร้อยละ 39.9 รองลงมา ได้แก่ ภาคบริ การ คิดเป็ นร้อยละ 38.1 และ ภาคการเกษตร คิดเป็ นร้อยละ 22.0 ตารางแสดงสถิติทางเศรษฐกิจทีสาคัญของเวียดนาม ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2554 ่ รายการ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี ) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาปัจจุบน ั (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) อัตราเงินเฟ้ อ (ร้อยละต่อปี ) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) (ล้านเหรี ยญสหรัฐ) หนี้ต่างประเทศ (ล้านเหรี ยญสหรัฐ) เงินสารองระหว่างประเทศ (ล้านเหรี ยญสหรัฐ) 2551 6.3 90.3 2552 5.3 93.2 2553 6.8 104.6 2554 6.1 121.7 23.0 8,050 6.9 - 9.2 6,900 13.3 - 29.8 22,685 39.0 14,100 42.2 12,400 41.1 14,300 ที่มา : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปี 2554 และแนวโน้ม ปี 2555, ธนาคารแห่ งประเทศไทย Asian Development Outlook 2011: South-South Economic Links 10
  • 11. ตารางแสดงมูลค่ าการค้ าของเวียดนามกับต่ างประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2554 รายการ 2550 2551 109,200 143,353 มูลค่ าการค้ ารวม 48,400 62,662 มูลค่ าการส่ งออก 62,678 80,691 มูลค่ าการนาเข้ า -14,276 -18,029 ดุลการค้ า ที่มา : General Statistics Office of Vietnam 2552 2553 2554 127,045 57,096 69,949 -12,853 156,993 72,192 84,801 -12,375 202,100 96,300 105,800 -9,500 หน่วย : ล้านเหรี ยญสหรัฐ อัตราการเปลียนแปลง (ร้ อยละ) ่ 2551 2552 2553 2554 31.28 -11.38 23.57 28.73 29.47 -8.88 26.44 33.39 28.74 -13.31 21.23 24.76 26.29 -28.71 -3.72 -23.23 กราฟแสดงมูลค่ าการค้ าของเวียดนามกับต่ างประเทศ ระหว่ างปี พ.ศ. 2550-2554 สิ นค้ านาเข้ าสาคัญ ตลาดนาเข้ าทีสาคัญ ่ สิ นค้ าส่ งออกสาคัญ ตลาดส่ งออกทีสาคัญ ่ เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เส้นใยสิ่ งทอ คอมพิวเตอร์ สิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ โทรศัพท์และอะไหล่โทรศัพท์ เหล็ก และน้ ามันสาเร็ จรู ป ได้แก่ กลุ่มประเทศอาเซี ยนและสาธารณรัฐเกาหลี เสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป รองเท้า ข้าว น้ ามันดิบ ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อาหารทะเล โทรศัพท์ และอะไหล่โทรศัพท์ ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา กลุ่มประเทศยูโร และกลุ่มประเทศอาเซี ยน 11
  • 12. ตารางแสดงการค้ าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 หน่วย : ล้านเหรี ยญสหรัฐ อัตราการเปลียนแปลง (ร้ อยละ) ่ 2555 รายการ 2551 2552 2553 2554 (ม.ค.-ส.ค.) 2552 2553 2554 2555 6,468 6,064 7,242 9,091 6,471 มูลค่ าการค้ ารวม -6.25 19.43 25.53 -28.82 5,845 7,059 4,551 มูลค่ าการส่ งออก 5,018 4,678 -6.78 24.95 20.77 -35.53 1,397 2,031 1,920 มูลค่ าการนาเข้ า 1,450 1,386 -4.41 0.79 45.38 -5.47 3,567 3,293 4,449 5,028 2,631 ดุลการค้ า -7.68 35.10 13.01 -47.67 ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ กราฟแสดงการค้ าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 ไทยส่ งออกไปเวียดนาม ได้แก่ น้ ามันสาเร็ จรู ป เม็ดพลาสติก เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง และอื่นๆ ไทยนาเข้ าจากเวียดนาม ได้แก่ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เครื่ องจักรไฟฟ้ าและ ส่ วนประกอบ ด้ายและเส้นด้าย เคมีภณฑ์ และอื่นๆ ั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติของประเทศเวียดนาม เวียดนามมีศกยภาพทางเศรษฐกิจสู งและกาลังขยายตัวอย่างต่อเนื่องภายใต้นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ ั “โด่ย เหมย” (Doi Moi) ซึ่ งเริ่ มตั้งแต่ปี 2529 ปั จจุบนเวียดนามพยายามปรับปรุ งแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ ั ให้สอดคล้องกับข้อกาหนดขององค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่งเวียดนามเข้าเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2550 โดยได้ศึกษาประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การปฏิรูป การปรับปรุ งกลไก ภาครัฐ การปรับปรุ งกฎหมายและระเบียบต่างๆ จากหลายประเทศ โดยเฉพาะจีน 12
