SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
Download to read offline
นายพรเทพ สาระคนธ์ เลขที่ 3
นายบุญฤทธ์ จิลลาวัณย์ เลขที10
                            ่
     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/1
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย
                  
      เดิมนั้นยูโกสลาเวียอยู่ใต้อาณัติของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีซึ่ง
ขณะนั้นมีเพียงเซอร์เบียและมอนเตเนโกรที่เป็นรัฐอิสระ ต่อมาเมื่อ ค.ศ.
1918 ทั้งฝ่ายเซอร์เบีย โครเอเชีย และสโลวีเนียได้รวมตัวกันภายใต้ชื่อ
“ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย” ปกครองโดยกษัตริย์อเล็กซานเดอร์แห่ง
เซอร์เบีย ถึง ค.ศ. 1934 กษัตริย์อเล็กซานเดอร์ถูกปลงพระชนม์
มกุฎราชกุมารเป็นรัชทายาท แต่อยู่ภายใต้การดูแลของคณะผู้สาเร็จราชการ
แทนพระองค์

การล่มสลายของยูโกสลาเวีย
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
           
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
     ค.ศ. 1944 จอมพลโจซิฟ ติโต้ ซึ่งเป็นคอมมิวนิสต์เข้ายึดยูโกสลาเวีย
แล้วแต่งตั้งตัวเองเป็นนายกรัฐมนตรีจัดการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น
“สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย” จอมพลติโต้นี้เองที่ถือเป็นบุรุษ
เหล็กสามารถทาให้ยูโกสลาเวียรวมตัวกันได้เหนียวแน่น ซึ่งประกอบไปด้วย
6 สาธารณรัฐ ได้แก่ โครเอเชีย สโลวีเนีย เซอร์เบียมอนเตเนโกร มาซิโดเนีย
บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา(ซึ่งต่อมาก็แยกตัวออกเป็นคนละประเทศ)
นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีอีก 2 มณฑลอิสระคือ โคโซโวและวอยวอดินา
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
      ปัญหาที่เกิดขึ้นในยูโกสลาเวียเป็นเรื่องของเชื้อชาติ ศาสนา
ประวัติศาสตร์ เช่น สโลวีเนียและโครเอเชียตั้งอยู่ทางตะวันตกและทางเหนือ
เคยอยู่ในอาณัติของอาณาจักรโรมันก่อนจะสืบทอดมาถึงจักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการี วัฒนธรรมส่วนใหญ่จึงค่อนไปทางยุโรป เป็นศาสนาคริสต์
นิกายโรมันคาทอลิก ส่วนรัฐอื่นๆตั้งอยู่ทางใต้
เคยอยู่ใต้การปกครองของอาณาจักรไบแซนไทน์และจักรวรรดิออตโตมาน
พื้นฐานของวัฒนธรรมเป็นแบบมุสลิม บ้างก็ไปข้างศาสนาคริสต์นิกายออร์
โธด็อกซ์
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
      นี่เป็นการพูดถึงพื้นฐานอย่างกว้างๆซึ่งเป็นต้นตอของความขัดแย้งที่
ดารงอยู่ลึกๆตลอดเวลาแม้จะรวมตัวเป็นประเทศเดียวกัน
      จอมพลโจซิฟ ติโต้จะบอกให้เขาเป็นคอมมิวนิสต์ก็ได้ เป็นจอมเผด็จ
การก็ได้ แต่ต้องยอมรับอยู่อย่างหนึ่งที่ติโต้สามารถสร้างเอกภาพของความ
แตกต่างหลากหลายในแต่ละสาธารณรัฐให้รวมตัวเป็นประเทศหนึ่งเดียวได้
เคยมีผู้นิยมชมชอบความสามารถของติโต้เกี่ยวกับเรื่องนี้สะท้อนความเห็น
ว่าเอกภาพทั้งหมดที่ทาให้ยูโกสลาเวียรวมตัวกันอยู่ได้นานน่าจะมี 3-4 เหตุ
ปัจจัย ซึ่งจะจริงหรือไม่จริงไม่ทราบ? แต่ผมว่าน่าสนใจรับฟังเอาไว้
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
           
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
                  
1. คงเป็นบารมีส่วนตัวของติโต้ รวมทั้งการใช้อานาจอย่างเด็ดขาดและ
 เข้มแข็งในสไตล์เผด็จการ องค์ประกอบเหล่านี้ทาให้เขาสามารถกดอานาจ
 อื่นๆเอาไว้ได้
2. การที่เขาเป็นกึ่งคอมมิวนิสต์และกึ่งเผด็จการ เข้าใจว่าการใช้อุดมการณ์
 สังคมนิยมเป็นลัทธิและระบอบในการครอบงาปกครองประเทศ เพราะการ
 หล่อหลอมโดยหลักการสังคมนิยมนั่นเองอาจเป็นอีกปัจจัยที่สามารถกดและ
 ทาให้แต่ละสาธารณรัฐไม่อาจคิดไปเป็นอื่นหรือแยกตัวเองออกไป
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
                  
3. การปกครองของติโต้นั้นเป็นการผูกขาดทางอานาจ เขาประกาศใช้
 รัฐธรรมนูญให้ตัวเองเป็นผู้นาตลอดกาลเงื่อนไขเช่นนี้จึงเท่ากับเป็นการ
 ควบคุมอานาจเอาไว้อย่างเบ็ดเสร็จยากที่ใครจะกระด้างกระเดื่องสี่…น่าจะ
 มีส่วนจากอิทธิพลบารมีของสหภาพโซเวียตในตอนนั้นซึ่งคอยช่วยเหลือ
 ประคับประคองต่อกัน
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
       จนกระทั่ง ค.ศ. 1980 จอมพลติโต้ถึงแก่อสัญกรรม พลันนั้นรอยร้าว
ต่างๆที่สะสมตัวมานานทั้งด้านวัฒนธรรมศาสนา และประวัติศาสตร์ ก็ถึงจุด
ที่ระเบิดออก เริ่มจาก ค.ศ. 1989 เมื่อสโลโบดัน มิโลเซวิชได้รับเลือกตั้ง
เป็นประธานาธิบดี อีก 2 ปีถัดมาโครเอเชียและสโลวีเนียก็ประกาศเอกราช
ในช่วงที่มีการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ถัดไปอีกปีบอสเนีย-เฮอร์เซ
โกวีนาก็แยกตัวเป็นเอกราชอีก
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
     จากนั้นในแต่ละดินแดนก็วุ่นวายสับสน บางแห่งมีการสู้รบเข่นฆ่า
กันเองตายเป็นเบือ
     จนทุกวันนี้ยูโกสลาเวียถูกแยกออกเป็น 8 ประเทศผมมีข้อคิดว่า
อานาจผูกขาดที่มีมหาบุรุษอย่างติโต้เป็นศูนย์กลาง เมื่อมหาบุรุษสิ้นไป
พร้อมกับการล่มสลายของลัทธิที่ผูกติดอยู่กับศรัทธาของตัวบุคคลมันไม่มี
อะไรเป็นสายเส้นโยงใยยึดเอาไว้อีก ทุกอย่างที่เคยยิ่งใหญ่ก็ย่อมแตกสลาย
การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)
               
       จนกระทั่ง ค.ศ. 1980 จอมพลติโต้ถึงแก่อสัญกรรม พลันนั้นรอยร้าว
ต่างๆที่สะสมตัวมานานทั้งด้านวัฒนธรรมศาสนา และประวัติศาสตร์ ก็ถึงจุด
ที่ระเบิดออก เริ่มจาก ค.ศ. 1989 เมื่อสโลโบดัน มิโลเซวิชได้รับเลือกตั้ง
เป็นประธานาธิบดี อีก 2 ปีถัดมาโครเอเชียและสโลวีเนียก็ประกาศเอกราช
ในช่วงที่มีการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ถัดไปอีกปีบอสเนีย-เฮอร์เซ
โกวีนาก็แยกตัวเป็นเอกราชอีก

ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน
                
      สงครามระหว่างอิรักกับอิหร่านกินเวลายาวนาน 8 ปี ตั้งแต่ปี 2523
ถึง 2531 สร้างความเสียหายมหาศาลให้กับทั้งสองประเทศนามาสู่การ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างไม่คาดคิดใน
เวลาต่อมา
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                 
จุดเริ่มต้นของสงคราม
        จุดเริ่มของสงครามมาจากการโค่นล้มพระเจ้าชาห์ ปาฮ์เลวี โดยกลุ่ม
 ฝ่ายซ้าย กลุ่มเสรีนิยม และกลุ่มศาสนานาโดย อยาโตเลาะ โคไมนิทาให้
 สหรัฐต้องสูญเสียพันธมิตรทางทหารและดุลทางทหารในภูมิภาค ใน
 ขณะเดียวกันชาติอาหรับซุนหนี่มีความหวาดกลัวต่อการขยายของการปฏิวัติ
 อิสลาม โดยเฉพาะอิรักเพื่อนบ้านที่มีชาวชีอะเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
 ถึงร้อยละ 60แต่มีรัฐบาลเป็นชาวซุนนี่ ภายใต้การปกครองของพรรคบาธ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                 
ที่มี ซัดดัม ฮุสเซนเป็นประธานาธิบดีประกอบกับอิรักมีความขัดแย้งด้าน
 พรมแดนมาก่อนหน้านี้จึงนาไปสู่การทาสงครามระหว่างสองประเทศ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
      โดยทั่วไปแล้วการวิเคราะห์มุ่งเน้นไปที่การต่อต้านปฏิวัติอิหร่านโดย
การสนับสนุนชาติอาหรับซุนหนี่และสหรัฐ โดยให้อิรักเป็นแนวหน้าก็ตามแต่
ผลประโยชน์ของอิรักเป็นจุดสาคัญต่อการตัดสินใจของอิรักโดยเฉพาะ
ปัญหาบูรณภาพเหนือดินแดน แม่น้าชัทอัล อาหรับ ที่เป็นจุดสาคัญของ
ความขัดแย้งเกิดจากแม่น้าไทกริสและยูเฟรติสรวมกันก่อนไหลออกสู่อ่าว
เปอร์เซียความขัดแย้งของการอ้างสิทธิเหนือแม่น้าสายนี้สืบกลับไปถึงสัญญา
สันติภาพ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                   
      ในครั้งนั้น เป้าหมายของการทาสงครามของอิรัก คือ
การควบคุมแม่น้าชัต อัล อาหรับ
เกาะอบู มูซา เกาะเกรทเตอร์ และเลเซอร์ ตับส์ ของสหรัฐอาหรับ อิมิเรต
การผนวกคูเซสถาน
การต่อต้านการปฏิวัติอิหร่าน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
      ปี พ.ศ.2193 ระหว่างอาณาจักร อ๊อตโตมันกับเปอร์เซีย ในยุคอาณา
อาณานิคม มีความพยายามแก้ไขพิพาทนี้โดยอังกฤษเสนอให้ใช้ร่องน้าลึก
เป็นแนวเขตแดนแต่ฝ่ายอิรักไม่ยอม โดยมีต้องการให้เส้นพรมแดนอยู่ที่ฝั่ง
ของอิหร่านแต่ในที่สุดอิรักยอมลงนามในสัญญาอัลเจียร์ ยอมใช้ร่องน้าลึก
เป็นแนวเขตแดนภายใต้ความกดดันของสหรัฐที่หนุนหลังพระเจ้าชาร์ ปาฮ์
เลวี และอิหร่านคูเซสถานเป็นจังหวัดของอิหร่านติดกับจังหวัดบาสรา ของ
อิรัก และอ่าวเปอร์เซียจังหวัดนี้อุดมไปด้วยน้ามัน เมืองอบาดานมีโรงกลั่น
น้ามันขนาดใหญ่อังกฤษผนวกดินแดนให้กับอิหร่านในยุคอาณานิคม
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
ทาให้อิรักใช้เป็นข้ออ้างถึงอธิปไตย เกาะอบูมูซา เกาะเกรทเตอร์ และ
เลเซอร์ ตับส์ อยู่ในอ่าวเปอร์เซียใกล้แหลมฮอร์มูซมีการอ้างสิทธิระหว่าง
อิหร่านกับสหรัฐอาหรับอิมิเรต พระเจ้าชาร์ ปาฮ์เลวีแห่งอิหร่านได้อ้างสิทธิ
ครอบครองในปี
       พ.ศ.2514แต่ส่งผลให้อิรักตัดความสัมพันธ์กับอิหร่านเพื่อประท้วง
การครอบครองของอิหร่าน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
       จนถึงปี2522 เกิดปฏิวัติอิหร่านที่นาโดยแนวร่วมต่อต้านพระเจ้าชาร์
ในที่สุด อยาโตลาโคไมนิ ได้เข้าเป็นผู้นาของประเทศ จุดนี้อาจจะทาให้
ซัดดัม ฮุสเซน เห็นโอกาสในการโจมตีอิหร่าน จึงส่งกาลังรุกรานอิหร่านที่
นาไปสู่สงครามอันยาวนาน 22 กันยายน 2523 อิรักส่งทหาร 21 กองพล
รุกรานโจมตีลึกเข้าไปในดินแดนอิหร่าน เปิดแนวรบยาว 644 กิโลเมตร
เมืองสาคัญของอิหร่านใกล้กับปากแม่น้าชัท อัล อาหรับได้ความเสียหาย
อย่างหนักจากสงคราม เมืองอบาดานเมืองสาคัญด้านอุตสาหกรรมน้ามันถูก
อิรักยึดครอง แต่กองกาลังทหารอิหร่านต้านทานอย่างเข้มแข็งจนอิรักไม่
สามารถรุกคืบเข้าไป
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
       ระหว่างสงคราม สหรัฐสนับสนุนด้านยุทธปัจจัยและการส่งกาลังบารุง
ให้กับอิรักเมื่ออิหร่านโจมตีเรือบรรทุกน้ามันของอิรักชาติอาหรับอื่นปิดทาง
เให้อิรักส่งออกน้ามันที่เกาะคาร์ก (Khark)ชาติตะวันตกให้การ
สนับสนุนกับฝ่ายอิรักเกาหลีเหนือและอิสราเอลให้การสนับสนุนอิหร่าน
สหรัฐนอกจากจะให้การสนับสนุนอิรักอย่างเปิดเผยแล้ว
ยังให้การสนับสนุนฝ่ายอิหร่านอย่างลับๆด้วย รัสเซียให้ความสนับสนุนทั้ง
สองฝ่าย
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
       ด้านอิหร่าน ฝ่ายศาสนาใช้โอกาสนี้ สร้างด้วยกระแสคลั่งชาติ กวาดล้าง
หุ้นส่วนการปฏิวัติ คือผู้นาเสรีนิยมหลายคนต้องลี้ภัยไปต่างประเทศ พล
พรรคจานวนมากของพรรคมาร์กซิส ทูเดย์ถูกสังหาร กองกาลังฝ่ายซ้ายอะ
บอฮาสซาน บานิซาดี ถูกกวาดล้างพรรคแนวหน้าประชาธิปไตยแห่งชาติ นา
โดยอยาโตเลาะคาเซม ชาเรียมาดาริ ถูกยุบกองกาลังพิทักษ์การปฏิวัติที่ขึ้น
ต่อผู้นาศาสนาได้รับเสริมและขยายความเข้มแข็ง
       จนถึงปี 2530 จึงเริ่มเปิดการเจรจา จนกระทั่งลงนามในสนธิสัญญา
สงบศึกเมื่อ 26 สิงหาคม 2531 ฝ่ายอิรักต้องกลับไปเหมือนไม่มีอะไร
เกิดขึ้นนอกจากความเสียหาย
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                
ต้นทุนของสงคราม
        สงครามอิรัก-อิหร่านสร้างความสูญหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่าง
 มหาศาลอิหร่านมีความสูญเสีย 1 ล้านคน จากการถูกฆ่า หรือบาดเจ็บ
 รวมถึงชาวอิหร่านที่เจ็บป่วยและตายจากผลของอาวุธเคมี อิรักมีความ
 สูญเสีย 250,000 – 500,000 คน พลเรือนหลายหมื่นคนทั้งสองฝ่าย
 เสียชีวิตจากการโจมตีทางอากาศและขีปนาวุธการสูญเสียทางการเงินมีมูลค่า
 600,000ล้านเหรียญสหรัฐ (18.6 ล้านล้านบาท) สาหรับแต่ละฝ่าย ใน
 ระยะสั้นหลังจากสงครามเกิดขึ้น
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                 
ต้นทุนของสงคราม
         ต้นทุนทางเศรษฐกิจมีผลมากการพัฒนาเศรษฐกิจชะงักงันเนื่องจาก
 การส่งออกน้ามันถูกขัดขวาง ภาวะทางเศรษฐกิจสร้างความเสียหายให้อิรัก
 มากที่หนี้สินมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับอิหร่านโดยอิหร่านใช้ชีวิตที่ปลุกเร้า
 ด้วยความรักชาติแต่เป็นยุทธวิธีที่มีต้นทุนทางการเงินถูกกว่าระหว่างสงคราม
 จึงใช้ชีวิตของทหารแทนที่สาหรับการขาดแคลนแหล่งเงินทุน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
                
