SlideShare a Scribd company logo
1. การสารวจเส้นทางเดินเรื อ (ค.ศ. 1450-1750)
ยุโรปเข้าสู่ยคการสารวจเส้นทางเดินเรื อโดยการเปิ ดน่านน้ ากับโลกตะวันออก
ุ
ทาให้ชาติ
ตะวันตกสามารถค้าขายโดยตรงกับประเทศอื่นๆ มีการจัดตั้งสถานีการค้า การค้นพบทวีป และการจัดตั้ง
เมืองท่า

แผนที่การเดินเรื อ
2.สาเหตุของการสารวจเส้นทางเดินเรื อ
- การรับอารยะธรรมของชาติตะวันออกหลังเกิดสงครามครู เสด ทาให้เกิดการท้ายทายแนวคิด
ทางธรรมชาติของคริ สต์ศาสนาและเพื่อพิสูจน์แผนที่ของปโตเลมี

แผนที่โลกของปโตเลมี
- การติดต่อค้าขายทางทะเลที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการค้าทางบกชะงักเพราะเกิดเหตุการณ์
มุสลิมยึดครองกรุ งคอนสแตนติโนเปิ ล และไบแซนไทน์ ในปี ค.ศ. 1453
- การพัฒนาเรื อ การใช้เข็มทิศ

เรื อคาร์แร็คของโปรตุเกสที่นะงะซะกิ ประเทศ
ญี่ปุ่น คริ สต์ศตวรรษที่ 17

(ซ้าย) เรื อสาเภาจีนสมัยราชวงศ์หมิง
(ขวา) เรื อของวาสโกดากามา
นักเดินเรื อชาวโปรตุเกส
3. การค้นพบเส้นทางเดินเรื อสู่ดินแดนทางตะวันออก และการค้นพบโลกใหม่ของชาติตะวันตก
3.1)โปรตุเกส
- คริ สต์ศตวรรษที่ 15 เจ้าชายเฮนรี นาวิกราช (Henry the
Navigator) แห่งโปรตุเกสจัดตั้งโรงเรี ยนราชนาวีที่แหลมซาเกรส

- บาร์โธโลมิว ไดแอส (Bartholomeu Dias) เดินเรื อเลียบชายฝั่ง
๊
ทวีปแอฟริ กาผ่านแหลมกูดโฮป (Cape of Good Hope) สาเร็จ ในปี ค.ศ.1488
- วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) เดินเรื อจากเส้นทาง
ั
สารวจของไดแอสจนถึงเอเชียและขึ้นฝั่งที่เมืองกาลิกต (Calicut) ของอินเดียในค.ศ.1498
ต่อมาชาวโปรตุเกสสามารถควบคุมเมืองต่างๆทางชายฝั่งตะวันออกของแอฟริ กาและอินเดียฝั่งตะวันตก
และยึดเมืองกัว (Gua) เป็ นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก
3.2) สเปน

- คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส (Chistopher Columbus) รับ
อาสากษัตริ ยสเปนเดินเรื อไปประเทศจีนโดยเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และค้นพบทวีปอเมริ กา
์
ในที่สุด ในปี ค.ศ.1492 ทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในอเมริ กา

- ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่15 เป็ นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่าง
โปรตุเกสกับสเปนเพื่อหาเส้นทางไปยังหมู่เกาะอินดีส (East Indies) ซึ่งเป็ นแหล่งเครื่ องเทศ
และพริ กไทย
- ในค.ศ.1494 สันตะปาปาอะเล็กซานเดอร์ที่6 (Alexander
VI) ทรงให้สเปนและโปรตุเกสทาสนธิสญญาทอร์เดซียส (Treaty of Tordesillas)
ั
ั
กาหนดให้แบ่งโลกออกเป็ น2ส่วนโดยสเปนมีสิทธิสารวจและยึดครองดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้น
เมริ เดียนที่ 51 และโปรตุเกสได้สิทธิทางด้านตะวันออก นาไปสู่การครอบครองทวีปอเมริ กาใต้ของ
สเปนเกือบหมด ยกเว้นบราซิลซึ่งตกเป็ นของโปรตุเกสตามข้อตกลงของสนธิสญญานี้และนาไปสู่การสร้าง
ั
จักรวรรดิทางทะเล (maritime empire) ของโปรตุเกสในเอเชีย
- ในค.ศ.1519 เฟอร์ดินนด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan) นัก
ั
เดินเรื อชาวโปรตุเกส ได้แล่นเรื อออกจากท่าเรื อสเปน ไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก และอ้อมผ่านช่องแคบมา
เจลลัน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริ กาใต้และข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งเขาตั้งชื่อว่า มาเร ปาซิฟิโก (Mare Pacifico)