  • 13. ่ โดยในปั จจุบน เวียดนามอยูระหว่างการดาเนินงานภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ั ปี 2549-2553 ซึ่งได้มีการระบุเป้ าหมายและทิศทางของการพัฒนาประเทศในช่วง 5 ปี ข้างหน้า ได้แก่ (1) ดาเนินการตามนโยบาย Doi Moi เพื่อให้ผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) ขยายตัวร้อยละ 8 หรื อมากกว่า/ ปี ซึ่งจะทาให้ GDP ของเวียดนามเพิ่มขึ้นเป็ น 94-98 พันล้านเหรี ยญสหรัฐในปี 2553 (2) สร้างความเข้มแข็งให้ระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยมเพื่อก้าวสู่ ความเป็ นประเทศกาลัง พัฒนาและประเทศอุตสาหกรรมตามลาดับภายในปี 2563 (3) พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู้ (4) ปรับปรุ งคุณภาพการศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเร่ งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อตอบสนองต่อการส่ งเสริ มธุ รกิจเอกชน และการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ในปั จจุบนเวียดนามได้พยายามเร่ งรัดพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจขนานใหญ่เพื่อรองรับ ั ่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตามเมืองสาคัญๆ (ที่จงหวัดบาเรี ย หวุงเต่า ซึ่ งอยูใกล้ ั นครโฮจิมินห์) การปรับปรุ งท่าเรื อน้ าลึก (ดานัง และที่อ่าวคัมรานห์) และการปรับปรุ งท่าอากาศยานนานาชาติ ให้ทนสมัย ในส่ วนของการเตรี ยมความพร้อมด้านพลังงานไฟฟ้ า เวียดนามมีแผนการลงทุนโดยใช้งบประมาณ ั หลายพันล้านเหรี ยญสหรัฐเพื่อปรับปรุ งโรงไฟฟ้ าทัวประเทศ พร้อมทั้งมีการสร้างเขื่อนใหม่ที่จงหวัดเซินลา ั ่ ทางภาคเหนือ ซึ่ งจะเป็ นเขื่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ รวมทั้งกาลังเตรี ยมโครงการ สร้างโรงงานไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ โดยมีเป้ าหมายให้สร้างเสร็ จภายในปี 2563 ขณะเดียวกัน เวียดนามกาลัง พัฒนาอุตสาหกรรมหนักหลายด้านที่สอดคล้องกับสภาพและเงื่อนไขของประเทศ อาทิ อุตสาหกรรมต่อเรื อ ้ ซึ่ งเวียดนามมีศกยภาพสู งที่จะพัฒนาให้กาวหน้า โดยปัจจุบนเวียดนามสามารถต่อเรื อสิ นค้าขนาดระวาง ั ั 53,000 ตันได้ และตั้งเป้ าที่จะต่อเรื อขนาดระวาง 1 แสนตันในอนาคต โดยได้รับความร่ วมมือด้านเทคโนโลยี จากต่างประเทศ โดยเวียดนามยังคงต้องใช้เงินทุนจานวนมากในการพัฒนาประเทศ ส่ วนใหญ่ได้จากการลงทุน ต่างชาติ ซึ่งขณะนี้มีการกระจายอานาจให้รัฐบาลท้องถิ่นอนุมติโครงการลงทุนระดับเล็กและกลางได้ ั นอกจากนี้ เวียดนามยังได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศและองค์กรต่างๆ อาทิ IDA (International Development Association) ADB, JICA และยังมีเงินจากกลุ่มชาวเวียดนามโพ้นทะเล (“เวียดเกียว”) หลายล้านคนซึ่ งส่ งเข้าไปพัฒนาระบบเศรษฐกิจของเวียดนามอีกด้วย ด้วยเสถียรภาพของรัฐบาลเวียดนาม นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจที่ชดเจน และความเชื่อมันในเรื่ องความเอาจริ งเอาจังในการแก้ไขปั ญหาทุจริ ตและ ั ่ ประพฤติมิชอบ กับการเสริ มสร้างธรรมาภิบาล ฯลฯ ได้มีส่วนช่วยดึงดูดเงินลงทุนต่างชาติเข้าสู่ เวียดนามเพิม ่ สู งขึ้น ทาให้จนถึงขณะนี้มีเงินลงทุนต่างชาติเข้าสู่ เวียดนามแล้วเป็ นจานวนถึง 56.24 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ จานวนกว่า 6,635 โครงการ โดยมีสิงคโปร์ ไต้หวัน และเกาหลีใต้เป็ นผูลงทุนลาดับต้นๆ รวมทั้งญี่ปุ่นซึ่ งมอง ้ เวียดนามในฐานะอีกทางเลือกหนึ่งนอกจากจีน โดยเปลี่ยนไปลงทุนในเวียดนามเพิ่มขึ้นเพื่อกระจายความเสี่ ยง ด้านการลงทุน 13
  • 14. ่ อย่างไรก็ดี เวียดนามยังคงมีปัญหาที่ประสบอยูโดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ่ ซึ่ งรัฐบาลเวียดนามได้พยายามวางแผนเพื่อรับมือปั ญหาเหล่านี้ โดยเน้นการสร้างความอยูดีกินดี มีโครงการ ส่ งเสริ มการจ้างงานและจัดอบรมวิชาชีพแก่ประชาชนกว่าล้านคน มีการจัดส่ งแรงงานไปต่างประเทศ อย่างเป็ นระบบมากยิงขึ้น โดยมีไต้หวัน มาเลเซี ย และเกาหลีใต้ เป็ นตลาดแรงงานสาคัญ นอกจากนี้ ยังคง ่ ่ ให้ความสาคัญกับการลดระดับความยากจน ซึ่ งที่ผานมาถือว่าเวียดนามประสบความสาเร็ จในระดับที่น่าพอใจ โดยได้รับการยอมรับจาก UNDP จากการที่เวียดนามสามารถลดระดับความยากจนจากร้อยละ 60 ในปี 2533 เป็ นร้อยละ 18 ในปี 2547 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม (2554-2563) เวียดนามได้กาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระยะ 10 ปี (2554-2563) ตามทิศทางที่ พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามได้วางเอาไว้หลังการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรรคครั้งที่ 11 ในเดือนมกราคม ปี 2554 โดยแผนการดังกล่าวนั้นได้กาหนดทิศทางและเป้ าหมายในการพัฒนาประเทศในช่วงทศวรรษ ข้างหน้าดังต่อไปนี้ รัฐบาลเวียดนามมองแนวโน้มของการพัฒนาของโลกว่าจะมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว และอาจจะเกิดความผันผวนอย่างไม่คาดหมายได้ตลอดเวลา แต่คาดว่าแนวโน้มใหญ่ของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของโลกจะมีลกษณะดังต่อไปนี้ ั 1) เทคโนโลยี จะเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจในยุคปั จจุบน จะมีการพัฒนาวิทยาศาสตร์ ั และเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เศรษฐกิจจะเป็ นแบบอาศัยความรู ้เป็ นฐาน (Knowledge-based economy) จะมีการใช้เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมมากขึ้น และมีการพัฒนาเศรษฐกิจรักษาสิ่ งแวดล้อม (Green economy) 2) เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ จะมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้นเรื่ อยๆ กระบวนการในการผลิตจะเป็ น สากลมากขึ้น กาลังแรงงานจะมีลกษณะข้ามชาติเป็ นสากลมากขึ้น ในสถานการณ์เช่นนี้การแข่งขันในทาง ั เศรษฐกิจก็จะรุ นแรงขึ้นด้วย 3) เศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิงจีน และอินเดีย จะมีบทบาทในโลกมากขึ้น ่ ซึ่ งจะส่ งผลต่อการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลกด้วยเช่นกัน ในระดับภูมิภาคนั้น กลุ่มสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้หรื ออาเซี ยน จะผสานกันมากขึ้น ลักษณะเช่นนี้ดานหนึ่งจะส่ งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติสมาชิก แต่อีกด้านหนึ่ งก็จะมีความเสี่ ยง ้ ของประเทศที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการผสานเศรษฐกิจเข้ากับกลุ่มอาเซี ยน หลังจากวิกฤตเศรษฐกิจรอบล่าสุ ดในปี 2551 เศรษฐกิจโลกกลับมาฟื้ นตัวอย่างช้าๆ และเต็มไปด้วย ความขัดแย้ง หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็ นปั ญหาทางการเงินในหลายพื้นที่อนเป็ นผลสื บเนื่องมาจาก ั ความพยายามในการแก้ไขปั ญหาวิกฤตก่อนหน้าในประเทศตะวันตกทั้งในสหรัฐและยุโรป 14
  • 15. เวียดนามตั้งเป้ าจะพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัยในปี 2563 และเพื่อให้บรรลุ ั เป้ าหมายดังกล่าว รัฐบาลเวียดนามจึงมีภารกิจที่จะต้องฝ่ าฟันให้ได้ 3 ประการ คือ 1) ต้องพัฒนาเศรษฐกิจระบบสังคมนิยมแบบตลาด (Socialist-oriented market economy) ให้ได้ กล่าวคือ จะต้องสร้างสภาพแวดล้อมของการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่สมบูรณ์แบบ และมีการปฏิรูประบบ การบริ หารเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 2) ต้องเร่ งพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ได้คุณภาพสู งขึ้น โดยผ่านระบบการศึกษาและเทคโนโลยี 3) ต้องสร้างโครงสร้างพื้นฐานและสิ่ งอานวยความสะดวกอย่างครบถ้วน มีโครงการที่ทนสมัย ั สร้างโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่สาหรับภาคเมือง และสร้างระบบการขนส่ งที่เพียงพอ เพื่อเชื่อมโยงภูมิภาค ต่างๆ ของประเทศเข้าด้วยกัน รัฐบาลเวียดนามมุ่งเน้นการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ และการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ นั้นมุ่งไปใน 5 แนวทาง ดังนี้ 1) เร่ งกระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมและความทันสมัย ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมและภาคบริ การให้มี สัดส่ วนในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศให้มากยิงขึ้น แต่ในยุทธศาสตร์ ระยะยาวต้องสร้างภาคเกษตร ่ ั ่ เพื่อให้เป็ นฐานให้กบความมันคงทางสังคม สร้างความมันคงทางอาหาร และส่ งเสริ มชีวตความเป็ นอยูของ ิ ่ ่ เกษตรกร 2) ปรับโครงสร้างทางด้านการผลิตและการบริ การ โดยการเน้น Supporting Industry และการบริ การ คุณภาพสู ง เพื่อทาให้เวียดนามมีผลิตภัณฑ์ที่แข่งขันได้ในตลาดโลก ใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุ งการผลิต ั ภาคเกษตร สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบสิ นค้าเกษตร และเพิ่มผลผลิตต่อไร่ เฉลี่ยให้สูงขึ้น 3) ปรับโครงสร้างวิสาหกิจ ปรับปรุ งรัฐวิสาหกิจ และพัฒนาวิสาหกิจเอกชน เพื่อให้สามารถเพิ่ม ศักยภาพในการผลิตให้มีคุณภาพและมีประสิ ทธิภาพ 4) ให้ความสาคัญกับตลาดภายในประเทศมากขึ้น และสร้างเครื อข่ายการกระจายสิ นค้า ภายในประเทศมากขึ้น เพื่อใช้เป็ นฐานในการเข้าถึงตลาดโลก เพิมตลาดส่ งออก และหาประโยชน์จากความ ่ ตกลงการค้าเสรี มากขึ้น 5) ปรับปรุ งกลไกการลงทุนและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการลงทุน โดยรัฐจะเน้นการลงทุนในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม สนับสนุนการผลิตที่มีมูลค่าเพิ่ม อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่สะอาด จากัดอุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมที่ใช้พ้ืนที่และพลังงานมาก และละทิ้งการลงทุนในเทคโนโลยีต่าซึ่ งทาลายสิ่ งแวดล้อม 15