ต้นทุนของสงคราม
       เรื่องนี้ทาให้ซัดดัมเข้าสู่ตาแหน่งยากลาบากด้วยหนี้สินระหว่าง
 ประเทศ130,000 ล้านเหรียญ (4 ล้านล้านบาท)จานวนมากเป็นของชาติ
 พันธมิตรอาหรับ 67,000 ล้านเหรียญ (268,000 ล้านบาท) ปารีสคลับ
 21,000 ล้านเหรียญ (380,000 ล้านบาท) ทาให้อัตราหนี้ต่อจีดีพี
 (ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ)ของอิรักสูงถึง 1,000 % หรือ 10 เท่าของจีดี
 พี จากจุดนี้นาไปสู่สงครามรุกรานคูเวตของซัดดัม
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
      สงครามครั้งนี้มีข้อสังเกตประการแรกคือ อิรักสามารถยึดครอง
ดินแดนที่ต้องการไว้ได้ แต่ฝ่ายอิหร่านมิได้พ่ายแพ้การยึดครองจึงไม่มี
ความหมาย และกลับไปมือเปล่า ถึงแม้ว่าอิหร่านจะเป็นศัตรูกับสหรัฐและ
อิรักเป็นพันธมิตรกับสหรัฐแต่การเปลี่ยนแปลงพรมแดนมิได้เกิดขึ้น ดังนั้น
การเปลี่ยนแปลงพรมแดนจึงไม่อาจเกิดขึ้นได้ อาจจะมีเพียงกรณีเดียว คือ
การแยกประเทศในค่ายโซเวียตหลังยุคล่มสลายของสหภาพโซเวียตซึ่งเรื่องมี
ความซับซ้อนด้านยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติตะวันตก
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
       แต่ไม่อาจจะเกิดขึ้นกับส่วนอื่นของโลกอย่างไรก็ตามอาจจะเกิดกับดาร์
ฟูที่อุดมไปด้วยน้ามันภายใต้ความเห็นชอบของชาติตะวันตกการใช้กาลังเข้า
ยึดครองเขาพระวิหารจะสาเร็จจริงหรือ นี่เป็นคาถามสงครามสร้างต้นทุน
ด้านชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งอิหร่านและอิรักเคยเป็นประเทศร่ารวยแต่
เศรษฐกิจของทั้งสองประเทศเสื่อมโทรมลงหลังสงครามในขณะที่ผู้บาดเจ็บ
นับล้านคนสร้างความทุกขเวทนาให้กับญาติพี่น้องสังคมมีต้นทุนในการ
เยียวยาสูงมาก
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)
              
        แน่นอนพวกเขาถูกทอดทิ้งในขณะที่สิทธิและเสรีภาพถูกคุกคามใน
กรณีของอิหร่านเห็นได้อย่างชัดเจนจากฝ่ายศาสนาใช้โอกาสกวาดล้างฝ่าย
อื่นทั้งที่ไม่ใช่ศัตรูทางการเมือง เพียงแต่ความเห็นทางการเมืองต่างกัน
เท่านั้น
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
       คูเวต เป็นประเทศในกลุ่มอาหรับขนาดเล็ก ตั้งอยู่ตอนบนของอ่าว
เปอร์เซีย ทางเหนือและตะวันตกติดกับอิรัก ทางตะวันออกติดกับอ่าว
เปอร์เซีย ทางใต้ติดกับซาอุดิอาระเบีย มีการค้นพบน้ามันปิโตรเลียมในคูเวต
เมื่อ ค.ศ 1930ในปริมาณมาก ซึ่งประมาณว่า มีปริมาณร้อยละ20ของ
ปริมาณน้ามันทั้งโลก นับตั้งแต่ ค.ศ.1946คูเวตเป็นประเทศผู้นาผลิตน้ามัน
รายใหญ่ของโลกและส่งน้ามันมากเป็นอันดับสองของโลก คูเวตเคยเป็นรัฐ
ในอารักขาของอังกฤษระหว่าง
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                  
       ทาให้ฐานะเศรษฐกิจของอิรักทรุดหนักอิรักมีสินค้าออกหลักคือน้ามัน
ซึ่งมีปริมาณร้อยละ99ของมูลค่าสินค้าออกทั้งหมด อิรักจึงพยายามผลักดัน
ให้องค์การโอเปกกาหนดโควตาการผลิตน้ามันและกาหนดราคาน้ามันเสีย
ใหม่ให้อิรักมีรายได้เพิ่มขึ้น อิรักอ้างว่าการที่ราคาน้ามันในตลาดโลกลดลง
เพราะคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ลอบผลิตและขายน้ามันเกินโควตา
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                     
      ค.ศ 1914-1961 เมื่อคูเวตได้รับเอกราชในวันที่ 19 มิถุนายน1961
  รัฐบาลอิรักอ้างสิทธิว่าคูเวตเป็นส่วนหนึ่งของตนตามหลักเชื้อชาติภูมิศาสตร์
  และสังคม แต่สันนิบาตอาหรับรับรองเอกราชของคูเวต
      ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่านซึ่งกินเวลาถึง 8 ปี ส่งผลให้อิรักบอบช้า
  มากจากภาระบูรณะประเทศ อิรักต้องเป็นหนี้ต่างประเทศจานวนประมาณ
  80,000 ล้านเหรียญ ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                  
      ข้อเรียกร้องที่รุนแรงของอิรักคือให้คูเวตคืนดินแดนที่รุกล้าเข้ามา คือ
เขต Rumailah oilfield ซึ่งมีน้ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบู
มิยัน กับเกาะวาร์บาห์ ในอ่าวเปอร์เซีย เพื่อให้อิรักขายน้ามันผ่านอ่าว
เปอร์เซียโดยตรง โดยมิต้องขายน้ามันทางท่อส่งน้ามันผ่านซาอุดิอารเบีย
และตุรกีเช่นเดิม
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                       
 สาเหตุ
           กล่าวโดยสรุป เหตุผลที่อิรักบุกคูเวตในเดือนสิงหาคม 1990 มีดังนี้
  1.แรงกดดันจากหนี้สงครามอิรัก-อิหร่านอิรักจึงต้องการคุมแหล่งน้ามันของโลกคือ
  คูเวต เพื่อเพิมอานาจต่อรองในการผลิตน้ามันและการกาหนดราคาน้ามัน
                 ่
  2.อิรักไม่มีทางออกทะเลหรือทางอ่าวเปอร์เซีย เพราะมีเกาะบูมิยันและเกาะวาห์บาห์ของ
  คูเวตขวางทางอยู่อิรักจึงมิอาจขายน้ามันโดยตรงแก่เรือผู้ซื้อได้
  ทั้งอิรักยังตกลงกับอิหร่านเรื่องการใช้เมืองท่าบัสราผ่านร่องน้าซัตต์-อัล-อาหรับไม่ได้
           อิรักและคูเวตมีกรณีพิพาทดินแดน Rumailah Oilfield แหล่งน้ามันที่
  สาคัญมาเป็นเวลานานและหาข้อยุติไม่ได้ อิรักจึงถือโอกาสยึดครองคูเวตด้วยเหตุผลด้าน
  เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                  
      นอกจากนี้อิรักยังกล่าวหาว่าระหว่างอิรักทาสงครามกับอิหร่านเป็น
เวลา8ปี คูเวตได้ขยายพรมแพนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรัก4 กิโลเมตร
เพื่อตั้งค่ายทหารและตั้งสถานีขุดเจาะน้ามันเป็นการขโมยน้ามันของอิรัก ยิ่ง
ไปกว่านั้น อิรักทาสงครามกับอิหร่านในนามชาติอาหรับและเพื่อความมั่นคง
ของชาติอาหรับทั้งมวล จึงสมควรที่คูเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการทา
สงคราม
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                    
ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ
       ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ แยกเป็น 2 กลุ่ม คือ
       สหประชาชาติ ชาติอภิมหาอานาจ รวมถึงกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก
 เห็นตรงกันที่ต้องรักษาดุลอานาจในตะวันออกลาง คณะมนตรีความมั่นคง
 แห่งสหประชาชาติมีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการรุกรานและเรียกร้องให้
 อิรักถอนทหารออกจากคูเวตโดยไม่มีเงื่อนไขมติของคณะมนตรีความมั่นคง
 อันดับต่อมาคือการประกาศคว่าบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรักและคูเวต
 ยกเว้นอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหร เพื่อเหตุผลด้านมนุษยธรรม แต่
 อิรักก็ไม่ได้ปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสหรัฐอเมริกาดาเนินการต่างๆ เพื่อเรียกร้อง
นานาชาติกดดันให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวตภาพของประธานาธิบดี
ซัดดัม ฮุสเซน กลายเป็นวีรบุรุษชาวอาหรับที่กล้าท้าทายโลกตะวันตก สาเหตุ
ที่สหรัฐอเมริกามีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงนั้น เพราะอิรักทาลายผลประโยชน์
ของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง และแสนยานุภาพของอิรักอาจเป็น
อันตรายต่ออิสราเอลพันธมิตรที่ดีของสหรัฐอเมริกาในอนาคตอีกด้วย
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                     
กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ
 อิยิปต์ ซีเรีย ซาอุดิอารเบีย
      เรียกร้องให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต
      สนับสนุนการเข้ามาของกองกาลังพันธมิตรและถือว่าตนปฏิบัติตามมติ
      ของสหประชาชาติ
 จอร์แดน เยเมน ตูนีเซีย แอลจีเรียและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์
      กลุ่มนี้เรียกร้องให้ชาติอาหรับเจรจาหาทางแก้ปัญหากันเองโดยไม่ต้อง
      ให้เป็นภาระขององค์การระดับโลกนอกจากนี้ยังมองว่าการปฏิบัติตาม
      มติของสหประชาชาติเท่ากับเป็นการรังแกชาวอาหรับด้วยกันเอง
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                    
ผลของสงคราม
       เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรประเทศต่างๆ ส่งกาลังเข้าไปในซาอุดิ
 อารเบียเพื่อป้องกันการรุกรานของอิรัก อิรักหันไปฟื้นฟูความสัมพันธ์กับ
 อิหร่าน ซึ่งเป็นศัตรูของสหรัฐอเมริกาและเคยเป็นศัตรูของอิรักเองใน
 สงครามอิรัก-อิหร่าน อิรัก-อิหร่านได้ทาการแลกตัวประกันจานวน 70,000
 คน และอิรักได้ถอนทหารของตนออกจากดินแดนของอิหร่าน ซึ่งอิรักยึด
 ครองมาตั้งแต่สงครามอิรัก-อิหร่าน การกระทาของอิรักชี้ให้เห็นว่าอิรัก
 ต้องการให้สถานการณ์ด้านอิหร่านสงบ เพื่อไม่ต้องพะวงศึกสองด้าน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
      กองกาลังนานาชาติเพิ่มจานวนเข้าไปในซาอุดิอาระเบียมากขึ้น เป็น
ครั้งแรกที่สองอภิมหาอานาจมีความเห็นตรงกันในการแก้ปัญหาการรุกราน
คูเวตของอิรัก ส่วนอิรักตอบโต้มติสหประชาชาติด้วยการเพิ่มกาลังเข้าไปใน
คูเวต อิรักมีศักยภาพทางทหารสูงกว่าประเทศอาหรับอื่นๆ คือมีทหาร
ประจาการถึง 1 ล้านคนและมีอาวุธเคมี
อาวุธชีวภาพ ซึ่งมีอานุภาพร้ายแรงแต่ต้นทุนการผลิตต่า อาวุธเหล่านี้อิรัก
ได้รับความช่วยเหลือบ้างจากประเทศยุโรปตะวันตกในช่วงทาสงครามกับ
อิหร่าน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
      สงครามอ่าวเปอร์เซียเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 มกราคม 1991 ภายหลัง
จากประธานาธิบดีจอร์ช บุช แห่งสหรัฐอเมริกาสามารถดาเนินวิธการทางการ
ฑูตให้สหประชาชาติลงมติให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวตโดยเด็ดขาด
ภายใน 15 มกราคม 1991 มิฉะนั้นกองกาลังพันธมิตรจะใช้มาตรการบังคับ
ด้วยกาลังต่ออิรัก เมื่อครบกาหนดเส้นตาย
      สหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีทางอากาศนในอิรักและคูเวตด้วยยุทธการ
พายุทะเลทราย กองกาลังพันธมิตรร่วมมือโจมตีอิรักอย่างต่อเนื่อง อิรักซึ่ง
อยู่ในฐานะเป็นรองพยายามดึงอิสราเอลเข้าร่วมสงครามโดยยิงจรวดสกั๊ด
โจมตีเมืองเทลอาวีปและเมืองท่าไฮฟา
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
            