ซึ่งแปลว่า ทะเลสาบ (The Peaceful Sea) และได้ข้ ึนฝั่งอีกครั้งที่หมู่เกาะฟิ ลิปปิ นส์ การเดินทางของมาเจลลัน
่
่
ครั้งนี้นบเป็ นการเดินเรื อครั้งแรกที่ขามมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวีปเอเชีย และสามารถพิสูจน์ได้วาอเมริ กาและเอเชียตั้งอยูคน
ั
้
ละทวีป แต่มาเจลลันไม่ได้แล่นเรื อกลับสเปน เขาถูกคนพื้นเมืองฆ่าตาย เมื่อพยายามเผยแผ่ศาสนา แต่ลูกเรื อที่เหลือ สามาถ
่
หลบหนีออกจากฟิ ลิปปิ นส์ได้ และเดินทางต่อไปจนพบโมลุกกะ หรื อหมู่เกาะเครื่ องเทศ ใน ค.ศ.1522 ซึ่งนับได้วาเป็ นเรื อ

ลาแรกที่แล่นรอบโลก และสามารถพิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็ นความจริ ง

สี แดง = เส้นทางเดินเรื อของมาเจลลัน
สี น้ าเงิน = เส้นทางเดินเรื อของลูกเรื อ
3.3)ฮอลันดา
่
- ฮอลันดา หรื อฮอลแลนด์ หรื อเนเธอร์แลนด์ เคยอยูใต้การปกครองของสเปน ก่อน
หน้านี้ชาวดัตซ์ได้ทาหน้าที่เป็ นพ่อค้าคนกลางในการค้าเครื่ องเทศในยุโรป แต่เมื่อฮอลันดาแยกตัวเป็ นอิสระใน
ค.ศ.1580 พ่อค้าดัตซ์จึงไม่สามารถเข้าไปซื้อเครื่ องเทศในโปรตุเกสได้ ฮอลันดาจึงหาเส้นทางเพื่อติดต่อซื้อ
เครื่ องเทศโดยตรง ในที่สุดกองทัพเรื อของฮอลันดาก็สามารถยึดครองอานาจการค้าเครื่ อง เทศของโปรตุเกสได้ใน
ค.ศ.1598 และได้จดตั้งสถานีการค้าในเกาะชวา อีกทั้งยังจัดตั้งบริ ษทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาขึ้นเพื่อ
ั
ั
ควบคุมการค้าในหมู่เกาะเครื่ องเทศ
- ค.ศ.1606 บริ ษทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้ส่งวิลเล็ม เจนซ์
ั
่
(Willem Jansz) คุมเรื อ ดุฟเกน (Duyfken) เพื่อค้นหาเกาะทองคาที่เชื่อว่าอยูทาง
ทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา การเดินเรื อครั้งนี้ทาให้เจนซ์ได้คนพบทวีปออสเตรเลีย และเรี ยก
้
่
ทวีปนี้วา นิวฮอลแลนด์ (New Holland) แต่ในคริ สต์ศตวรรษที่18 อังกฤษได้ครอบครอง
ั
ทวีปนี้และเรี ยกทวีปว่า ออสเตรเลีย (Australia)
3.4) อังกฤษ

- อังกฤษได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในตะวันออกในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 16 ได้ทาสงครามกับสเปน
และสามารถรบชนะกองทัพเรื ออาร์มาดา (Armada) ของสเปนได้ ทาให้องกฤษขยายอิทธิ พลสู่ ตะวันออก
ั
- ค.ศ.1591 อังกฤษได้ส่งกองเรื อเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮปมายังอินเดียเป็ นครั้งแรก ต่อมา
อังกฤษสามารถสลายอานาจทางทะเลของโปรตุเกสที่ควบคุมมหาสมุทรอินเดีย จนเข้าไปมีอานาจและอิทธิพลในอินเดียและอ่าว
เปอร์เซีย นับตั้งแต่น้ นอังกฤษก็กลายเป็ นคู่แข่งขันในทางการค้ากับฮอลันดาในตะวันออก
ั
- หลังจากที่รัฐบาลอังกฤษเข้ามามีบทบาทแทนบริ ษทอินเดียตะวันออกของอังกฤษแล้ว รัฐบาล
ั
อังกฤษดาเนินนโยบายสร้างอิทธิพลในตะวันออกอังกฤษอย่างเต็มที่โดยยึด ดินแดนต่างๆเป็ นอาณานิคมของตน เช่น อินเดีย พม่า
มลายู สิ งคโปร์
4. ผลของการค้นพบดินแดนของชาติตะวันตก
4.1) การเผยแผ่ศาสนา