  • 16. โดยสรุ ปแล้วทิศทางการพัฒนาของเวียดนามจะเปลี่ยนจากเศรษฐกิจที่เติบโตจากการพึ่งพิงเงินลงทุน จานวนมาก ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรบุคคลคุณภาพต่า ไปสู่ เศรษฐกิจที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ ที่อาศัยเทคโนโลยี ใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสู ง และใช้ทกษะการจัดการที่ทนสมัย ทั้งนี้ รัฐบาลเวียดนาม ั ั ได้กาหนดเป้ าหมายระยะสั้นในปี แรกของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาปี 2554-2563 ดังนี้ 1) สร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาคและควบคุมเงินเฟ้ อ 2) เริ่ มต้นปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจและเปลี่ยนแบบแผนความเติบโตทางเศรษฐกิจ 3) สร้างเงื่อนไขที่เอื้อต่อการลงทุนในการผลิต พัฒนาธุ รกิจ และขยายตลาด 4) เน้นการพัฒนาภาคสังคมเพื่อลดความยากจนและการสร้างงาน 5) กระตุนกลไกทางด้านการจัดการ ผสานภาคส่ วนทางเศรษฐกิจต่างๆ เข้าด้วยกัน ทบทวนแผน ้ การกระจายอานาจเพื่อให้มนใจว่าการบริ หารจัดการจากส่ วนกลางในส่ วนของการดาเนิ นงานตามแผนพัฒนา ั่ ต่างๆ นั้นเป็ นไปอย่างเข้มแข็งเพียงพอ แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติของเวียดนาม (ปี 2554-2563) นายกรัฐมนตรี ของเวียดนาม (H.E. Nguyen Tan Dung) ได้แถลงว่าในปี 2554 รัฐบาลจะให้ ความสาคัญ กับการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค แก้ไขปั ญหาเงินเฟ้ อ ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ พัฒนาระบบ สวัสดิการทางสังคม (ระบบประกัน การศึกษา และบริ การสุ ขภาพ) เพื่อให้การเจริ ญเติบโต ของประเทศเป็ นไปอย่าง ยังยืน โดยมีแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติระยะเวลา ่ 10 ปี (ปี 2554-2563) ซึ่งมี เป้ าหมายที่จะทาให้เวียดนามเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัย (modern ั industrialized country) ภายในปี 2563 โดยมีระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม ็ ั ในปี 2553 เวียดนามมีการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสู งคือร้อยละ 6.78 แต่กมีอตราเงินเฟ้ อ สู งถึงร้อยละ 11.75 ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนที่มีความผันผวนทาให้เกิด แรงกดดันอย่างมากต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการผลิตในประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมดังกล่าว จึงให้มุ่งเน้นการส่ งเสริ มภาคธุ รกิจ การลงทุนจากต่างประเทศ การปฏิรูประบบบริ หารของภาครัฐและ ั สิ่ งแวดล้อม การพัฒนาเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์กบนานาประเทศ โดยการเข้าร่ วมเป็ น สมาชิก WTO สาหรับภาคธุ รกิจที่รัฐบาลจะให้การสนับสนุน ได้แก่ ภาคการท่องเที่ยว การขนส่ ง โลจิสติกส์ และ การบริ การท่าเรื อ และภาคการเกษตร ซึ่ งรวมถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ที่จาเป็ นต่อการเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ นอกจากนี้ รัฐบาลเวียดนามได้ประกาศว่าจะแก้ไขปั ญหา ความยากจนโดยยกระดับเส้นแบ่งความยากจน (poverty line) ของประชากรในเขตเมองจากเดือนละ 260,000 ด่อง (455บาท) เป็ น 500,000 ด่อง (875 บาท) และในพื้นที่อื่นๆ จากเดือนละ 200,000 ด่อง (350 บาท) เป็ น 400,000 ด่อง (700บาท) เพื่อให้การพัฒนาทางเศรษฐกิจสมดุลกับการพัฒนาทางสังคมและ วัฒนธรรมที่มีความเสมอภาค 16
  • 17. ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ภาพรวมเศรษฐกิจเวียดนามนั้นมีการเติบโตในอัตราที่ค่อนข้างสู งมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี 2543 เป็ นต้นมา จากการรายงานของสานักงานสถิติแห่งชาติเวียดนาม ในปี 2555 เป็ นปี สุ ดท้ายของการบังคับใช้ ่ แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาฉบับก่อน เวียดนามมีอตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศอยูใน ั ่ ระดับร้อยละ 6.8 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2552 ซึ่ งมีการเติบโตค่อนข้างต่า คือ อยูในระดับร้อยละ 5.32 เป็ นผล สื บเนื่องมาจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลกในช่วงก่อนหน้านี้ ธนาคารพัฒนาเอเชียรายงานว่า การฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจในปี 2553 เป็ นผลโดยตรงจากการฟื้ นตัว ทางเศรษฐกิจของโลก ประกอบกับผลของมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลเวียดนามเอง นอกจากนี้ ้ การเติบโตของการบริ โภคภายในประเทศที่ค่อนข้างสู ง ส่ งผลให้เกิดการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้นด้วย เศรษฐกิจของเวียดนามในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ขยายตัวในอัตราที่ต่ากว่าการขยายตัวในช่วง เดียวกันของปี 2554 โดย GDP ขยายตัวเพียงร้อยละ 4 ทั้งนี้ เนื่องมาจากมาตรการที่เข้มงวดของภาครัฐในการ ควบคุมการปล่อยสิ นเชื่ อทางธุ รกิจทาให้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมขาดเงินทุนหมุนเวียนต้องปิ ดกิจการ เป็ นจานวนมากในช่วงปลายปี 2554 และต้นปี 2555 นอกจากนี้ ยังมีปริ มาณสิ นค้าคงเหลือในสต๊อกจานวน มากที่ยงไม่สามารถส่ งออกไปต่างประเทศได้ ั อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วดทางเศรษฐกิจมหภาคอื่นๆ ได้แสดงให้เห็นว่าในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ั เศรษฐกิจของเวียดนามมีแนวโน้มที่ดีข้ ึน ตัวอย่างเช่น ความมีเสถียรภาพของเงินสกุลท้องถิ่นในช่วงที่กล่าว ้ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศค่อนข้างนิ่ง ไม่แกว่งตัวเหมือนปี 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินกูที่ลดลง สภาพคล่องของธนาคารพาณิ ชย์ การฟื้ นตัวของตลาดหลักทรัพย์ และการเพิมขึ้นของเงินสารองเงินตรา ่ ั ต่างประเทศ ล้วนเป็ นปั จจัยที่ส่งผลในเชิงบวกให้กบเศรษฐกิจโดยรวมของเวียดนาม ปั ญหาสาคัญประการหนึ่งของเศรษฐกิจเวียดนาม คือ มีอตราเงินเฟ้ อที่ค่อนข้างสู ง กล่าวคือ สู งถึง ั ร้อยละ 18.6 ในปี 2554 ปั ญหาเงินเฟ้ อสร้างความวิตกกังวลในหมู่ประชาชนทัวไป คือ อานาจการซื้ อ ่ ของพวกเขาจะลดต่าลง เพราะปัญหาอีกประการหนึ่ง คือ เงินด่องของเวียดนามมีค่าลดลงเรื่ อยๆ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับทองคาและเหรี ยญสหรัฐ แต่ทางการเวียดนามมีศกยภาพที่จะพยุงค่าเงินด่องไม่สูงนัก ั เนื่องจากมีสารองเงินตราต่างประเทศน้อย กล่าวคือ มีประมาณ 14,300 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (สิ้ นปี 2554) แหล่งรายได้หลักของเศรษฐกิจเวียดนามมาจากการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเป็ นสาคัญ การค้าเวียดนามฟื้ นตัวขึ้นตามการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจของโลก ปี 2553 มูลค่าการส่ งออกเพิ่มร้อยละ 26.4 (คิดตามเงินเหรี ยญสหรัฐ) ส่ วนที่เพิ่มจะมาจากสิ นค้าประเภทสิ่ งทอ รองเท้า ชิ้นส่ วนอิเลคทรอนิกส์ และ คอมพิวเตอร์ แต่การนาเข้าของเวียดนามในปี ค.ศ. 2010 เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 อันเนื่องมาจาการนาเข้าสิ นค้าทุน รายได้จากการส่ งเงินกลับบ้านของชาวเวียดนามโพ้นทะเล (เวียดเกี่ยว) และการท่องเที่ยวเป็ นแหล่ง รายได้หลักอีกทางหนึ่ง ส่ วนการลงทุนจากต่างประเทศในปี 2543 มีท้ งสิ้ น 7.1 พันล้านเหรี ยญสหรัฐเพิ่มขึ้น ั ร้อยละ 3 เวียดนามอนุมติการลงทุนทั้งสิ้ น 18.6 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ ต่ากว่าปี 2542 ธนาคารพัฒนาเอเชีย ั 17
  • 18. รายงานว่า เป็ นผลสื บเนื่องมาจากทิศทางของนโยบายเกี่ยวกับการลงทุนจากต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของ เวียดนามเอง นโยบายต่ างประเทศ แนวนโยบายต่างประเทศตามที่กาหนดโดยที่ประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์ ครั้งที่ 11 เมื่อ เดือนมกราคม 2554 นั้น ได้วางหลักการสาคัญของนโยบายต่างประเทศเวียดนาม คือ ต้องดาเนินไปเพื่อความ เป็ นเอกราช พึ่งตนเอง สันติภาพ ความร่ วมมือ และการพัฒนา นโยบายต่างประเทศเวียดนามจะเน้น การเปิ ด กว้าง ความหลากหลาย และเน้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบพหุ ภาคี เวียดนามจะร่ วมผสานเศรษฐกิจ กับสากลอย่างแข็งขันโดยขยายความร่ วมมือในด้านต่างๆ อย่างรอบด้าน เวียดนามจะเป็ นมิตรและเป็ น หุ นส่ วนกับทุกประเทศในชุมชนนานาชาติ จะร่ วมมืออย่างจริ งจังกับกระบวนการความมือทั้งระดับสากลและ ้ ระดับภูมิภาค กิจกรรมทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของเวียดนาม คือ การรักษาสภาพแวดล้อมที่มีสันติภาพ สร้างเงื่อนไขระหว่างประเทศให้เอื้ออานวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรมแห่งชาติ และ ั ความทันสมัย เวียดนามจะสร้างความมันคงให้กบการป้ องกันประเทศ ในขณะที่จะมีส่วนร่ วมกับประชาคม ่ โลกในการสร้างสรรค์สันติภาพ ความเป็ นเอกราชแห่งชาติ ประชาธิ ปไตย และความก้าวหน้าทางสังคม ั เวียดนามมีนโยบายในการสร้างเสถียรภาพที่ยงยืนให้กบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สร้าง ั่ ั ความสัมพันธ์กบประเทศ และองค์กรต่างๆ ของโลก