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
หากอิสราเอลหลงกลตอบโต้อิรัก อิรักก็จะได้ประเทศอาหรับที่เป็นศัตรูกับ
อิสราเองมาเสริมกาลัง แต่ความพยายามของประธานาธิบดีซัดดัมล้มเหลว
      เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรสามารถยับยั้งมิให้อิสราเอลใช้กาลัง
ตอบโต้สงครามดาเนินต่อไปด้วยความร่วมมือของฝ่ายพันธมิตร ปฏิบัติการ
พายุทะเลทราย ได้ดาเนินมาถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1991 หลังจากนั้นกอง
กาลังพันธมิตรได้เปิดฉากการโจมตีภาคพื้นดินต่ออิรัก ในระยะเวลาเพียง
100 ชั่วโมงกองกาลังพันธมิตรก็ได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในการยึดคูเวต
มาได้สาเร็จในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ นั่นเอง
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
หลังจากอิรักยึดครองคูเวตเป็นเวลานานกว่า6 เดือน
       ข้อควรพิจารณาจากสงครามอ่าวเปอร์เซียคือ บทบาทที่เด่นชัดของ
สหประชาชาติในการระงับกรณีพิพาททั้งวิธีการฑูตและกาลังทหาร รวมทั้ง
การคว่าบาตรทางเศรษฐกิจ มาตรการต่างๆ เหล่านี้สหประชาติาจะเลือกใช้
ตามความเหมาะสมอย่างไรก็ตาม บทบาทของสหประชาชาติในสงครามอ่าว
เปอร์เซียอยู่ภายใต้การชี้นาของสหรัฐอเมริกาอย่างชัดเจนด้วยเวทีทางการ
ฑูตและการทหารแสดงให้เห็นว่า บทบาทผู้นาโลกของสหรัฐอเมริกาลดความ
ศักดิ์สิทธิ์ลงในสถานการณ์การเมืองโลกปัจจุบัน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                  
      แม้สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 1991 แล้วก็ตาม
มาตรการคว่าบาตรของสหประชาชาติได้บีบคั้นเศรษฐกิจของอิรักมากขึ้น
กว่าเดิม ประชาชนอดอยากขาดแคลนอาหารและยารักษาโรคจนมีสภาพ
ร่างกายที่ทรุดโทรมและต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ในเดือน
พฤศจิกายน 1991นั้น สหประชาชาติได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษ
ตรวจสอบอาวุธของอิรัก เข้าไปตรวจสอบแหล่งผลิตและที่ซ่อนอาวุธเคมี
อาวุธนิวเคลียร์ และอาวุธชีวภาพของอิรัก เพื่อให้อิรักทาลายล้างอาวุธเหล่านี้
หลังจากนั้นสหประชาชาติจะยกเลิกมาตรการคว่าบาตรต่ออิรัก
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
ความร่วมมือระหว่างประเทศมหาอานาจเป็นสิ่งจาเป็นนอกจากนั้น ยังแสดง
ให้เห็นความสาเร็จเป็นครั้งแรกที่สหประชาชาติสามารถออกมติเพื่อลงโทษ
ประเทศสมาชิกที่ละเมิดกฏบัตรด้วยการรุกรานประเทศอื่น ทั้งนี้เป็นผลของ
การยุติการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอานาจและความจาเป็นของการร่วมมือ
ของประเทศทั้งสอง
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
     เมื่อ ค.ศ.1997 อิรักได้ขับไล่ชาวอเมริกันออกจากทีมงานอันสคอม
โดยกล่าวหาว่า ชาวอเมริกาคนหนึ่งเป็นสายลับ ซึ่งสหรัฐอเมริกาปฏิบัติคา
กล่าวหานี้ การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและอันสคอมกับอิรักได้ตึง
เครียดมาตามลาดับ
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
      ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสหประชาชาติกับอิรักได้เกิดขึ้นเป็นระยะๆ
ตั้งแต่อันสคอมถูกส่งเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในอิรักจนถึงปัจจุบัน อิรักจะ
ขัดขวางการทางานของอันสคอมอยู่เสมอๆ เช่นกันนอกจากนี้ในเดือน
สิงหาคม 1992 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้จัดตั้งเขตห้าม
บินทางตอนใต้ของอิรักและขยายมายังตอนเหนือเพิ่มขึ้นในเดือนกันยายน
1996 ภายหลังสหรัฐอเมริกาได้โจมตีทางตอนใต้องอิรักอีก เพื่อเป็นการ
ตอบโต้อิรักปราบปรามชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดอย่างรุนแรง
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
        ค.ศ.1998 เมื่ออิรักขัดขวางเจ้าหน้าที่อันสคอม(ซึ่งประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญจากหลายประเทศ รวมทั้งไทย)ไม่ให้เข้าไปตรวจสอบอาวุบริเวณ
ทาเนียบประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน นายโคฟี อันนามเลขาธิการ
สหประชาชาติเดินทางไปเจรจากับประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เพื่อยุติการ
เผชิญหน้าระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา อิรักยินยอมให้อันสคอมตรวจสอบ
อาวุธบริเวณทาเนียบประธานาธิบดี อันสคอมร้องเรียนสหประชาชาติว่าอิรัก
ไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร และยังขัดขวางการปฏิบัติงานของอันสคอมอีก
ด้วย
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
      การเผชิญหน้าระหว่างอิรักและสหรัฐอเมริกาทวีความรุนแรงมากขึ้น
ในเดือนธันวาคม 1998 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา
เตือนอิรักว่า อาจจะมีการโจมตีอิรักได้ทุกเวลาหากอิรักยังคงขัดขวางการ
ปฏิบัติงานของอันสคอม
      16 ธันวาคม 1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้องเดินทางออกจากอิรัก
เพราะเกรงจะได้รับอันตรายจากอิรัก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึ้น ประธานาธิบดี
บิล คลินตัน ได้ส่งกาลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับกองกาลังทหาร
อังกฤษเพื่อยิงถล่มอิรักภายใต้ปฏิบัติการชื่อ “ปฏิบัติการจิ้งจอกทะเลทราย”
เป็นเวลา 4 วัน
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                 
จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส รวมทั้งบรรดาชาติอาหรับอื่นๆ ต่างประณามการกระทา
ของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทั้งเรียกร้องให้ยุติการโจมตีอิรักส่วน
สมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ต่างสนับสนุนมาตรการแข็ง
กร้าวของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
      ปัญหาอิรักคือปัญหาที่ท้าทายบทบาทของสหประชาชาติ ในเวลา
เดียวกันก็เป็นปัญหาภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชี้นาและดาเนินการโดย
พลการในนามสหประชาชาติ ถือเป็นการละเมิดกฏบัตรสหประชาชาติและ
หลักการของประชาคมโลก
ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต
                  
      นายโคฟี อันนาม กล่าวแสดงความรู้สึกของเขาว่า “วันนี้เป็นวันที่น่า
เศร้าของยูเอ็นและชาวโลก ผมได้ทาทุกสิ่งเท่าที่มีอานาจหน้าที่สร้างความ
สงบตามปณิธานของยูเอ็น เพื่อระวังการใช้กาลัง สิ่งนี้ไม่ใช่ของง่าย เป็น
กระบวนการเจ็บปวดไม่มีที่สิ้นสุด”
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
              
      ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล มิได้เป็นเพียงความขัดแย้ง
ระหว่างประเทศต่อประเทศอย่างเช่นความขัดแย้งระหว่าง อินเดียกับ
ปากีสถาน หรือระหว่างกลุ่มประเทศ เช่น ระหว่างกลุ่มอักษะประเทศกับ
กลุ่มสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เท่านั้น แต่มันเป็นความขัดแย้ง
ระหว่างชนชาติสองชนชาติ และระหว่างอุดมการณ์สองอุดมการณ์ เป็นความ
ขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มผู้ถือศาสนาหนึ่ง กับกลุ่มผู้ถือศาสนาอีกศาสนาหนึ่ง ซึ่ง
ก็กระจายอยู่ทั่วโลก ทั้งสองศาสนานั้น ค่อนข้างใกล้ชิดกัน ศาสดาของศาสนา
หนึ่ง ก็เป็นศาสดาของอีกศาสนาหนึ่งด้วย
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
              
       อีกทั้งบรรพบุรุษของชนชาติทั้งสองนี้ เมื่อย้อนยุคไปจนถึงที่สุดก็เป็น
คนๆ เดียวกัน แต่ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายนี้ กลับยาวนาน ยืดเยื้อไม่
สิ้นสุด มาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ เรื่องที่สาคัญ ก็คือ ความขัดแย้งอาจจะบาน
ปลาย จนกลายเป็นสงครามโลกครั้งที่สามก็ได้ ซึ่งที่มาของของปัญหาเล่านี้ก็
มีเหตุผลที่ลึกซึ้งและต้องมองให้ลึกตั้งแต่ประวัติของชนชาติทั้งสองชนชาติ
ทั้งชาวยิว และชาวอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ประวัติทางศาสนา
      เรื่องที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ของศาสนา ที่สาคัญสองศาสนา คือ
 คริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม (อาจรวมถึงศาสนายิว หรือจูดายด้วย) ก็
 คือศาสดาอับราฮัมผู้เป็นบิดาแห่งชาวยิว และเป็นศาสดาท่านหนึ่งของ
 ศาสนาอิสลามด้วย นั้น ท่านมีภริยาสองคน เชื้อสายของท่านจากภริยาคน
 แรก (นางซารอฮ หรือซารา คือ ลูกหลานของอิสฮาก (หรือไอแซค) นั้นคือ
 ชนชาวอาหรับ ส่วนเชื้อสายจากภริยาคนที่สอง (นางฮาญัรหรืออากัร) คือ
 ลูกหลานของอิสราเอล (อิชมาเอลหรืออิสมาอีล) ก็คือ ชนชาวยิว
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ประวัติทางศาสนา
        ตามพระคัมภีร์ของคริสต์ศาสนา-พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงสัญญาไว้ว่า
 ถึงแม้ว่าอิสฮากจะเป็นทายาทที่แท้จริง ของท่านศาสดาอับราฮัม (หรืออิบรอ
 ฮีม) ก็ตาม แต่อิชมาเอลและลูกชายทั้งสิบสองคนของเขา ก็จะกลายเป็นชน
 ชาติที่ยิ่งใหญ่ด้วย บุตรหลานของลูกชายสิบสองคนของนางฮากัรก็คือชาวยิว
 สิบสองเผ่านั่นเอง พระคัมภีร์ไบเบิลกล่าวไว้ด้วยว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงปรากฏ
 ตัวต่อหน้า อับราฮัมและทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนคะนาอัน (ซึ่งต่อมาก็
 คือ ดินแดนาเลสไตน์) ให้แก่ลูกหลานของท่านด้วยอับราฮัมจึงได้ไปอยู่ที่คะ
 นาอัน
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
ประวัติทางศาสนา
                                  ฮาก
      แต่เข้ากับชาวคะนาอันไม่ได้ ส่วนอิส
 บุตรชาย ของท่านกลับเข้ากับ ชาวเมืองคะนาอัน
 ได้ดี นั่นคือชาวอาหรับลูกหลานของอิสฮาก อาศัย
 อยู่ในดินแดนคะนาอันก่อนแล้ว มีชื่อว่าชาวฟิลิ
 สตีน (ปาเลสไตน์นั่นเอง) ต่อมาอีกนานคือ
 ประมาณ 1400 ปี ก่อน ค.ศ.
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ประวัติทางศาสนา
        อียิปต์ ได้เข้ามาปกครองชาวยิว โมเสส(ซึ่งเป็นศาสดาอีกท่านหนึ่งของ
 ชาวยิวและชาวมุสลิมด้วย)ได้รับคาสั่งจากพระผู้เป็นเจ้า ให้ไปช่วยชาวยิวให้หนี
 จาก น้ามือชาวอียิปต์โดยพระองค์ทรงช่วยแหวกน้าทะเลให้ โมเสสจึงนาชาวยิวหนี
 จากอียิปต์เข้ามาในดินแดนคะนาอัน (หรือปาเลสไตน์) ซึ่งมีชนเผ่าต่าง ๆอาศัย
 อยู่เป็นจานวนมากแล้ว นี่คือ เรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ไบเบิลและกุรอาน
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
       ตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์นั้น ดินแดนปาเลสไตน์ ตั้งอยู่แถบ
 ชายฝั่งตะวันออก ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งรวมอิสราเอลปัจจุบันนี้กับ
 จอร์แดนและอียิปต์ด้วย ชาวฮิบรู (หรือยิว) ซึ่งเดิมเป็นพวกเร่ร่อนอยู่ใน
 ทะเลทรายปาเลสไตน์แถบแหลมสินาย ต้องการจะพิชิตดินแดนปาเลสไตน์
 จึงยกพวกข้ามดินแดนจอร์แดนมา ในดินแดนปาเลสไตน์ (คะนาอัน)ภายใต้
 ผู้นาซึ่งมีชื่อว่าโจชัว ได้ฆ่าและขับไล่ชาวพื้นเมืองออกไปและทาลาย
 วัฒนธรรมคะนาอัน (ซึ่งเคยเป็นอู่อารยธรรมหนึ่งในสี่แห่งของโลกเก่า)
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
       ชาวฮิบรู เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ใน หุบเขาอันสมบูรณ์ทางภาคเหนือ
 แล้วขยายดินแดนมารุกราน ชาวฟิลิสตีนซึ่งอยู่ตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เร
 เนียน
       พระคัมภีร์ไบเบิลได้ กล่าวคือ ความเป็นปรปักษ์ระหว่างชาวฮิบรูกับ
 ชาวฟิลิสตีน(คือชาวยิวกับปาเลสไตน์) ไว้ใน Book of Judge บทที่
 18ต่อมากษัตริย์เดวิด ได้บดขยี้ชาวฟิลิสตีนและรวบรวมดินแดนคะนาอัน
 ทั้งหมด ไว้ใต้อานาจของพระองค์และได้สร้างอาณาจักรฮิบรูขึ้นเป็นครั้งแรก
 ในที่ซึ่งเป็นประเทศจอร์แดนปัจจุบันนี้ และขยายดินแดนไปถึงแม่น้ายูเฟร
 ติส ในราว 1000 ปีก่อนค.ศ.
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
       นี่คือจุดเริ่มต้นของคริสต์ศาสนาซึ่งแพร่หลายไปแทนที่ศาสนาจูดาย
 ชาวฮิบรูได้กลายเป็นชนส่วนน้อย ในดินแดนนั้น และยอมรับนับถือคริสต์
 ศาสนานอกนั้นอยู่กระจัดกระจายตามแถบ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ ในบา
 บิโลเนีย (อิรัก) อียิปต์ ซีเรีย เอเชียน้อย กรีซและโรม ในปี ค.ศ.300 ชาวยิว
 จานวนมาก อพยพไปจากปาเลสไตน์ เพราะถูกชาวโรมันรังควานตาม
 ประวัติศาสตร์ ที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า ชาวยิว ตั้งอาณาจักรอยู่ใน
 ดินแดนปาเลสไตน์ ได้เป็นระยะเวลา สั้นๆ เท่านั้น
 และพวกเขาเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของชนเผ่าอื่นๆ ซึ่งอยู่ในดินแดนนั้น
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
        ในรัชสมัยของกษัตริย์โซโลมอน โอรสของเดวิด ชาวยิวมีอานาจสูง
 สุดแต่พอสิ้นชีวิตของกษัตริย์พระองค์นี้อาณาจักรฮิบรู ก็แตกแยกเพราะการ
 ทะเลาะเบาะแว้ง ในหมู่ชาวฮิบรูเอง ชนชาติอื่นจึงเข้ามาครอบครองดินแดน
 นั้นต่อไป ชาวฮิบรูสิ้นอานาจ ในดินแดนปาเลสไตน์ในปี 586 ก่อน ค.ศ.
 ปาเลสไตน์ หรือคะนาอัน ถูกชนชาติอื่นปกครอง ต่อมาคือ เปอร์เซีย กรีก
 โรมัน ประชาชนในดินแดนนี้ ได้รับความกดขี่ จนกระทั่งศาสดาเยซู (หรืออี
 ซา)ปรากฏขึ้น ท่านเป็นชาวฮิบรู ได้พยายามประสานความสามัคคี ระหว่าง
 เผ่าต่างๆในปาเลสไตน์เข้าด้วยกัน และท้าทายอานาจของโรมัน ท่านจึงถูก
 จับตรึงกางเขน
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
 ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 
        ต่อมาความเชือนี้ได้กลายเป็นขบวนการทางการเมือง
                       ่
 และอุดมการณ์ซึ่งมีชื่อว่า ไซออนนิสม์ (ไซออนเป็นชื่อภูเขาลูก
 หนึงในดินแดปาเลสไตน์) แต่ก็เกิดข้อสงสัยว่า ชาวยิวต้องการ
      ่
 ดินแดนปาเลสไตน์ ก็ควรขัดแย้งกับชาวปาเลสไตน์เท่านั้น แต่
 ทาไมชาวอาหรับทั้งหมด จึงต้องมาขัดแย้งกับชาวยิวด้วย ซึ่ง
 ความจริงมีอยู่ว่าดินแดนปาเลสไตน์นั้น ตั้งอยู่ในภูมภาคซึ่ง
                                                   ิ
 ปัจจุบันนี้ เรียกว่า ตะวันออกกลาง หรือเอเชียตะวันตก เมือ่
 ศาสนาอิสลามเกิดขึ้น ในแหลมอารเบีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 7
 และต่อมาได้ขยายไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง ประชากรใน
 ภูมิภาคนันต่างก็รบนับถือศาสนาอิสลาม (ซึ่งเรียกว่ามุสลิม คือ
           ้         ั
 ผู้นับถือศาสนาอิสลาม)
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
         ส่วนชาวปาเลสไตน์นั้นอยู่ในดินแดนนั้นมาเป็นเวลานับพันๆ ปีมาแล้ว
 ชาวยิวในปาเลสไตน์ที่นับถือศาสนาจูดาย มีอยู่เป็นจานวนน้อยพวกนี้แหละ
 ที่มีสิทธิจะเรียกตัวเองว่าเป็นเชื้อสายของ ศาสดาอับราฮัม และเป็นชาว
 ปาเลสไตน์จริงๆ ดังนั้น การที่จะอ้างว่าชาวยิวทุกคนต้องมีสิทธิ์ ในดินแดน
 ปาเลสไตน์นั้น จึงฟังไม่ขึ้น แต่กระนั้นหลักการที่พวกเขายึดถือก็คือความ
 เชื่อของชาวยิวที่ว่า พระผู้เป็นเจ้าทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนนี้ ให้แก่พวก
 เขาอีกประการหนึ่ง การที่ชาวยิวต้องกระจัดกระจายไปอยู่ในประเทศต่างๆ
 โดยอาศัยอยู่ในชุมชนยิวที่อัดแอ ไม่สะดวกก็ยิ่งทาให้พวกเขากระตือรือร้นที่
 จะกลับมายัง ดินแดนนี้มากขึ้น
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                    
 ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
           ชาวปาเลสไตน์ ก็เป็นหนึ่งในจานวนนั้น และศาสนาอิสลามยึดหลักความเป็นพี่
น้องกันระหว่างชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใด หากพี่น้องมุสลิม ณ ที่หนึงที่ใดได้รับความ
                                                                       ่
เจ็บปวด มุสลิมซึงอยู่ที่อื่น ก็ย่อมเจ็บปวดไปด้วยชาวปาเลสไตน์นั้นเป็นชาวอาหรับมาตั้งแต่
                 ่
ต้น เดิมรับนับถือศาสนาคริสต์แต่ได้รับการกดขีจากชาวโรมัน จึงหันมารับนับถือศาสนา
                                               ่
อิสลาม สังคมของชาวปาเลสไตน์จึงมีลกษณะแบบอาหรับและมุสลิม นับเป็นครั้งแรกทีมี
                                        ั                                         ่
ชุมชนอาหรับทีแท้จริงเกิดขึ้น ในปาเลสไตน์ มีการปกครองของตนเองแต่ก็เป็นส่วนหนึงของ
               ่                                                                    ่
โลกอิสลาม ในด้านการเมืองและศาสนาต่อมาอาหรับ ได้เข้ามาปกครองปาเลสไตน์ ใน
ค.ศ.640 โดยเคาะลีฟะฮอุมัรที่ 1 ต่อมา ปีค.ศ.847 ตุรกีเข้ามายึดอานาจปกครองดินแดนนี้
จนถึงศตวรรษที่ 18
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
 ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 
            แต่ในศตวรรษที่ 18 อาณาจักรตุรกี (ออตโตมาน)เริ่มเสือมโทรม ประเทศ
                                                                    ่
มหาอานาจต่างๆ ในยุโรปหมายจะเข้ามามีอานาจแทนทีตุรกี เช่นกษัตริย์นโปเลียนของ
                                                       ่
ฝรั่งเศส แต่ก็ตีปาเลสไตน์ไม่สาเร็จ กล่าวกันว่าตอนที่นโปเลียนจะยาตราทัพเข้าซีเรีย (ซึ่งรวม
กับปาเลสไตน์)นั้น พระองค์ได้เชื้อเชิญชาวยิว ทั้งในทวีปเอเชียและแอฟริกามาอยู่ใต้การ
ปกครองของพระองค์ เพื่อจะสร้างปาเลสไตน์ ให้เป็นอาณาจักรยิว แต่ก็ไม่ได้รับการ
ตอบสนองใน ค.ศ.1832 อิบรอฮีม ปาชา ผู้นาอียิปต์เข้าครองปาเลสไตน์แทนตุรกี ต่อมาอีก
8 ปีชาวปาเลสไตน์กลับไปเข้ากับตุรกีต่อสู้กับอียิปต์ กองทัพของตุรกี อังกฤษและรัสเซียเป็น
ฝ่ายมีชัย อังกฤษจึงเข้ามามีอานาจ ในตะวันออกกลางได้อังกฤษสนใจปาเลสไตน์เป็นพิเศษ
เพราะเป็นทางเชื่อมมาถึงอินเดียได้ แต่อังกฤษต้องแข่งขันกับฝรั่งเศสและรัสเซีย ซึ่งต่างก็
ต้องการมีอิทธิพลที่นั่นด้วย ในที่สุดอังกฤษก็ได้พบวิธีการซึ่งช่วยอังกฤษ แย่งปาเลสไตน์มา
จากตุรกีและผนวกเข้าใต้การปกครองแบบอาณัติของอังกฤษได้ วิธีการนั้น มาในรูปของ
ขบวนการ ไซออนนิสม์แห่งยุโรปนั่นเอง
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
 ขบวนการไซออนนิสม์
                    
        ไซออนนิสม์ คือ ขบวนการการเมืองนานาชาติ ของชาวยิวกลุ่มหนึ่ง(มิใช่ทั้งหมด)
 มีวัตถุประสงค์จะผูกพันชาวยิวในโลกไว้ด้วยพันธะด้านเชือชาติ ให้กลายเป็นชนชาติที่
                                                        ้
 ยิ่งใหญ่ โดยมีศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมอยู่ที่รัฐอิสราเอล พวกไซออนนิสม์
 ทาการต่อสู้เพื่อจัดตั้งมาตุภูมิของชนชาติยิวขึ้น ในประเทศปาเลสไตน์ โดยความเชื่อทีวา
                                                                                 ่่
 พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานดินแดนนั้น ให้แก่พวกตน และพวกตนเคยเป็นเจ้าของ
 ดินแดนนี้ มาแต่ครั้งโบราณ โดยไม่ยอมรับความจริงที่ว่า การทีชาวยิวมาครอบครอง
                                                             ่
 ดินแดนปาเลสไตน์ ในสมัยไบเบิลนั้น เป็นเพียงเหตุการณ์ตอนหนึง ในประวัติศาสตร์
                                                               ่
 อันยาวนานของประเทศนี้ เท่านั้น
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                    
ขบวนการไซออนนิสม์
       และเชื้อสายของชาวยิวที่อยู่ใน
 ปาเลสไตน์ ก็เกือบจะหมดสิ้นไปแล้ว
 ตั้งแต่ศตวรรษที่หนึ่ง อีกทั้งยิวก็ไม่ใช่ ผู้
 อาศัยคนแรกในปาเลสไตน์หรือเป็น
 เจ้าของปาเลสไตน์ด้วยผู้ตั้งลัทธิไซออน
 นิสม์ มีชื่อว่า นายเธียวดอร์ เฮอร์เซิล
 เป็นชาวยิวสัญชาติฮังกาเรียน อาชีพของ
 เขา คือ นักหนังสือพิมพ์
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ขบวนการไซออนนิสม์
       อันที่จริงนั้นได้มีผู้เสนอ ให้จัดตั้งรัฐยิวขึ้นที่อื่นมาแล้ว เช่น ดร.แอง
 เจโลแรพโพพอร์ท และนายอับราฮัม กาแลนท์ เสนอให้จัดตั้งในประเทศ
 ซูดาน (ในทวีปแอฟริกา)เพราะในนั้นมีประชากรอยู่น้อย แต่องค์การไซออน
 นิสม์ ก็ไม่สนใจเพราะปักใจจะเอาปาเลสไตน์อยู่แล้ว ผู้นาขบวนการไซออน
 นิสม์หัวรุนแรงคนหนึ่ง คือนายยาโบตินสกี้ ได้เรียกร้องให้ตั้งรัฐยิวขนาด
 ใหญ่ ซึ่งจะรวมเอาฝั่งตะวันออกของจอร์แดนและดินแดนโพ้นทะเลเมดิเตอร์
 เรเนียน จนถึงแม่น้ายูเฟรติส มารวมไว้ด้วย
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                
ขบวนการไซออนนิสม์
         มีความคิดว่าวิธีเดียวที่จะแก้ไขปัญหา ความเป็นปรปักษ์กับชาว เซ
 มิติค (ลัทธิแอนตี้-เซมิติสม์คือ ลัทธิที่เกลียดชังชาวยิวและศาสนาจูดาย ซึ่ง
 เริ่มขึ้นโดย นักหนังสือพิมพ์ชาวเยอรมนี ผู้มีนามว่า วิลเฮล์ม มารร์) ของชาว
 ยุโรปได้ ก็คือการจัดตั้งรัฐมาตุภูมิของชนชาติยิวขึ้น นายเฮอร์เซิลชักชวน
 ตัวเองให้เชื่อ (ทั้งๆที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงเลย) ว่าปาเลสไตน์เป็นแผ่นดิน
 ที่ไม่มีผู้คนจึงเหมาะที่จะให้เป็นที่อยู่ของชนชาติที่ไม่มีดินแดนอยู่ (คือยิว)
 ทั้งๆที่ตอนนั้น ในปาเลสไตน์มีชาวอาหรับอาศัยอยู่แล้วประมาณ 700,000
 คน และมีชาวยิวประมาณ 56,000 คน
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ขบวนการไซออนนิสม์
        นี่คือปรัชญาที่กาหนดทิศทางทาง การเมืองของอิสราเอลมาจนถึงทุก
 วันนี้ในระยะต้นๆ นั้น การที่ชาวยิวมาอยู่ร่วมกับ ชาวอาหรับในปาเลสไตน์
 ก่อนหน้าจะมีลัทธิไซออนนิสม์ขึ้นนั้น ชาวอาหรับ มิได้รังเกียจรังงอนอะไรแต่
 ในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อขบวนการไซออนนิสม์ดึงดันจะเข้ามาครอบครอง
 ปาเลสไตน์ให้ได้ ชาวอาหรับ ก็ได้คัดค้านความพยายามนั้นเป็นเสียงเดียวกัน
 พวกเขาถือว่า ชาวอาหรับครอบครองปาเลสไตน์ มาช้านานแล้วและกาลังอยู่
 ในปาเลสไตน์ ในตอนนั้นด้วยจึงยอมให้ชาวยิวเข้ามาเป็นเจ้าของประเทศ
 ไม่ได้
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ขบวนการไซออนนิสม์
       นายเชม วีซมานน์ ผู้นาคนหนึ่งของลัทธิไซออนนิสม์ได้เที่ยวขอร้องรัฐบาล
 ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งผู้คนจานวนมากโดยเน้นอย่างฉลาดถึงผลประโยชน์
 ร่วมกันระหว่างประเทศเหล่านั้นกับองค์การไซออนนิสม์สากลและใช้ความสนิท
 สนมกับบุคคลสาคัญ ๆเป็นเครื่องมือของพวกไซออนนิสม์สามารถบีบคั้นทาง
 การเมืองแก่รัฐบาลของประเทศตะวันตกโดยมุ่งไปที่อังกฤษฝรั่งเศส
 สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ขบวนการไซออนนิสม์
        จนกระทั่งรัฐบาลอังกฤษซึ่งตอนนั้นมีเซอร์เชอร์ชิล เป็นนายกรัฐมนตรีถูก
 ผู้แทนของประธานาธิบดีวิลสันแห่งสหรัฐอเมริการบเร้าจนได้ประกาศคาประกาศ
 บัลโฟร์ออกมาเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 1947เป็นคาประกาศสนับสนุนการจัดตั้ง
 รัฐยิวขึ้นในปาเลสไตน์และกล่าวว่ารัฐบาลอังกฤษจะพยายามอย่างดีที่สุดที่จะให้
 การนี้บรรลุความสาเร็จคาประกาศนี้มีในรูปของจดหมาย
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ขบวนการไซออนนิสม์
        ซึ่งนายอาเธอร์ บัลโฟร์ รัฐมนตรีต่างประเทศของอังกฤษสมัยนั้นเขียนถึง
 ลอร์ดนอร์ธสไชด์นายธนาคาร ชาวฝรั่งเศส ต่อมาฝรั่งเศสอิตาลีและสหรัฐอเมริกา
 ก็รับรองคาประกาศนี้อังกฤษได้ส่งชาวยิวจากประเทศอังกฤษไปยังปาเลสนไตน์
 เพื่อทาให้คาประกาศบัลโฟร์เป็นผลสาเร็จขึ้นมานอกจากนั้นก็มีชาวยิวจาก
 ประเทศอื่น ๆ อพยพเข้ามาอีก โดยอังกฤษได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการอพยพ
 เข้าประเทศขึ้นทาให้มีโควต้าชาวยิวที่จะอพยพเข้าและยังได้ออกกฎหมายแบ่งสัน
 ที่ดินและตั้งหลักแหล่งชาวยิวขึ้น
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                 
ขบวนการไซออนนิสม์
       นอกจากนั้นอังกฤษยังออกกฎหมายให้ชาวยิวใช้ทรัพยากรสินแร่และ
 จัดทาโครงสร้างพื้นฐานขึ้นได้ชาวยิวจึงมีอานาจควบคุมการชลประทาน การ
 ไฟฟ้าและการใช้สินแร่ที่สาคัญที่สุดของประเทศมากขึ้นทุกทีมาตรการเหล่านี้
 เป็นการเอาเปรียบประชากรส่วนใหญ่คือชาวอาหรับซึ่งเดิมมีจานวนร้อยล่ะ
 80 ของประชากรในประเทศ (1922) ประธานาธิบดีทรูแมนแห่ง
 สหรัฐอเมริกาได้ส่งสาส์นถึงนายเชอร์ชิล คัดค้านการจากัดโควต้ายิวอพยพ
 และได้ใช้อิทธิพลหว่านล้อมเชอร์ชิลให้ช่วยเหลือ พวกไซออนนิสม์ ชาวยิว
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ขบวนการไซออนนิสม์
        บางส่วนก็ได้ลักลอบเดินทางเข้าปาเลสไตน์โดยความช่วยเหลือของอเมริกา
 องค์กรที่เป็นตัวแทนของชาวยิวได้เรียกร้องให้รัฐบาลอังกฤษประกาศว่า
 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนของยิวและชาวปาเลสไตน์ควรจะเป็นชนกลุ่มน้อยที่อยู่
 ภายใต้การควบคุมของยิวพวกไซออนนิสม์ในปาเลสไตน์ได้รับความช่วยเหลือทาง
 การเงินจากชาวยิวที่ร่ารวยในประเทศอื่นๆ และยังได้รับการสนับสนุนรัฐบาล
 ประเทศตะวันตกที่มีอิทธิพลอีกด้วย ในเดือนเมษายน1918 ได้มีการจัดตั้ง
 คณะกรรมการไซออนนิสม์ในปาเลสไตน์ขึ้นอ้างตนว่าเป็นตัวแทนของชาวยิวทั่ว
 โลกมีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่รัฐบาลอังกฤษในปัญหาทุกอย่างเกี่ยวกับการจัดตั้ง
 รัฐยิว
ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
                   