ภายใต้หลักการแห่งความเป็ นเอกราช อานาจอธิ ปไตย และบูรณภาพแห่งดินแดน ไม่แทรกแซงกิจการภายในของชาติอื่น ไม่ใช้หรื อสร้างภัยคุกคามด้วยกาลังทหาร แต่จะแก้ไขความขัดแย้งโดยการเจรจาอย่างสันติวธี ด้วยความเคารพ ความเสมอภาค และเพื่อผลประโยชน์ ิ ร่ วมกัน ในฐานะที่ยงดารงความเป็ นรัฐแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เวียดนามมีนโยบายต่างประเทศที่จะให้ ั การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ กรรมาชีพ พรรคการเมืองฝ่ ายซ้าย ขบวนการต่อสู ้เพื่อความเป็ นเอกราช ั ่ ขบวนการปฏิวติทวโลก ในขณะเดียวกันก็ตองรักษาความสัมพันธ์กบพรรคการเมืองที่อยูในอานาจด้วย ั ั่ ้ พร้อมกับพัฒนาความสัมพันธ์ของประชาชนต่อประชาชนภายนอก การมีส่วนร่ วมกับเวทีประชาชนต่างๆ และมีส่วนร่ วมกับการต่อสู ้เพื่อสันติภาพ ความเสมอภาค การพัฒนาที่ยงยืน ประชาธิ ปไตย และความก้าวหน้า ั่ ทางสังคม เพิ่มความพยายามในการแสวงหาความช่วยเหลือ และเพิ่มคุณภาพของความร่ วมมือกับองค์กร พัฒนาเอกชนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม เวียดนามมีแนวนโยบายต่างประเทศในการต่อสู ้เพื่อสิ ทธิ มนุษยชนร่ วมกัน รัฐบาลเวียดนามพร้อม ที่จะเจรจากับประเทศและองค์กรสากลต่างๆ ในปั ญหาสิ ทธิ มนุษยชน แต่จะต่อต้านการบิดเบือนประเด็น ทางด้านสิ ทธิมนุษยชน ประชาธิ ปไตย ศาสนา และชาติพนธุ์ เพื่อมาแทรกแซงกิจการภายในของเวียดนาม ั หรื อเพื่อทาลายความเป็ นเอกราช อธิ ปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน ความมันคง และเสถียรภาพทางการเมือง ่ ของเวียดนาม 18
  • 19. เวียดนามมีนโยบายต่างประเทศในการผลักดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ บูรณาการ เศรษฐกิจของเวียดนามกับเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจระดับภูมิภาค และสถาบันเศรษฐกิจระดับทวิภาคีอื่นๆ เวียดนามจะบูรณาการเศรษฐกิจแห่งชาติเข้ากับเศรษฐกิจสากล ตามแผนยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมและ วิสัยทัศน์ปี 2563 (มุ่งสู่ ความเป็ นประเทศอุตสาหกรรมที่ทนสมัย) เตรี ยมการที่เหมาะสมในการเข้าร่ วมลงนาม ั ในความตกลงความร่ วมมือทางด้านเศรษฐกิจต่างๆ ส่ งเสริ มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศอาเซียนใน ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก รวมถึงความร่ วมมือทางเศรษฐกิจแบบทวิภาคี ใช้ประโยชน์จากการเป็ นสมาชิก องค์กรการค้าโลก เวียดนามจะมุ่งปรับปรุ งสถาบันทางเศรษฐกิจของตนเอง ปรับปรุ งและแก้ไขระเบียบกฎหมายต่างๆ เพื่อให้มีเสถียรภาพและโปร่ งใส ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจเพื่อดึงดูดและเพิ่มพูนการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign direct investment) ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาอย่างเป็ นทางการ (Official Development Assistance) การลงทุนในหุน (portfolio investment) และแหล่งทุนอื่นๆ ให้ไหลเข้าสู่ ้ เวียดนามมากขึ้น เวียดนามมีนโยบายที่จะกาหนดเป้ าหมายการใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาให้ชดเจน ั แน่นอน ปรับปรุ งรู ปแบบการบริ หารจัดการ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ชาระหนี้คืนอย่างตรงเวลา และกาหนด สัดส่ วนหนี้ต่างประเทศให้เหมาะสม เวียดนามจะส่ งเสริ มการเผยแพร่ วฒนธรรมของตนเองในต่างประเทศ ส่ งเสริ มการเผยแพร่ ขอมูล ั ้ ข่าวสาร เพื่อช่วยส่ งเสริ มมิตรภาพความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของเวียดนามกับต่างประเทศ เวียดนามจะ ั ทาการฝึ กอบรมบุคลากรที่ทางานทางด้านความสัมพันธ์กบต่างประเทศให้มีความชัดเจนทางการเมือง มีทกษะในการใช้ภาษาต่างประเทศได้อย่างเหมาะสม มีมาตรฐานสู ง และมีจริ ยธรรมอย่างเพียงพอ ั แนวทางในการรับความช่ วยเหลือ ตามกรอบยุทธศาสตร์ การรับความช่วยเหลือต่างประเทศช่วง 5 ปี (ระหว่างปี 2554-2558) นั้น เวียดนามต้องการใช้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญส่ วนหนึ่งในการสร้างความ เติบโตทางเศรษฐกิจให้ได้เฉลี่ยร้อยละ 7 - 7.5 ต่อปี และเพื่อสร้างการพัฒนาที่ทนสมัยผ่านโครงการต่างๆ ั โดยมุ่งสร้างเครื อข่ายการขนส่ งและโครงการต่างๆ ในการพัฒนาเมือง เวียดนามต้องการที่จะดึงเงินทุนจากแหล่งต่างๆ ให้ได้ถึงร้อยละ 40 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของแผนยุทธศาสตร์ ดงกล่าว กล่าวคือ โดยเฉลี่ยให้มีการเติบโต ั ของเงินทุนจากความช่วยเหลือต่างประเทศในรู ปแบบต่างๆ ร้อยละ 16 ต่อปี ่ จากความสาเร็ จในการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะที่ผานมา นับตั้งแต่การเริ่ มปฏิรูปเศรษฐกิจในปี 2529 เป็ นต้นมา ทาให้ปัจจุบนเวียดนามเป็ นประเทศที่มีฐานะเป็ นประเทศมีรายได้ระดับกลางถึงต่า (Lower Middle ั Income Country – MIC) ซึ่ งจะทาให้ประเทศต่างๆ ที่จะให้ความช่วยเหลือจะต้องปรับเปลี่ยนแนวทางในการ 19