ขบวนการไซออนนิสม์
      คณะกรรมการนี้ได้รับความสนับสนุนจากองค์กรไซออนิสต์สากลซึ่งเกิดขึ้น
 ในเมืองบาเซิลเมื่อปี ค.ศ. 1897 ในไม่ช้าองค์การตัวแทนชาวยิวนี้ก็ได้กลายเป็น
 รัฐบาลที่สองคู่กับรัฐบาลอังกฤษในปาเลสไตน์มีสานักงานใหญ่อยู่ในยุโรปและ
 อเมริกาเป็นผู้พิจารณาอนุมัติในเรื่องที่ชาวยิวจะเข้ามาอยู่ในประเทศได้จัดตั้ง
 ระบบการศึกษาและสุขาภิบาลขึ้นเพื่อชาวยิว
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ

More Related Content

What's hot

สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาWashirasak Poosit
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยmnfaim aaaa
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางPremo Int
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางRose Mary
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 

What's hot (20)

สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
อาหรับและปาเลสไตน์
อาหรับและปาเลสไตน์อาหรับและปาเลสไตน์
อาหรับและปาเลสไตน์
 
เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 

Viewers also liked (8)

นิกิต้า ครุสชอฟ
นิกิต้า  ครุสชอฟนิกิต้า  ครุสชอฟ
นิกิต้า ครุสชอฟ
 
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
 
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลามกลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
 
Truman
TrumanTruman
Truman
 
Kennady
KennadyKennady
Kennady
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
1
11
1
 

Similar to ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ

4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวWashirasak Poosit
 

Similar to ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ (18)

4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
การล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวียการล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวีย
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
เมียนมาร์
เมียนมาร์เมียนมาร์
เมียนมาร์
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ

  • 1. นายพรเทพ สาระคนธ์ เลขที่ 3 นายบุญฤทธ์ จิลลาวัณย์ เลขที10 ่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/1
  • 2. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย  เดิมนั้นยูโกสลาเวียอยู่ใต้อาณัติของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีซึ่ง ขณะนั้นมีเพียงเซอร์เบียและมอนเตเนโกรที่เป็นรัฐอิสระ ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1918 ทั้งฝ่ายเซอร์เบีย โครเอเชีย และสโลวีเนียได้รวมตัวกันภายใต้ชื่อ “ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย” ปกครองโดยกษัตริย์อเล็กซานเดอร์แห่ง เซอร์เบีย ถึง ค.ศ. 1934 กษัตริย์อเล็กซานเดอร์ถูกปลงพระชนม์ มกุฎราชกุมารเป็นรัชทายาท แต่อยู่ภายใต้การดูแลของคณะผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์
  • 5. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  ค.ศ. 1944 จอมพลโจซิฟ ติโต้ ซึ่งเป็นคอมมิวนิสต์เข้ายึดยูโกสลาเวีย แล้วแต่งตั้งตัวเองเป็นนายกรัฐมนตรีจัดการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น “สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย” จอมพลติโต้นี้เองที่ถือเป็นบุรุษ เหล็กสามารถทาให้ยูโกสลาเวียรวมตัวกันได้เหนียวแน่น ซึ่งประกอบไปด้วย 6 สาธารณรัฐ ได้แก่ โครเอเชีย สโลวีเนีย เซอร์เบียมอนเตเนโกร มาซิโดเนีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา(ซึ่งต่อมาก็แยกตัวออกเป็นคนละประเทศ) นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีอีก 2 มณฑลอิสระคือ โคโซโวและวอยวอดินา
  • 6. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  ปัญหาที่เกิดขึ้นในยูโกสลาเวียเป็นเรื่องของเชื้อชาติ ศาสนา ประวัติศาสตร์ เช่น สโลวีเนียและโครเอเชียตั้งอยู่ทางตะวันตกและทางเหนือ เคยอยู่ในอาณัติของอาณาจักรโรมันก่อนจะสืบทอดมาถึงจักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี วัฒนธรรมส่วนใหญ่จึงค่อนไปทางยุโรป เป็นศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก ส่วนรัฐอื่นๆตั้งอยู่ทางใต้ เคยอยู่ใต้การปกครองของอาณาจักรไบแซนไทน์และจักรวรรดิออตโตมาน พื้นฐานของวัฒนธรรมเป็นแบบมุสลิม บ้างก็ไปข้างศาสนาคริสต์นิกายออร์ โธด็อกซ์
  • 7. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  นี่เป็นการพูดถึงพื้นฐานอย่างกว้างๆซึ่งเป็นต้นตอของความขัดแย้งที่ ดารงอยู่ลึกๆตลอดเวลาแม้จะรวมตัวเป็นประเทศเดียวกัน จอมพลโจซิฟ ติโต้จะบอกให้เขาเป็นคอมมิวนิสต์ก็ได้ เป็นจอมเผด็จ การก็ได้ แต่ต้องยอมรับอยู่อย่างหนึ่งที่ติโต้สามารถสร้างเอกภาพของความ แตกต่างหลากหลายในแต่ละสาธารณรัฐให้รวมตัวเป็นประเทศหนึ่งเดียวได้ เคยมีผู้นิยมชมชอบความสามารถของติโต้เกี่ยวกับเรื่องนี้สะท้อนความเห็น ว่าเอกภาพทั้งหมดที่ทาให้ยูโกสลาเวียรวมตัวกันอยู่ได้นานน่าจะมี 3-4 เหตุ ปัจจัย ซึ่งจะจริงหรือไม่จริงไม่ทราบ? แต่ผมว่าน่าสนใจรับฟังเอาไว้
  • 9. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  1. คงเป็นบารมีส่วนตัวของติโต้ รวมทั้งการใช้อานาจอย่างเด็ดขาดและ เข้มแข็งในสไตล์เผด็จการ องค์ประกอบเหล่านี้ทาให้เขาสามารถกดอานาจ อื่นๆเอาไว้ได้ 2. การที่เขาเป็นกึ่งคอมมิวนิสต์และกึ่งเผด็จการ เข้าใจว่าการใช้อุดมการณ์ สังคมนิยมเป็นลัทธิและระบอบในการครอบงาปกครองประเทศ เพราะการ หล่อหลอมโดยหลักการสังคมนิยมนั่นเองอาจเป็นอีกปัจจัยที่สามารถกดและ ทาให้แต่ละสาธารณรัฐไม่อาจคิดไปเป็นอื่นหรือแยกตัวเองออกไป
  • 10. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  3. การปกครองของติโต้นั้นเป็นการผูกขาดทางอานาจ เขาประกาศใช้ รัฐธรรมนูญให้ตัวเองเป็นผู้นาตลอดกาลเงื่อนไขเช่นนี้จึงเท่ากับเป็นการ ควบคุมอานาจเอาไว้อย่างเบ็ดเสร็จยากที่ใครจะกระด้างกระเดื่องสี่…น่าจะ มีส่วนจากอิทธิพลบารมีของสหภาพโซเวียตในตอนนั้นซึ่งคอยช่วยเหลือ ประคับประคองต่อกัน
  • 11. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  จนกระทั่ง ค.ศ. 1980 จอมพลติโต้ถึงแก่อสัญกรรม พลันนั้นรอยร้าว ต่างๆที่สะสมตัวมานานทั้งด้านวัฒนธรรมศาสนา และประวัติศาสตร์ ก็ถึงจุด ที่ระเบิดออก เริ่มจาก ค.ศ. 1989 เมื่อสโลโบดัน มิโลเซวิชได้รับเลือกตั้ง เป็นประธานาธิบดี อีก 2 ปีถัดมาโครเอเชียและสโลวีเนียก็ประกาศเอกราช ในช่วงที่มีการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ถัดไปอีกปีบอสเนีย-เฮอร์เซ โกวีนาก็แยกตัวเป็นเอกราชอีก
  • 12. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  จากนั้นในแต่ละดินแดนก็วุ่นวายสับสน บางแห่งมีการสู้รบเข่นฆ่า กันเองตายเป็นเบือ จนทุกวันนี้ยูโกสลาเวียถูกแยกออกเป็น 8 ประเทศผมมีข้อคิดว่า อานาจผูกขาดที่มีมหาบุรุษอย่างติโต้เป็นศูนย์กลาง เมื่อมหาบุรุษสิ้นไป พร้อมกับการล่มสลายของลัทธิที่ผูกติดอยู่กับศรัทธาของตัวบุคคลมันไม่มี อะไรเป็นสายเส้นโยงใยยึดเอาไว้อีก ทุกอย่างที่เคยยิ่งใหญ่ก็ย่อมแตกสลาย
  • 13. การล่มสลายของยูโกสลาเวีย(ต่อ)  จนกระทั่ง ค.ศ. 1980 จอมพลติโต้ถึงแก่อสัญกรรม พลันนั้นรอยร้าว ต่างๆที่สะสมตัวมานานทั้งด้านวัฒนธรรมศาสนา และประวัติศาสตร์ ก็ถึงจุด ที่ระเบิดออก เริ่มจาก ค.ศ. 1989 เมื่อสโลโบดัน มิโลเซวิชได้รับเลือกตั้ง เป็นประธานาธิบดี อีก 2 ปีถัดมาโครเอเชียและสโลวีเนียก็ประกาศเอกราช ในช่วงที่มีการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ถัดไปอีกปีบอสเนีย-เฮอร์เซ โกวีนาก็แยกตัวเป็นเอกราชอีก
  • 15. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน  สงครามระหว่างอิรักกับอิหร่านกินเวลายาวนาน 8 ปี ตั้งแต่ปี 2523 ถึง 2531 สร้างความเสียหายมหาศาลให้กับทั้งสองประเทศนามาสู่การ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างไม่คาดคิดใน เวลาต่อมา
  • 16. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  จุดเริ่มต้นของสงคราม จุดเริ่มของสงครามมาจากการโค่นล้มพระเจ้าชาห์ ปาฮ์เลวี โดยกลุ่ม ฝ่ายซ้าย กลุ่มเสรีนิยม และกลุ่มศาสนานาโดย อยาโตเลาะ โคไมนิทาให้ สหรัฐต้องสูญเสียพันธมิตรทางทหารและดุลทางทหารในภูมิภาค ใน ขณะเดียวกันชาติอาหรับซุนหนี่มีความหวาดกลัวต่อการขยายของการปฏิวัติ อิสลาม โดยเฉพาะอิรักเพื่อนบ้านที่มีชาวชีอะเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ ถึงร้อยละ 60แต่มีรัฐบาลเป็นชาวซุนนี่ ภายใต้การปกครองของพรรคบาธ
  • 17. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ที่มี ซัดดัม ฮุสเซนเป็นประธานาธิบดีประกอบกับอิรักมีความขัดแย้งด้าน พรมแดนมาก่อนหน้านี้จึงนาไปสู่การทาสงครามระหว่างสองประเทศ
  • 18. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  โดยทั่วไปแล้วการวิเคราะห์มุ่งเน้นไปที่การต่อต้านปฏิวัติอิหร่านโดย การสนับสนุนชาติอาหรับซุนหนี่และสหรัฐ โดยให้อิรักเป็นแนวหน้าก็ตามแต่ ผลประโยชน์ของอิรักเป็นจุดสาคัญต่อการตัดสินใจของอิรักโดยเฉพาะ ปัญหาบูรณภาพเหนือดินแดน แม่น้าชัทอัล อาหรับ ที่เป็นจุดสาคัญของ ความขัดแย้งเกิดจากแม่น้าไทกริสและยูเฟรติสรวมกันก่อนไหลออกสู่อ่าว เปอร์เซียความขัดแย้งของการอ้างสิทธิเหนือแม่น้าสายนี้สืบกลับไปถึงสัญญา สันติภาพ
  • 19. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ในครั้งนั้น เป้าหมายของการทาสงครามของอิรัก คือ การควบคุมแม่น้าชัต อัล อาหรับ เกาะอบู มูซา เกาะเกรทเตอร์ และเลเซอร์ ตับส์ ของสหรัฐอาหรับ อิมิเรต การผนวกคูเซสถาน การต่อต้านการปฏิวัติอิหร่าน
  • 20. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ปี พ.ศ.2193 ระหว่างอาณาจักร อ๊อตโตมันกับเปอร์เซีย ในยุคอาณา อาณานิคม มีความพยายามแก้ไขพิพาทนี้โดยอังกฤษเสนอให้ใช้ร่องน้าลึก เป็นแนวเขตแดนแต่ฝ่ายอิรักไม่ยอม โดยมีต้องการให้เส้นพรมแดนอยู่ที่ฝั่ง ของอิหร่านแต่ในที่สุดอิรักยอมลงนามในสัญญาอัลเจียร์ ยอมใช้ร่องน้าลึก เป็นแนวเขตแดนภายใต้ความกดดันของสหรัฐที่หนุนหลังพระเจ้าชาร์ ปาฮ์ เลวี และอิหร่านคูเซสถานเป็นจังหวัดของอิหร่านติดกับจังหวัดบาสรา ของ อิรัก และอ่าวเปอร์เซียจังหวัดนี้อุดมไปด้วยน้ามัน เมืองอบาดานมีโรงกลั่น น้ามันขนาดใหญ่อังกฤษผนวกดินแดนให้กับอิหร่านในยุคอาณานิคม
  • 21. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ทาให้อิรักใช้เป็นข้ออ้างถึงอธิปไตย เกาะอบูมูซา เกาะเกรทเตอร์ และ เลเซอร์ ตับส์ อยู่ในอ่าวเปอร์เซียใกล้แหลมฮอร์มูซมีการอ้างสิทธิระหว่าง อิหร่านกับสหรัฐอาหรับอิมิเรต พระเจ้าชาร์ ปาฮ์เลวีแห่งอิหร่านได้อ้างสิทธิ ครอบครองในปี พ.ศ.2514แต่ส่งผลให้อิรักตัดความสัมพันธ์กับอิหร่านเพื่อประท้วง การครอบครองของอิหร่าน
  • 22. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  จนถึงปี2522 เกิดปฏิวัติอิหร่านที่นาโดยแนวร่วมต่อต้านพระเจ้าชาร์ ในที่สุด อยาโตลาโคไมนิ ได้เข้าเป็นผู้นาของประเทศ จุดนี้อาจจะทาให้ ซัดดัม ฮุสเซน เห็นโอกาสในการโจมตีอิหร่าน จึงส่งกาลังรุกรานอิหร่านที่ นาไปสู่สงครามอันยาวนาน 22 กันยายน 2523 อิรักส่งทหาร 21 กองพล รุกรานโจมตีลึกเข้าไปในดินแดนอิหร่าน เปิดแนวรบยาว 644 กิโลเมตร เมืองสาคัญของอิหร่านใกล้กับปากแม่น้าชัท อัล อาหรับได้ความเสียหาย อย่างหนักจากสงคราม เมืองอบาดานเมืองสาคัญด้านอุตสาหกรรมน้ามันถูก อิรักยึดครอง แต่กองกาลังทหารอิหร่านต้านทานอย่างเข้มแข็งจนอิรักไม่ สามารถรุกคืบเข้าไป
  • 24. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ระหว่างสงคราม สหรัฐสนับสนุนด้านยุทธปัจจัยและการส่งกาลังบารุง ให้กับอิรักเมื่ออิหร่านโจมตีเรือบรรทุกน้ามันของอิรักชาติอาหรับอื่นปิดทาง เให้อิรักส่งออกน้ามันที่เกาะคาร์ก (Khark)ชาติตะวันตกให้การ สนับสนุนกับฝ่ายอิรักเกาหลีเหนือและอิสราเอลให้การสนับสนุนอิหร่าน สหรัฐนอกจากจะให้การสนับสนุนอิรักอย่างเปิดเผยแล้ว ยังให้การสนับสนุนฝ่ายอิหร่านอย่างลับๆด้วย รัสเซียให้ความสนับสนุนทั้ง สองฝ่าย
  • 25. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ด้านอิหร่าน ฝ่ายศาสนาใช้โอกาสนี้ สร้างด้วยกระแสคลั่งชาติ กวาดล้าง หุ้นส่วนการปฏิวัติ คือผู้นาเสรีนิยมหลายคนต้องลี้ภัยไปต่างประเทศ พล พรรคจานวนมากของพรรคมาร์กซิส ทูเดย์ถูกสังหาร กองกาลังฝ่ายซ้ายอะ บอฮาสซาน บานิซาดี ถูกกวาดล้างพรรคแนวหน้าประชาธิปไตยแห่งชาติ นา โดยอยาโตเลาะคาเซม ชาเรียมาดาริ ถูกยุบกองกาลังพิทักษ์การปฏิวัติที่ขึ้น ต่อผู้นาศาสนาได้รับเสริมและขยายความเข้มแข็ง จนถึงปี 2530 จึงเริ่มเปิดการเจรจา จนกระทั่งลงนามในสนธิสัญญา สงบศึกเมื่อ 26 สิงหาคม 2531 ฝ่ายอิรักต้องกลับไปเหมือนไม่มีอะไร เกิดขึ้นนอกจากความเสียหาย
  • 26. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ต้นทุนของสงคราม สงครามอิรัก-อิหร่านสร้างความสูญหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่าง มหาศาลอิหร่านมีความสูญเสีย 1 ล้านคน จากการถูกฆ่า หรือบาดเจ็บ รวมถึงชาวอิหร่านที่เจ็บป่วยและตายจากผลของอาวุธเคมี อิรักมีความ สูญเสีย 250,000 – 500,000 คน พลเรือนหลายหมื่นคนทั้งสองฝ่าย เสียชีวิตจากการโจมตีทางอากาศและขีปนาวุธการสูญเสียทางการเงินมีมูลค่า 600,000ล้านเหรียญสหรัฐ (18.6 ล้านล้านบาท) สาหรับแต่ละฝ่าย ใน ระยะสั้นหลังจากสงครามเกิดขึ้น
  • 27. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ต้นทุนของสงคราม ต้นทุนทางเศรษฐกิจมีผลมากการพัฒนาเศรษฐกิจชะงักงันเนื่องจาก การส่งออกน้ามันถูกขัดขวาง ภาวะทางเศรษฐกิจสร้างความเสียหายให้อิรัก มากที่หนี้สินมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับอิหร่านโดยอิหร่านใช้ชีวิตที่ปลุกเร้า ด้วยความรักชาติแต่เป็นยุทธวิธีที่มีต้นทุนทางการเงินถูกกว่าระหว่างสงคราม จึงใช้ชีวิตของทหารแทนที่สาหรับการขาดแคลนแหล่งเงินทุน
  • 28. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  ต้นทุนของสงคราม เรื่องนี้ทาให้ซัดดัมเข้าสู่ตาแหน่งยากลาบากด้วยหนี้สินระหว่าง ประเทศ130,000 ล้านเหรียญ (4 ล้านล้านบาท)จานวนมากเป็นของชาติ พันธมิตรอาหรับ 67,000 ล้านเหรียญ (268,000 ล้านบาท) ปารีสคลับ 21,000 ล้านเหรียญ (380,000 ล้านบาท) ทาให้อัตราหนี้ต่อจีดีพี (ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ)ของอิรักสูงถึง 1,000 % หรือ 10 เท่าของจีดี พี จากจุดนี้นาไปสู่สงครามรุกรานคูเวตของซัดดัม
  • 29. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  สงครามครั้งนี้มีข้อสังเกตประการแรกคือ อิรักสามารถยึดครอง ดินแดนที่ต้องการไว้ได้ แต่ฝ่ายอิหร่านมิได้พ่ายแพ้การยึดครองจึงไม่มี ความหมาย และกลับไปมือเปล่า ถึงแม้ว่าอิหร่านจะเป็นศัตรูกับสหรัฐและ อิรักเป็นพันธมิตรกับสหรัฐแต่การเปลี่ยนแปลงพรมแดนมิได้เกิดขึ้น ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงพรมแดนจึงไม่อาจเกิดขึ้นได้ อาจจะมีเพียงกรณีเดียว คือ การแยกประเทศในค่ายโซเวียตหลังยุคล่มสลายของสหภาพโซเวียตซึ่งเรื่องมี ความซับซ้อนด้านยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติตะวันตก
  • 30. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  แต่ไม่อาจจะเกิดขึ้นกับส่วนอื่นของโลกอย่างไรก็ตามอาจจะเกิดกับดาร์ ฟูที่อุดมไปด้วยน้ามันภายใต้ความเห็นชอบของชาติตะวันตกการใช้กาลังเข้า ยึดครองเขาพระวิหารจะสาเร็จจริงหรือ นี่เป็นคาถามสงครามสร้างต้นทุน ด้านชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งอิหร่านและอิรักเคยเป็นประเทศร่ารวยแต่ เศรษฐกิจของทั้งสองประเทศเสื่อมโทรมลงหลังสงครามในขณะที่ผู้บาดเจ็บ นับล้านคนสร้างความทุกขเวทนาให้กับญาติพี่น้องสังคมมีต้นทุนในการ เยียวยาสูงมาก
  • 31. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-อิหร่าน(ต่อ)  แน่นอนพวกเขาถูกทอดทิ้งในขณะที่สิทธิและเสรีภาพถูกคุกคามใน กรณีของอิหร่านเห็นได้อย่างชัดเจนจากฝ่ายศาสนาใช้โอกาสกวาดล้างฝ่าย อื่นทั้งที่ไม่ใช่ศัตรูทางการเมือง เพียงแต่ความเห็นทางการเมืองต่างกัน เท่านั้น
  • 32. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  คูเวต เป็นประเทศในกลุ่มอาหรับขนาดเล็ก ตั้งอยู่ตอนบนของอ่าว เปอร์เซีย ทางเหนือและตะวันตกติดกับอิรัก ทางตะวันออกติดกับอ่าว เปอร์เซีย ทางใต้ติดกับซาอุดิอาระเบีย มีการค้นพบน้ามันปิโตรเลียมในคูเวต เมื่อ ค.ศ 1930ในปริมาณมาก ซึ่งประมาณว่า มีปริมาณร้อยละ20ของ ปริมาณน้ามันทั้งโลก นับตั้งแต่ ค.ศ.1946คูเวตเป็นประเทศผู้นาผลิตน้ามัน รายใหญ่ของโลกและส่งน้ามันมากเป็นอันดับสองของโลก คูเวตเคยเป็นรัฐ ในอารักขาของอังกฤษระหว่าง
  • 33. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ทาให้ฐานะเศรษฐกิจของอิรักทรุดหนักอิรักมีสินค้าออกหลักคือน้ามัน ซึ่งมีปริมาณร้อยละ99ของมูลค่าสินค้าออกทั้งหมด อิรักจึงพยายามผลักดัน ให้องค์การโอเปกกาหนดโควตาการผลิตน้ามันและกาหนดราคาน้ามันเสีย ใหม่ให้อิรักมีรายได้เพิ่มขึ้น อิรักอ้างว่าการที่ราคาน้ามันในตลาดโลกลดลง เพราะคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ลอบผลิตและขายน้ามันเกินโควตา
  • 34. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต   ค.ศ 1914-1961 เมื่อคูเวตได้รับเอกราชในวันที่ 19 มิถุนายน1961 รัฐบาลอิรักอ้างสิทธิว่าคูเวตเป็นส่วนหนึ่งของตนตามหลักเชื้อชาติภูมิศาสตร์ และสังคม แต่สันนิบาตอาหรับรับรองเอกราชของคูเวต  ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่านซึ่งกินเวลาถึง 8 ปี ส่งผลให้อิรักบอบช้า มากจากภาระบูรณะประเทศ อิรักต้องเป็นหนี้ต่างประเทศจานวนประมาณ 80,000 ล้านเหรียญ ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา
  • 35. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ข้อเรียกร้องที่รุนแรงของอิรักคือให้คูเวตคืนดินแดนที่รุกล้าเข้ามา คือ เขต Rumailah oilfield ซึ่งมีน้ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบู มิยัน กับเกาะวาร์บาห์ ในอ่าวเปอร์เซีย เพื่อให้อิรักขายน้ามันผ่านอ่าว เปอร์เซียโดยตรง โดยมิต้องขายน้ามันทางท่อส่งน้ามันผ่านซาอุดิอารเบีย และตุรกีเช่นเดิม
  • 36. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต   สาเหตุ กล่าวโดยสรุป เหตุผลที่อิรักบุกคูเวตในเดือนสิงหาคม 1990 มีดังนี้ 1.แรงกดดันจากหนี้สงครามอิรัก-อิหร่านอิรักจึงต้องการคุมแหล่งน้ามันของโลกคือ คูเวต เพื่อเพิมอานาจต่อรองในการผลิตน้ามันและการกาหนดราคาน้ามัน ่ 2.อิรักไม่มีทางออกทะเลหรือทางอ่าวเปอร์เซีย เพราะมีเกาะบูมิยันและเกาะวาห์บาห์ของ คูเวตขวางทางอยู่อิรักจึงมิอาจขายน้ามันโดยตรงแก่เรือผู้ซื้อได้ ทั้งอิรักยังตกลงกับอิหร่านเรื่องการใช้เมืองท่าบัสราผ่านร่องน้าซัตต์-อัล-อาหรับไม่ได้ อิรักและคูเวตมีกรณีพิพาทดินแดน Rumailah Oilfield แหล่งน้ามันที่ สาคัญมาเป็นเวลานานและหาข้อยุติไม่ได้ อิรักจึงถือโอกาสยึดครองคูเวตด้วยเหตุผลด้าน เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
  • 37. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  นอกจากนี้อิรักยังกล่าวหาว่าระหว่างอิรักทาสงครามกับอิหร่านเป็น เวลา8ปี คูเวตได้ขยายพรมแพนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรัก4 กิโลเมตร เพื่อตั้งค่ายทหารและตั้งสถานีขุดเจาะน้ามันเป็นการขโมยน้ามันของอิรัก ยิ่ง ไปกว่านั้น อิรักทาสงครามกับอิหร่านในนามชาติอาหรับและเพื่อความมั่นคง ของชาติอาหรับทั้งมวล จึงสมควรที่คูเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการทา สงคราม
  • 38. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ แยกเป็น 2 กลุ่ม คือ สหประชาชาติ ชาติอภิมหาอานาจ รวมถึงกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก เห็นตรงกันที่ต้องรักษาดุลอานาจในตะวันออกลาง คณะมนตรีความมั่นคง แห่งสหประชาชาติมีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการรุกรานและเรียกร้องให้ อิรักถอนทหารออกจากคูเวตโดยไม่มีเงื่อนไขมติของคณะมนตรีความมั่นคง อันดับต่อมาคือการประกาศคว่าบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรักและคูเวต ยกเว้นอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหร เพื่อเหตุผลด้านมนุษยธรรม แต่ อิรักก็ไม่ได้ปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ
  • 39. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสหรัฐอเมริกาดาเนินการต่างๆ เพื่อเรียกร้อง นานาชาติกดดันให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวตภาพของประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุสเซน กลายเป็นวีรบุรุษชาวอาหรับที่กล้าท้าทายโลกตะวันตก สาเหตุ ที่สหรัฐอเมริกามีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงนั้น เพราะอิรักทาลายผลประโยชน์ ของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง และแสนยานุภาพของอิรักอาจเป็น อันตรายต่ออิสราเอลพันธมิตรที่ดีของสหรัฐอเมริกาในอนาคตอีกด้วย
  • 40. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ อิยิปต์ ซีเรีย ซาอุดิอารเบีย เรียกร้องให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต สนับสนุนการเข้ามาของกองกาลังพันธมิตรและถือว่าตนปฏิบัติตามมติ ของสหประชาชาติ จอร์แดน เยเมน ตูนีเซีย แอลจีเรียและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ กลุ่มนี้เรียกร้องให้ชาติอาหรับเจรจาหาทางแก้ปัญหากันเองโดยไม่ต้อง ให้เป็นภาระขององค์การระดับโลกนอกจากนี้ยังมองว่าการปฏิบัติตาม มติของสหประชาชาติเท่ากับเป็นการรังแกชาวอาหรับด้วยกันเอง
  • 41. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ผลของสงคราม เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรประเทศต่างๆ ส่งกาลังเข้าไปในซาอุดิ อารเบียเพื่อป้องกันการรุกรานของอิรัก อิรักหันไปฟื้นฟูความสัมพันธ์กับ อิหร่าน ซึ่งเป็นศัตรูของสหรัฐอเมริกาและเคยเป็นศัตรูของอิรักเองใน สงครามอิรัก-อิหร่าน อิรัก-อิหร่านได้ทาการแลกตัวประกันจานวน 70,000 คน และอิรักได้ถอนทหารของตนออกจากดินแดนของอิหร่าน ซึ่งอิรักยึด ครองมาตั้งแต่สงครามอิรัก-อิหร่าน การกระทาของอิรักชี้ให้เห็นว่าอิรัก ต้องการให้สถานการณ์ด้านอิหร่านสงบ เพื่อไม่ต้องพะวงศึกสองด้าน
  • 42. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  กองกาลังนานาชาติเพิ่มจานวนเข้าไปในซาอุดิอาระเบียมากขึ้น เป็น ครั้งแรกที่สองอภิมหาอานาจมีความเห็นตรงกันในการแก้ปัญหาการรุกราน คูเวตของอิรัก ส่วนอิรักตอบโต้มติสหประชาชาติด้วยการเพิ่มกาลังเข้าไปใน คูเวต อิรักมีศักยภาพทางทหารสูงกว่าประเทศอาหรับอื่นๆ คือมีทหาร ประจาการถึง 1 ล้านคนและมีอาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ ซึ่งมีอานุภาพร้ายแรงแต่ต้นทุนการผลิตต่า อาวุธเหล่านี้อิรัก ได้รับความช่วยเหลือบ้างจากประเทศยุโรปตะวันตกในช่วงทาสงครามกับ อิหร่าน
  • 43. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  สงครามอ่าวเปอร์เซียเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 มกราคม 1991 ภายหลัง จากประธานาธิบดีจอร์ช บุช แห่งสหรัฐอเมริกาสามารถดาเนินวิธการทางการ ฑูตให้สหประชาชาติลงมติให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวตโดยเด็ดขาด ภายใน 15 มกราคม 1991 มิฉะนั้นกองกาลังพันธมิตรจะใช้มาตรการบังคับ ด้วยกาลังต่ออิรัก เมื่อครบกาหนดเส้นตาย สหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีทางอากาศนในอิรักและคูเวตด้วยยุทธการ พายุทะเลทราย กองกาลังพันธมิตรร่วมมือโจมตีอิรักอย่างต่อเนื่อง อิรักซึ่ง อยู่ในฐานะเป็นรองพยายามดึงอิสราเอลเข้าร่วมสงครามโดยยิงจรวดสกั๊ด โจมตีเมืองเทลอาวีปและเมืองท่าไฮฟา
  • 45. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  หากอิสราเอลหลงกลตอบโต้อิรัก อิรักก็จะได้ประเทศอาหรับที่เป็นศัตรูกับ อิสราเองมาเสริมกาลัง แต่ความพยายามของประธานาธิบดีซัดดัมล้มเหลว เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรสามารถยับยั้งมิให้อิสราเอลใช้กาลัง ตอบโต้สงครามดาเนินต่อไปด้วยความร่วมมือของฝ่ายพันธมิตร ปฏิบัติการ พายุทะเลทราย ได้ดาเนินมาถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1991 หลังจากนั้นกอง กาลังพันธมิตรได้เปิดฉากการโจมตีภาคพื้นดินต่ออิรัก ในระยะเวลาเพียง 100 ชั่วโมงกองกาลังพันธมิตรก็ได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในการยึดคูเวต มาได้สาเร็จในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ นั่นเอง
  • 46. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  หลังจากอิรักยึดครองคูเวตเป็นเวลานานกว่า6 เดือน ข้อควรพิจารณาจากสงครามอ่าวเปอร์เซียคือ บทบาทที่เด่นชัดของ สหประชาชาติในการระงับกรณีพิพาททั้งวิธีการฑูตและกาลังทหาร รวมทั้ง การคว่าบาตรทางเศรษฐกิจ มาตรการต่างๆ เหล่านี้สหประชาติาจะเลือกใช้ ตามความเหมาะสมอย่างไรก็ตาม บทบาทของสหประชาชาติในสงครามอ่าว เปอร์เซียอยู่ภายใต้การชี้นาของสหรัฐอเมริกาอย่างชัดเจนด้วยเวทีทางการ ฑูตและการทหารแสดงให้เห็นว่า บทบาทผู้นาโลกของสหรัฐอเมริกาลดความ ศักดิ์สิทธิ์ลงในสถานการณ์การเมืองโลกปัจจุบัน
  • 47. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  แม้สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 1991 แล้วก็ตาม มาตรการคว่าบาตรของสหประชาชาติได้บีบคั้นเศรษฐกิจของอิรักมากขึ้น กว่าเดิม ประชาชนอดอยากขาดแคลนอาหารและยารักษาโรคจนมีสภาพ ร่างกายที่ทรุดโทรมและต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ในเดือน พฤศจิกายน 1991นั้น สหประชาชาติได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษ ตรวจสอบอาวุธของอิรัก เข้าไปตรวจสอบแหล่งผลิตและที่ซ่อนอาวุธเคมี อาวุธนิวเคลียร์ และอาวุธชีวภาพของอิรัก เพื่อให้อิรักทาลายล้างอาวุธเหล่านี้ หลังจากนั้นสหประชาชาติจะยกเลิกมาตรการคว่าบาตรต่ออิรัก
  • 48. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ความร่วมมือระหว่างประเทศมหาอานาจเป็นสิ่งจาเป็นนอกจากนั้น ยังแสดง ให้เห็นความสาเร็จเป็นครั้งแรกที่สหประชาชาติสามารถออกมติเพื่อลงโทษ ประเทศสมาชิกที่ละเมิดกฏบัตรด้วยการรุกรานประเทศอื่น ทั้งนี้เป็นผลของ การยุติการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอานาจและความจาเป็นของการร่วมมือ ของประเทศทั้งสอง
  • 49. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  เมื่อ ค.ศ.1997 อิรักได้ขับไล่ชาวอเมริกันออกจากทีมงานอันสคอม โดยกล่าวหาว่า ชาวอเมริกาคนหนึ่งเป็นสายลับ ซึ่งสหรัฐอเมริกาปฏิบัติคา กล่าวหานี้ การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและอันสคอมกับอิรักได้ตึง เครียดมาตามลาดับ
  • 50. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสหประชาชาติกับอิรักได้เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ตั้งแต่อันสคอมถูกส่งเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในอิรักจนถึงปัจจุบัน อิรักจะ ขัดขวางการทางานของอันสคอมอยู่เสมอๆ เช่นกันนอกจากนี้ในเดือน สิงหาคม 1992 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้จัดตั้งเขตห้าม บินทางตอนใต้ของอิรักและขยายมายังตอนเหนือเพิ่มขึ้นในเดือนกันยายน 1996 ภายหลังสหรัฐอเมริกาได้โจมตีทางตอนใต้องอิรักอีก เพื่อเป็นการ ตอบโต้อิรักปราบปรามชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดอย่างรุนแรง
  • 51. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  ค.ศ.1998 เมื่ออิรักขัดขวางเจ้าหน้าที่อันสคอม(ซึ่งประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญจากหลายประเทศ รวมทั้งไทย)ไม่ให้เข้าไปตรวจสอบอาวุบริเวณ ทาเนียบประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน นายโคฟี อันนามเลขาธิการ สหประชาชาติเดินทางไปเจรจากับประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เพื่อยุติการ เผชิญหน้าระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา อิรักยินยอมให้อันสคอมตรวจสอบ อาวุธบริเวณทาเนียบประธานาธิบดี อันสคอมร้องเรียนสหประชาชาติว่าอิรัก ไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร และยังขัดขวางการปฏิบัติงานของอันสคอมอีก ด้วย
  • 52. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  การเผชิญหน้าระหว่างอิรักและสหรัฐอเมริกาทวีความรุนแรงมากขึ้น ในเดือนธันวาคม 1998 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา เตือนอิรักว่า อาจจะมีการโจมตีอิรักได้ทุกเวลาหากอิรักยังคงขัดขวางการ ปฏิบัติงานของอันสคอม 16 ธันวาคม 1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้องเดินทางออกจากอิรัก เพราะเกรงจะได้รับอันตรายจากอิรัก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึ้น ประธานาธิบดี บิล คลินตัน ได้ส่งกาลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับกองกาลังทหาร อังกฤษเพื่อยิงถล่มอิรักภายใต้ปฏิบัติการชื่อ “ปฏิบัติการจิ้งจอกทะเลทราย” เป็นเวลา 4 วัน
  • 53. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส รวมทั้งบรรดาชาติอาหรับอื่นๆ ต่างประณามการกระทา ของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทั้งเรียกร้องให้ยุติการโจมตีอิรักส่วน สมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ต่างสนับสนุนมาตรการแข็ง กร้าวของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ปัญหาอิรักคือปัญหาที่ท้าทายบทบาทของสหประชาชาติ ในเวลา เดียวกันก็เป็นปัญหาภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชี้นาและดาเนินการโดย พลการในนามสหประชาชาติ ถือเป็นการละเมิดกฏบัตรสหประชาชาติและ หลักการของประชาคมโลก
  • 54. ความขัดแย้งระหว่างอิรัก-คูเวต  นายโคฟี อันนาม กล่าวแสดงความรู้สึกของเขาว่า “วันนี้เป็นวันที่น่า เศร้าของยูเอ็นและชาวโลก ผมได้ทาทุกสิ่งเท่าที่มีอานาจหน้าที่สร้างความ สงบตามปณิธานของยูเอ็น เพื่อระวังการใช้กาลัง สิ่งนี้ไม่ใช่ของง่าย เป็น กระบวนการเจ็บปวดไม่มีที่สิ้นสุด”
  • 55. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล มิได้เป็นเพียงความขัดแย้ง ระหว่างประเทศต่อประเทศอย่างเช่นความขัดแย้งระหว่าง อินเดียกับ ปากีสถาน หรือระหว่างกลุ่มประเทศ เช่น ระหว่างกลุ่มอักษะประเทศกับ กลุ่มสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เท่านั้น แต่มันเป็นความขัดแย้ง ระหว่างชนชาติสองชนชาติ และระหว่างอุดมการณ์สองอุดมการณ์ เป็นความ ขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มผู้ถือศาสนาหนึ่ง กับกลุ่มผู้ถือศาสนาอีกศาสนาหนึ่ง ซึ่ง ก็กระจายอยู่ทั่วโลก ทั้งสองศาสนานั้น ค่อนข้างใกล้ชิดกัน ศาสดาของศาสนา หนึ่ง ก็เป็นศาสดาของอีกศาสนาหนึ่งด้วย
  • 56. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  อีกทั้งบรรพบุรุษของชนชาติทั้งสองนี้ เมื่อย้อนยุคไปจนถึงที่สุดก็เป็น คนๆ เดียวกัน แต่ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายนี้ กลับยาวนาน ยืดเยื้อไม่ สิ้นสุด มาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ เรื่องที่สาคัญ ก็คือ ความขัดแย้งอาจจะบาน ปลาย จนกลายเป็นสงครามโลกครั้งที่สามก็ได้ ซึ่งที่มาของของปัญหาเล่านี้ก็ มีเหตุผลที่ลึกซึ้งและต้องมองให้ลึกตั้งแต่ประวัติของชนชาติทั้งสองชนชาติ ทั้งชาวยิว และชาวอาหรับ
  • 57. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ประวัติทางศาสนา เรื่องที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ของศาสนา ที่สาคัญสองศาสนา คือ คริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม (อาจรวมถึงศาสนายิว หรือจูดายด้วย) ก็ คือศาสดาอับราฮัมผู้เป็นบิดาแห่งชาวยิว และเป็นศาสดาท่านหนึ่งของ ศาสนาอิสลามด้วย นั้น ท่านมีภริยาสองคน เชื้อสายของท่านจากภริยาคน แรก (นางซารอฮ หรือซารา คือ ลูกหลานของอิสฮาก (หรือไอแซค) นั้นคือ ชนชาวอาหรับ ส่วนเชื้อสายจากภริยาคนที่สอง (นางฮาญัรหรืออากัร) คือ ลูกหลานของอิสราเอล (อิชมาเอลหรืออิสมาอีล) ก็คือ ชนชาวยิว