  • 20. ให้ความช่วยเหลือใหม่ ในขณะที่เวียดนามเองก็จาเป็ นจะต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ และแนวทางในการรับ ความช่วยเหลือด้วยเช่นกัน เพื่อให้สอดรับกับฐานะทางเศรษฐกิจ ประเทศที่พฒนาแล้วจานวนหนึ่งได้ปรับเปลี่ยนแนวทางการให้ความช่วยเหลือเวียดนามจากเน้น ั การให้เปล่าเป็ นการสร้างความสัมพันธ์แบบหุ นส่ วนเพื่อให้ความร่ วมมือเพิ่มขึ้นและลดความช่วยเหลือแบบ ้ ให้เปล่าลง สถาบันทางการเงินระหว่างประเทศจานวนมาก เช่น ธนาคารโลกและธนาคารพัฒนาเอเชีย ได้ใช้ รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรเป็ นเกณฑ์สาคัญในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือทางเงินประเภท concession loan และในอนาคตนั้นความช่วยเหลือทางการเงินประเทศนี้จะน้อยลงเรื่ อยๆ ตามระดับของการพัฒนา เศรษฐกิจของเวียดนาม ดังนั้น เวียดนามจึงมีความจาเป็ นต้องปรับแผนยุทธศาสตร์ ในช่วงระยะเวลา 5 ปี (2554-2558) โดย จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาในเรื่ องต่อไปนี้เป็ นสาคัญ 1) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ โครงการที่ใช้เทคโนโลยีที่ทนสมัย และโครงการ ั ทางด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยโครงการเหล่านี้มี 5 ประเภทด้วยกัน คือ (1) โครงการทางด้านการขนส่ ง เช่น ทางด่วน สนามบิน ท่าเรื อ ฯลฯ (2) โครงการพัฒนาพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม พลังงานใหม่หรื อพลังงานหมุนเวียน (3) โครงการพัฒนาการสื่ อสารโดยเฉพาะอย่างยิงในพื้นที่ชนบท ่ (4) การพัฒนาสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพอนามัยในเขตเมือง เช่น โครงการประปา การขนส่ งในเมือง การกาจัดน้ าเสี ยและขยะ (5) พัฒนาเทคโนโลยีระดับสู งสาหรับภาคเกษตร แหล่งน้ าขนาดใหญ่ การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานสาหรับภาคชนบท และการพัฒนาโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับภาคเกษตร เพื่อปรับปรุ งชีวต ิ ่ ความเป็ นอยูของประชาชนในภาคเกษตรและภาคชนบท 2) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ งเวียดนามจะให้ความสาคัญกับการ พัฒนาสถาบันการศึกษา ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย วิทยาลัย อาชีวศึกษา และสถาบันทางด้านสาธารณสุ ข โดยเฉพาะโรงพยาบาลทันสมัยที่ได้มาตรฐานสากล นอกจากนี้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนานั้นควรใช้เพื่อสนับสนุนแผนการของรัฐบาลในการขจัด ความยากจน โครงการทางด้านความมันคงทางสังคม การควบคุมโรคร้ายเช่น HIV/AIDS การพัฒนาชนบท ่ และการเกษตร 20
  • 21. 3) เพื่อสนับสนุนโครงการทางด้านสิ่ งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้เทคโนโลยี ที่รักษาสิ่ งแวดล้อมหรื อที่รู้จกกันในนามเทคโนโลยีสีเขียว ั 4) เพื่อสนับสนุนการปรับปรุ งกฎหมายและสถาบัน เพื่อให้ตรงและทันกับระดับการพัฒนา ที่เปลี่ยนแปลงไป ปรับปรุ งคุณภาพของนักวิจยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปรับปรุ งการบริ หารงาน ั ภาครัฐ เพื่อให้คุณภาพการให้บริ การสาธารณะดียงขึ้น ิ่ ั นอกจากนี้ ความช่วยเหลือประเภทที่เป็ น less concessional loan จะนาไปใช้กบโครงการในภาคส่ วน ที่ให้ผลตอบแทนสู ง เพื่อช่วยสร้างงาน กระตุนเศรษฐกิจ และการลดทอนความยากจน ้ ในส่ วนของผูใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือนั้นจะเน้นรู ปแบบของการดาเนินงานร่ วมกันระหว่าง ้ ภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership – PPP) มากขึ้น บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการความช่ วยเหลือเพือการพัฒนา ่ รัฐบาลมีหน้าที่ในการตัดสิ นในเรื่ องยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนการ และแสวงหาประโยชน์จากความ ช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ใช้อานาจนายกรัฐมนตรี ในการอนุมติคาขอโครงการต่างๆ ออกกฎหมายเพื่อบริ หาร ั จัดการโครงการจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาตามอานาจหน้าที่ ทาหน้าที่ในการบริ หารจัดการโครงการ ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาในระดับมหภาค นอกจากรัฐบาลแล้วมีกระทรวงและหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริ หารจัดการความช่วยเหลือ เพื่อการพัฒนาจากต่างประเทศดังนี้ 1) กระทรวงแผนการและการลงทุน ทาหน้าที่เป็ นจุดศูนย์กลางการประสานงาน เป็ นหน่วยงานหลัก ในการทาแผนยุทธศาสตร์ ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา จัดทาร่ างกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้ทิศทาง กับหน่วยงานเจ้าของโครงการ ไปจนถึงการประเมินผลโครงการโดยรวมระดับมหภาค 2) กระทรวงการคลัง ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านยุทธศาสตร์ และ นโยบายความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ให้แนวทางในการจัดการทางด้านการเงิน เป็ นหน่วยงานหลักในการ เตรี ยมการเจรจากับประเทศผูบริ จาคตามที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย กระทรวงการคลังจะเป็ นผูแทนของ ้ ้ ่ รัฐบาลเวียดนามในฐานะ “ผูกยม” ตามสัญญา ถึงแม้วาในบางกรณี นายกรัฐมนตรี จะมอบหมายให้หน่วยงาน ้ ู้ ื ้ อื่นเป็ นผูเ้ จรจาเงื่อนไขเงินกูก็ตาม แต่โดยหลักแล้วกระทรวงการคลังจะทาหน้าที่ในการจัดการเงินผ่านเข้า และออกสาหรับโครงการจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา 3) กระทรวงยุติธรรม ทาหน้าที่ในการดูแลสัญญากับต่างประเทศ ให้ความเห็นทางกฎหมายเกี่ยวกับ สัญญานั้นๆ 4) ธนาคารกลางเวียดนาม ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดเตรี ยมสาระ ของการเจรจา ทาหน้าที่เป็ นผูเ้ จรจาหลักกับสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงิน 21
  • 22. ระหว่างประเทศ และธนาคารพัฒนาเอเชีย ประสานงานกับกระทรวงการคลังเพื่อกาหนดว่าธนาคารพาณิ ชย์ ใดจะเป็ นผูโอนหรื อรับโอนเงินช่วยเหลือ ้ 5) กระทรวงการต่างประเทศ ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแสวงหา ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ มีส่วนร่ วมในการเจรจา ให้ความเห็นในร่ างสัญญา 6) สานักงานทาเนียบรัฐบาล ทาหน้าที่ช่วยเหลือนายกรัฐมนตรี ในการตัดสิ นในเรื่ องยุทธศาสตร์ และ นโยบายตามอานาจหน้าที่ของรัฐบาล 7) กระทรวงอื่นๆ และคณะกรรมาธิ การระดับจังหวัด ทาหน้าที่ประสานกับกระทรวงแผนการและ การลงทุนในโครงการที่ตนเสนอและเกี่ยวข้อง กฎหมายและระเบียบว่าด้ วยการจัดการและใช้ ประโยชน์ ความช่ วยเหลือเพือการพัฒนา ่ เวียดนามมีกฎหมาย ระเบียบ และคาสังหลายฉบับเพื่อใช้ในการกากับการจัดการและใช้ประโยชน์ ่ จากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา โดยกฎหมายที่ใช้เป็ นหลักในปั จจุบนนั้นเป็ นกฤษฎีกา (Decree) ว่าด้วย ั ระเบียบการจัดการและการใช้ประโยชน์จากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา โดยประกาศใช้เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2549 แทนฉบับเก่าที่ออกในปี 2544 ่ กฤษฎีกาที่วาด้วยระเบียบนี้มีสาระสาคัญ คือ มีการกาหนดลาดับความสาคัญของภาคเศรษฐกิจต่างๆ ที่จะใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือจากการพัฒนา ซึ่ งส่ วนหนึ่งก็จะล้อไปกับแผนยุทธศาสตร์ ในการรับความ ช่วยเหลือ โดยกฤษฎีกานั้นให้ความสาคัญกับภาคเกษตร การพัฒนาชนบท การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน สาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ทนสมัย การสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม เช่นการศึกษา สาธารณสุ ข ั และการปกป้ องคุมครองสิ่ งแวดล้อม การสร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แต่มี ้ การเปิ ดช่องให้รัฐบาลได้ใช้ดุลยพินิจได้ดวย โดยหากโครงการอื่นใดที่นายกรัฐมนตรี ตดสิ นใจว่ามี ้ ั ความสาคัญลาดับต้นๆ ก็สามารถใช้เงินทุนจากความช่วยเหลือในโครงการเหล่านั้นได้ ่ โครงสร้างทางองค์กรในการบริ หารงานความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนานั้นอยูภายใต้การกากับดูแล ของกระทรวงแผนการและการลงทุน หน่วยงานอื่นใดที่จะขอความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาจากต่างประเทศ ่ ่ จะต้องส่ งโครงการ (ซึ่ งมีระเบียบวิธีวาด้วยการเสนอโครงการ) ซึ่ งอยูในแผนการที่ได้กาหนดเอาไว้แล้ว ตามลาดับความสาคัญในแผนยุทธศาสตร์ ต่อกระทรวงแผนการ และกระทรวงแผนการฯ จะเสนอต่อไปยัง นายกรัฐมนตรี เพื่อตัดสิ นใจต่อไป เมื่อโครงการผ่านการอนุมติตามความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี และประเทศหรื อองค์กรผูบริ จาค ั ้ แล้ว กระทรวงแผนการฯ ก็จะทาหน้าที่ในการประสานการดาเนินโครงการ กฤษฎีกาว่าด้วยระเบียบการบริ หารจัดการความช่วยเหลือนั้นมีระเบียบค่อนข้างละเอียดว่าด้วยการ จัดทาคาร้องขอเงินทุนจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาสาหรับโครงการประเภทต่างๆ ในกรณี ที่ได้สรุ ป โครงการแล้วจาเป็ นจะต้องลงนามในสัญญากับประเทศหรื อองค์กรผูบริ จาค ศาลประชาชนสู งสุ ดจะเข้ามามี ้ 22