  • 58. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ประวัติทางศาสนา ตามพระคัมภีร์ของคริสต์ศาสนา-พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงสัญญาไว้ว่า ถึงแม้ว่าอิสฮากจะเป็นทายาทที่แท้จริง ของท่านศาสดาอับราฮัม (หรืออิบรอ ฮีม) ก็ตาม แต่อิชมาเอลและลูกชายทั้งสิบสองคนของเขา ก็จะกลายเป็นชน ชาติที่ยิ่งใหญ่ด้วย บุตรหลานของลูกชายสิบสองคนของนางฮากัรก็คือชาวยิว สิบสองเผ่านั่นเอง พระคัมภีร์ไบเบิลกล่าวไว้ด้วยว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงปรากฏ ตัวต่อหน้า อับราฮัมและทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนคะนาอัน (ซึ่งต่อมาก็ คือ ดินแดนาเลสไตน์) ให้แก่ลูกหลานของท่านด้วยอับราฮัมจึงได้ไปอยู่ที่คะ นาอัน
  • 59. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล ประวัติทางศาสนา ฮาก แต่เข้ากับชาวคะนาอันไม่ได้ ส่วนอิส บุตรชาย ของท่านกลับเข้ากับ ชาวเมืองคะนาอัน ได้ดี นั่นคือชาวอาหรับลูกหลานของอิสฮาก อาศัย อยู่ในดินแดนคะนาอันก่อนแล้ว มีชื่อว่าชาวฟิลิ สตีน (ปาเลสไตน์นั่นเอง) ต่อมาอีกนานคือ ประมาณ 1400 ปี ก่อน ค.ศ.
  • 60. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ประวัติทางศาสนา อียิปต์ ได้เข้ามาปกครองชาวยิว โมเสส(ซึ่งเป็นศาสดาอีกท่านหนึ่งของ ชาวยิวและชาวมุสลิมด้วย)ได้รับคาสั่งจากพระผู้เป็นเจ้า ให้ไปช่วยชาวยิวให้หนี จาก น้ามือชาวอียิปต์โดยพระองค์ทรงช่วยแหวกน้าทะเลให้ โมเสสจึงนาชาวยิวหนี จากอียิปต์เข้ามาในดินแดนคะนาอัน (หรือปาเลสไตน์) ซึ่งมีชนเผ่าต่าง ๆอาศัย อยู่เป็นจานวนมากแล้ว นี่คือ เรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ไบเบิลและกุรอาน
  • 61. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์นั้น ดินแดนปาเลสไตน์ ตั้งอยู่แถบ ชายฝั่งตะวันออก ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งรวมอิสราเอลปัจจุบันนี้กับ จอร์แดนและอียิปต์ด้วย ชาวฮิบรู (หรือยิว) ซึ่งเดิมเป็นพวกเร่ร่อนอยู่ใน ทะเลทรายปาเลสไตน์แถบแหลมสินาย ต้องการจะพิชิตดินแดนปาเลสไตน์ จึงยกพวกข้ามดินแดนจอร์แดนมา ในดินแดนปาเลสไตน์ (คะนาอัน)ภายใต้ ผู้นาซึ่งมีชื่อว่าโจชัว ได้ฆ่าและขับไล่ชาวพื้นเมืองออกไปและทาลาย วัฒนธรรมคะนาอัน (ซึ่งเคยเป็นอู่อารยธรรมหนึ่งในสี่แห่งของโลกเก่า)
  • 62. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ชาวฮิบรู เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ใน หุบเขาอันสมบูรณ์ทางภาคเหนือ แล้วขยายดินแดนมารุกราน ชาวฟิลิสตีนซึ่งอยู่ตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เร เนียน พระคัมภีร์ไบเบิลได้ กล่าวคือ ความเป็นปรปักษ์ระหว่างชาวฮิบรูกับ ชาวฟิลิสตีน(คือชาวยิวกับปาเลสไตน์) ไว้ใน Book of Judge บทที่ 18ต่อมากษัตริย์เดวิด ได้บดขยี้ชาวฟิลิสตีนและรวบรวมดินแดนคะนาอัน ทั้งหมด ไว้ใต้อานาจของพระองค์และได้สร้างอาณาจักรฮิบรูขึ้นเป็นครั้งแรก ในที่ซึ่งเป็นประเทศจอร์แดนปัจจุบันนี้ และขยายดินแดนไปถึงแม่น้ายูเฟร ติส ในราว 1000 ปีก่อนค.ศ.
  • 63. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ นี่คือจุดเริ่มต้นของคริสต์ศาสนาซึ่งแพร่หลายไปแทนที่ศาสนาจูดาย ชาวฮิบรูได้กลายเป็นชนส่วนน้อย ในดินแดนนั้น และยอมรับนับถือคริสต์ ศาสนานอกนั้นอยู่กระจัดกระจายตามแถบ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ ในบา บิโลเนีย (อิรัก) อียิปต์ ซีเรีย เอเชียน้อย กรีซและโรม ในปี ค.ศ.300 ชาวยิว จานวนมาก อพยพไปจากปาเลสไตน์ เพราะถูกชาวโรมันรังควานตาม ประวัติศาสตร์ ที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า ชาวยิว ตั้งอาณาจักรอยู่ใน ดินแดนปาเลสไตน์ ได้เป็นระยะเวลา สั้นๆ เท่านั้น และพวกเขาเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของชนเผ่าอื่นๆ ซึ่งอยู่ในดินแดนนั้น
  • 64. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ในรัชสมัยของกษัตริย์โซโลมอน โอรสของเดวิด ชาวยิวมีอานาจสูง สุดแต่พอสิ้นชีวิตของกษัตริย์พระองค์นี้อาณาจักรฮิบรู ก็แตกแยกเพราะการ ทะเลาะเบาะแว้ง ในหมู่ชาวฮิบรูเอง ชนชาติอื่นจึงเข้ามาครอบครองดินแดน นั้นต่อไป ชาวฮิบรูสิ้นอานาจ ในดินแดนปาเลสไตน์ในปี 586 ก่อน ค.ศ. ปาเลสไตน์ หรือคะนาอัน ถูกชนชาติอื่นปกครอง ต่อมาคือ เปอร์เซีย กรีก โรมัน ประชาชนในดินแดนนี้ ได้รับความกดขี่ จนกระทั่งศาสดาเยซู (หรืออี ซา)ปรากฏขึ้น ท่านเป็นชาวฮิบรู ได้พยายามประสานความสามัคคี ระหว่าง เผ่าต่างๆในปาเลสไตน์เข้าด้วยกัน และท้าทายอานาจของโรมัน ท่านจึงถูก จับตรึงกางเขน
  • 65. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์  ต่อมาความเชือนี้ได้กลายเป็นขบวนการทางการเมือง ่ และอุดมการณ์ซึ่งมีชื่อว่า ไซออนนิสม์ (ไซออนเป็นชื่อภูเขาลูก หนึงในดินแดปาเลสไตน์) แต่ก็เกิดข้อสงสัยว่า ชาวยิวต้องการ ่ ดินแดนปาเลสไตน์ ก็ควรขัดแย้งกับชาวปาเลสไตน์เท่านั้น แต่ ทาไมชาวอาหรับทั้งหมด จึงต้องมาขัดแย้งกับชาวยิวด้วย ซึ่ง ความจริงมีอยู่ว่าดินแดนปาเลสไตน์นั้น ตั้งอยู่ในภูมภาคซึ่ง ิ ปัจจุบันนี้ เรียกว่า ตะวันออกกลาง หรือเอเชียตะวันตก เมือ่ ศาสนาอิสลามเกิดขึ้น ในแหลมอารเบีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และต่อมาได้ขยายไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง ประชากรใน ภูมิภาคนันต่างก็รบนับถือศาสนาอิสลาม (ซึ่งเรียกว่ามุสลิม คือ ้ ั ผู้นับถือศาสนาอิสลาม)
  • 66. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ส่วนชาวปาเลสไตน์นั้นอยู่ในดินแดนนั้นมาเป็นเวลานับพันๆ ปีมาแล้ว ชาวยิวในปาเลสไตน์ที่นับถือศาสนาจูดาย มีอยู่เป็นจานวนน้อยพวกนี้แหละ ที่มีสิทธิจะเรียกตัวเองว่าเป็นเชื้อสายของ ศาสดาอับราฮัม และเป็นชาว ปาเลสไตน์จริงๆ ดังนั้น การที่จะอ้างว่าชาวยิวทุกคนต้องมีสิทธิ์ ในดินแดน ปาเลสไตน์นั้น จึงฟังไม่ขึ้น แต่กระนั้นหลักการที่พวกเขายึดถือก็คือความ เชื่อของชาวยิวที่ว่า พระผู้เป็นเจ้าทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนนี้ ให้แก่พวก เขาอีกประการหนึ่ง การที่ชาวยิวต้องกระจัดกระจายไปอยู่ในประเทศต่างๆ โดยอาศัยอยู่ในชุมชนยิวที่อัดแอ ไม่สะดวกก็ยิ่งทาให้พวกเขากระตือรือร้นที่ จะกลับมายัง ดินแดนนี้มากขึ้น
  • 67. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล   ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ชาวปาเลสไตน์ ก็เป็นหนึ่งในจานวนนั้น และศาสนาอิสลามยึดหลักความเป็นพี่ น้องกันระหว่างชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใด หากพี่น้องมุสลิม ณ ที่หนึงที่ใดได้รับความ ่ เจ็บปวด มุสลิมซึงอยู่ที่อื่น ก็ย่อมเจ็บปวดไปด้วยชาวปาเลสไตน์นั้นเป็นชาวอาหรับมาตั้งแต่ ่ ต้น เดิมรับนับถือศาสนาคริสต์แต่ได้รับการกดขีจากชาวโรมัน จึงหันมารับนับถือศาสนา ่ อิสลาม สังคมของชาวปาเลสไตน์จึงมีลกษณะแบบอาหรับและมุสลิม นับเป็นครั้งแรกทีมี ั ่ ชุมชนอาหรับทีแท้จริงเกิดขึ้น ในปาเลสไตน์ มีการปกครองของตนเองแต่ก็เป็นส่วนหนึงของ ่ ่ โลกอิสลาม ในด้านการเมืองและศาสนาต่อมาอาหรับ ได้เข้ามาปกครองปาเลสไตน์ ใน ค.ศ.640 โดยเคาะลีฟะฮอุมัรที่ 1 ต่อมา ปีค.ศ.847 ตุรกีเข้ามายึดอานาจปกครองดินแดนนี้ จนถึงศตวรรษที่ 18
  • 68. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์  แต่ในศตวรรษที่ 18 อาณาจักรตุรกี (ออตโตมาน)เริ่มเสือมโทรม ประเทศ ่ มหาอานาจต่างๆ ในยุโรปหมายจะเข้ามามีอานาจแทนทีตุรกี เช่นกษัตริย์นโปเลียนของ ่ ฝรั่งเศส แต่ก็ตีปาเลสไตน์ไม่สาเร็จ กล่าวกันว่าตอนที่นโปเลียนจะยาตราทัพเข้าซีเรีย (ซึ่งรวม กับปาเลสไตน์)นั้น พระองค์ได้เชื้อเชิญชาวยิว ทั้งในทวีปเอเชียและแอฟริกามาอยู่ใต้การ ปกครองของพระองค์ เพื่อจะสร้างปาเลสไตน์ ให้เป็นอาณาจักรยิว แต่ก็ไม่ได้รับการ ตอบสนองใน ค.ศ.1832 อิบรอฮีม ปาชา ผู้นาอียิปต์เข้าครองปาเลสไตน์แทนตุรกี ต่อมาอีก 8 ปีชาวปาเลสไตน์กลับไปเข้ากับตุรกีต่อสู้กับอียิปต์ กองทัพของตุรกี อังกฤษและรัสเซียเป็น ฝ่ายมีชัย อังกฤษจึงเข้ามามีอานาจ ในตะวันออกกลางได้อังกฤษสนใจปาเลสไตน์เป็นพิเศษ เพราะเป็นทางเชื่อมมาถึงอินเดียได้ แต่อังกฤษต้องแข่งขันกับฝรั่งเศสและรัสเซีย ซึ่งต่างก็ ต้องการมีอิทธิพลที่นั่นด้วย ในที่สุดอังกฤษก็ได้พบวิธีการซึ่งช่วยอังกฤษ แย่งปาเลสไตน์มา จากตุรกีและผนวกเข้าใต้การปกครองแบบอาณัติของอังกฤษได้ วิธีการนั้น มาในรูปของ ขบวนการ ไซออนนิสม์แห่งยุโรปนั่นเอง
  • 69. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์  ไซออนนิสม์ คือ ขบวนการการเมืองนานาชาติ ของชาวยิวกลุ่มหนึ่ง(มิใช่ทั้งหมด) มีวัตถุประสงค์จะผูกพันชาวยิวในโลกไว้ด้วยพันธะด้านเชือชาติ ให้กลายเป็นชนชาติที่ ้ ยิ่งใหญ่ โดยมีศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมอยู่ที่รัฐอิสราเอล พวกไซออนนิสม์ ทาการต่อสู้เพื่อจัดตั้งมาตุภูมิของชนชาติยิวขึ้น ในประเทศปาเลสไตน์ โดยความเชื่อทีวา ่่ พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานดินแดนนั้น ให้แก่พวกตน และพวกตนเคยเป็นเจ้าของ ดินแดนนี้ มาแต่ครั้งโบราณ โดยไม่ยอมรับความจริงที่ว่า การทีชาวยิวมาครอบครอง ่ ดินแดนปาเลสไตน์ ในสมัยไบเบิลนั้น เป็นเพียงเหตุการณ์ตอนหนึง ในประวัติศาสตร์ ่ อันยาวนานของประเทศนี้ เท่านั้น
  • 70. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ และเชื้อสายของชาวยิวที่อยู่ใน ปาเลสไตน์ ก็เกือบจะหมดสิ้นไปแล้ว ตั้งแต่ศตวรรษที่หนึ่ง อีกทั้งยิวก็ไม่ใช่ ผู้ อาศัยคนแรกในปาเลสไตน์หรือเป็น เจ้าของปาเลสไตน์ด้วยผู้ตั้งลัทธิไซออน นิสม์ มีชื่อว่า นายเธียวดอร์ เฮอร์เซิล เป็นชาวยิวสัญชาติฮังกาเรียน อาชีพของ เขา คือ นักหนังสือพิมพ์
  • 71. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ อันที่จริงนั้นได้มีผู้เสนอ ให้จัดตั้งรัฐยิวขึ้นที่อื่นมาแล้ว เช่น ดร.แอง เจโลแรพโพพอร์ท และนายอับราฮัม กาแลนท์ เสนอให้จัดตั้งในประเทศ ซูดาน (ในทวีปแอฟริกา)เพราะในนั้นมีประชากรอยู่น้อย แต่องค์การไซออน นิสม์ ก็ไม่สนใจเพราะปักใจจะเอาปาเลสไตน์อยู่แล้ว ผู้นาขบวนการไซออน นิสม์หัวรุนแรงคนหนึ่ง คือนายยาโบตินสกี้ ได้เรียกร้องให้ตั้งรัฐยิวขนาด ใหญ่ ซึ่งจะรวมเอาฝั่งตะวันออกของจอร์แดนและดินแดนโพ้นทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน จนถึงแม่น้ายูเฟรติส มารวมไว้ด้วย
  • 72. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ มีความคิดว่าวิธีเดียวที่จะแก้ไขปัญหา ความเป็นปรปักษ์กับชาว เซ มิติค (ลัทธิแอนตี้-เซมิติสม์คือ ลัทธิที่เกลียดชังชาวยิวและศาสนาจูดาย ซึ่ง เริ่มขึ้นโดย นักหนังสือพิมพ์ชาวเยอรมนี ผู้มีนามว่า วิลเฮล์ม มารร์) ของชาว ยุโรปได้ ก็คือการจัดตั้งรัฐมาตุภูมิของชนชาติยิวขึ้น นายเฮอร์เซิลชักชวน ตัวเองให้เชื่อ (ทั้งๆที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงเลย) ว่าปาเลสไตน์เป็นแผ่นดิน ที่ไม่มีผู้คนจึงเหมาะที่จะให้เป็นที่อยู่ของชนชาติที่ไม่มีดินแดนอยู่ (คือยิว) ทั้งๆที่ตอนนั้น ในปาเลสไตน์มีชาวอาหรับอาศัยอยู่แล้วประมาณ 700,000 คน และมีชาวยิวประมาณ 56,000 คน
  • 73. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ นี่คือปรัชญาที่กาหนดทิศทางทาง การเมืองของอิสราเอลมาจนถึงทุก วันนี้ในระยะต้นๆ นั้น การที่ชาวยิวมาอยู่ร่วมกับ ชาวอาหรับในปาเลสไตน์ ก่อนหน้าจะมีลัทธิไซออนนิสม์ขึ้นนั้น ชาวอาหรับ มิได้รังเกียจรังงอนอะไรแต่ ในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อขบวนการไซออนนิสม์ดึงดันจะเข้ามาครอบครอง ปาเลสไตน์ให้ได้ ชาวอาหรับ ก็ได้คัดค้านความพยายามนั้นเป็นเสียงเดียวกัน พวกเขาถือว่า ชาวอาหรับครอบครองปาเลสไตน์ มาช้านานแล้วและกาลังอยู่ ในปาเลสไตน์ ในตอนนั้นด้วยจึงยอมให้ชาวยิวเข้ามาเป็นเจ้าของประเทศ ไม่ได้
  • 74. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ นายเชม วีซมานน์ ผู้นาคนหนึ่งของลัทธิไซออนนิสม์ได้เที่ยวขอร้องรัฐบาล ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งผู้คนจานวนมากโดยเน้นอย่างฉลาดถึงผลประโยชน์ ร่วมกันระหว่างประเทศเหล่านั้นกับองค์การไซออนนิสม์สากลและใช้ความสนิท สนมกับบุคคลสาคัญ ๆเป็นเครื่องมือของพวกไซออนนิสม์สามารถบีบคั้นทาง การเมืองแก่รัฐบาลของประเทศตะวันตกโดยมุ่งไปที่อังกฤษฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา
  • 75. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ จนกระทั่งรัฐบาลอังกฤษซึ่งตอนนั้นมีเซอร์เชอร์ชิล เป็นนายกรัฐมนตรีถูก ผู้แทนของประธานาธิบดีวิลสันแห่งสหรัฐอเมริการบเร้าจนได้ประกาศคาประกาศ บัลโฟร์ออกมาเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 1947เป็นคาประกาศสนับสนุนการจัดตั้ง รัฐยิวขึ้นในปาเลสไตน์และกล่าวว่ารัฐบาลอังกฤษจะพยายามอย่างดีที่สุดที่จะให้ การนี้บรรลุความสาเร็จคาประกาศนี้มีในรูปของจดหมาย
  • 76. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ ซึ่งนายอาเธอร์ บัลโฟร์ รัฐมนตรีต่างประเทศของอังกฤษสมัยนั้นเขียนถึง ลอร์ดนอร์ธสไชด์นายธนาคาร ชาวฝรั่งเศส ต่อมาฝรั่งเศสอิตาลีและสหรัฐอเมริกา ก็รับรองคาประกาศนี้อังกฤษได้ส่งชาวยิวจากประเทศอังกฤษไปยังปาเลสนไตน์ เพื่อทาให้คาประกาศบัลโฟร์เป็นผลสาเร็จขึ้นมานอกจากนั้นก็มีชาวยิวจาก ประเทศอื่น ๆ อพยพเข้ามาอีก โดยอังกฤษได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการอพยพ เข้าประเทศขึ้นทาให้มีโควต้าชาวยิวที่จะอพยพเข้าและยังได้ออกกฎหมายแบ่งสัน ที่ดินและตั้งหลักแหล่งชาวยิวขึ้น
  • 77. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ นอกจากนั้นอังกฤษยังออกกฎหมายให้ชาวยิวใช้ทรัพยากรสินแร่และ จัดทาโครงสร้างพื้นฐานขึ้นได้ชาวยิวจึงมีอานาจควบคุมการชลประทาน การ ไฟฟ้าและการใช้สินแร่ที่สาคัญที่สุดของประเทศมากขึ้นทุกทีมาตรการเหล่านี้ เป็นการเอาเปรียบประชากรส่วนใหญ่คือชาวอาหรับซึ่งเดิมมีจานวนร้อยล่ะ 80 ของประชากรในประเทศ (1922) ประธานาธิบดีทรูแมนแห่ง สหรัฐอเมริกาได้ส่งสาส์นถึงนายเชอร์ชิล คัดค้านการจากัดโควต้ายิวอพยพ และได้ใช้อิทธิพลหว่านล้อมเชอร์ชิลให้ช่วยเหลือ พวกไซออนนิสม์ ชาวยิว
  • 78. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ บางส่วนก็ได้ลักลอบเดินทางเข้าปาเลสไตน์โดยความช่วยเหลือของอเมริกา องค์กรที่เป็นตัวแทนของชาวยิวได้เรียกร้องให้รัฐบาลอังกฤษประกาศว่า ปาเลสไตน์เป็นดินแดนของยิวและชาวปาเลสไตน์ควรจะเป็นชนกลุ่มน้อยที่อยู่ ภายใต้การควบคุมของยิวพวกไซออนนิสม์ในปาเลสไตน์ได้รับความช่วยเหลือทาง การเงินจากชาวยิวที่ร่ารวยในประเทศอื่นๆ และยังได้รับการสนับสนุนรัฐบาล ประเทศตะวันตกที่มีอิทธิพลอีกด้วย ในเดือนเมษายน1918 ได้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการไซออนนิสม์ในปาเลสไตน์ขึ้นอ้างตนว่าเป็นตัวแทนของชาวยิวทั่ว โลกมีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่รัฐบาลอังกฤษในปัญหาทุกอย่างเกี่ยวกับการจัดตั้ง รัฐยิว
  • 79. ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล  ขบวนการไซออนนิสม์ คณะกรรมการนี้ได้รับความสนับสนุนจากองค์กรไซออนิสต์สากลซึ่งเกิดขึ้น ในเมืองบาเซิลเมื่อปี ค.ศ. 1897 ในไม่ช้าองค์การตัวแทนชาวยิวนี้ก็ได้กลายเป็น รัฐบาลที่สองคู่กับรัฐบาลอังกฤษในปาเลสไตน์มีสานักงานใหญ่อยู่ในยุโรปและ อเมริกาเป็นผู้พิจารณาอนุมัติในเรื่องที่ชาวยิวจะเข้ามาอยู่ในประเทศได้จัดตั้ง ระบบการศึกษาและสุขาภิบาลขึ้นเพื่อชาวยิว