- คริ สต์ศาสนาถูกเผยแผ่ในประเทศ ที่ติดต่อทาการค้า หรื อดินแดนที่เข้ายึด
ครองและจัดตั้งเป็ นอาณานิคมด้วยสันติวิธีโดยบาทหลวง ทาหน้าที่สอนศาสนาและให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรมและการศึกษาแก่คนพื้นเมือง แต่ในขณะเดียวกันก็อาจใช้วิธีรุนแรงเพื่อบีบบังคับให้คนพื้นมือง
ในบางดินแดน ซึ่งถือว่าเป็ นพวกนอกรี ต (heresy) ให้หนมายอมรับนับถือคริ สต์ศาสนา และเป็ น
ั
นโยบายของประเทศด้วย
- ในคริ สต์ศตวรรษที่16 สเปนใช้ศาลศาสนาเป็ นเครื่ องมือในการส่งกอง
ทหารเข้าทาลายล้างอารยธรรมของเผ่า มายา (Maya) แอสเต็ก (Aztec) และอินคา (Inca)
ในทวีปอเมริ กาใต้ โดยใช้เหตุผลว่าชนพื้นเมืองเหล่านี้เป็ นพวกนอกศาสนาและบีบบังคับให้นบถือคริ ตส์
ั
ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก จนในกลายมาเป็ นศาสนาประจาแถบนี้ในที่สุด
โบสถ์คาทอลิกในประเทศกัวเตมาลา
4.2) การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและระบบการค้า
- การค้นพบดินแดนใหม่ การจัดตั้งสถานีการค้าและอาณานิคมช่วยให้ชาติตะวันตก
ขยายตัวทางการค้าอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดเกิดการปฏิวติการค้า(commercial
ั
revolution)เกิดระบบพาณิ ชยนิยม (mercantile system) และเกิดการก่อตั้ง
บริ ษทรวมทุน (joint stock company)ขึ้ น ซึ่งทาการค้าในนามของประเทศและทาให้
ั
ประเทศของตนให้สามารถยึดครองดินแดนต่างๆในพระนามของกษัตริ ย ์ เช่น บริ ษทอินเดียตะวันออกของ
ั
อังกฤษได้ก่อตั้งในทวีปอเมริ กาเหนือและเบิกทางให้รัฐบาลอังกฤษสามารถเข้าครอบครองอินเดียในเวลาต่อมา
- นอกจากนี้การขยายตัวทางการค้าอย่างรวดเร็ว การค้นพบเหมืองแร่ เงินและทอง
ในทวีปอเมริ กาทาให้เกิดการปฏิวติทางราคา(price revolution) ทาให้สินค้าอุปโภคบริ โภคแพง
ั
ขึ้นหลายเท่าตัวก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อ
East India Company
4.3) การกระจายและแพร่ พนธุของพืชและสัตว์
ั ์
- ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่17 ชาวดัตซ์ได้นาต้นกาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูก
ที่เกาะชวาเพื่อให้เป็ นพืชเศรษฐกิจแทนเครื่ องเทศที่ทากาไรได้นอยลง จนกาแฟกลายเป็ นสิ นค้าสาคัญอย่างหนึ่งใน
้
ภูมิภาคนี้
ยิงไปกว่านั้นกาแฟยังได้แพร่ หลายไปยังทวีปอเมริ กาใต้ทาให้ทวีปอเมริ กาใต้กลายเป็ นผูผลิตกาแฟที่มี
้
่
ปริ มาณมากที่สุดในโลก
- ต้นยางพาราจากบราซิลมาปลูกในแถบทะเลใต้ (South Seas)
และได้แพร่ กระจายไปยังอินโดนีเซีย มาเลเซีย และภาคใต้ของไทย จนประเทศต่างๆเหล่านี้กลายเป็ นแหล่ง
ผลิตยางพาราที่สาคัญของโลก

- ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 18 ชาวตะวันตก
นาเอาแกะไปแพร่ พนธุ์ จนปัจจุบนออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เป็ นผูผลิตขนแกะที่มีจานวนรวมกัน
ั
ั
้
มากกว่าครึ่ งหนึ่งของประมาณที่ผลิตทัวโลก
่
4.4) การระบาดของโรค

- เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ โรคระบาดมาพร้อมๆ กับเรื อของชาวยุโรป
โรคระบาดที่สาคัญเช่น โรคหัด และฝี ดาษในอเมริ กาเหนือ ไข้เหลืองและไข้มาลาเรี ยที่มีมากในแอฟริ กามา
ระบาดในอเมริ กากลางและใต้ เป็ นต้น
การฟื้ นฟูศิลปวิทยา
การฟื้ นฟูศิลปวิทยา หมายถึง การเกิดใหม่(rebirth)ของการศึกษา การฟื้ นฟูอุดมคติศิลปะ

และวรรณกรรมของกรี กและโรมัน เริ่ มต้นในคริ สต์ศตวรรษที่14 และสิ้นสุดในกึ่งกลางคริ สต์ศตวรรษที่
17
สมัยใหม่

โดยถือว่าเป็ นจุดเชื่อมต่อ(transitional

period)ของประวัติศาสตร์สมัยกลางและ
1. สาเหตุของการฟื้ นฟูศิลปวิทยา
- การขยายตัวทางการค้าทาให้ฐานะทางการเงินของชาวยุโรป มังคังขึ้น จึงหันมา
่ ่
สนับสนุนด้านศิลปะและวิทยาการ
ที่ต้งของนครรัฐต่างๆในอิตาลีเคยเป็ นแหล่งความเจริ ญรุ่ งเรื องของจักรวรรดิโรมัน
ั
นักปราชญ์และศิลปิ นจึงให้ความสนใจในศิลปะและวิทยาการของชาวโรมันมาก
- ชาวยุโรปปฏิเสธกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดของฝ่ ายศาสนจักร อีกทั้งการทุจริ ตของนักบวชทา
ให้คนเสื่ อมศรัทธาในสถาบันคริ สต์ศาสนาและหันไปสนใจงานสร้างสรรค์ของเพื่อนมนุษย์ดวยกัน
้
- สงครามครู เสดและการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ (ค.ศ.1453)ทาให้
วิทยาการต่างๆของชาวโรมันและกรี กที่ได้สืบทอดเอาไว้กลับคืนไปทางตะวันตกอีกครั้ง
2. แนวคิดใหม่สมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา
- ในสมัยกลางชาวตะวันตกเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่กาเนิด การมีชีวิตอยูเ่ ป็ นการไถ่
บาป เพื่อเดินทางไปสู่สวรรค์ เมื่อเกิดการฟื้ นฟูศิลปวิทยาขึ้น แนวคิดทางโลกของชาวตะวันตกก็เปลี่ยนแปลงไป
และเห็นว่า มนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีมีคุณค่าได้
แนวคิดนี้จึงเป็ นที่มาของลัทธิ มนุษยนิยม
(humanism) ที่ให้ความสนใจโลกปัจจุบนแทนการมุ่งไปสวรรค์
ั
- นักปราชญ์คนแรกที่มีบทบาทสาคัญและได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรัน
เซสโก เปตรากา เปทราก (Francessco Petrarca Petrarch ค.ศ.13041374) ซึ่งพยายามศึกษาการใช้ภาษาละตินตามแบบแผนเดิมและชี้ให้เห็นถึงความงามของ ภาษาละติน ทา
ให้ลูกศิษย์และผูนิยมงานเขียนสมัยคลาสสิ กศึกษาค้นคว้างานเก่าๆอย่างกว้างขวาง ผูสนใจในงานคลาสสิ กของ
้
้
สมัยโบราณหรื อเรี ยกว่า พวกมนุษยนิยม (humanist) ได้รับการยกย่องในความรู้และความสามารถใน
การใช้ภาษาละตินและได้รับการเชื้อเชิญให้เป็ นราชเลขาธิการและอาจารย์ประจาราชสานัก
ตลอดจนเป็ น
เจ้าหน้าที่สารบรรณในสานักสันตะปาปา
Francessco Petrarca Petrarch
- ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 14 นักปราชญ์ชาวกรี กจากกรุ งคอนสแตนติโนเปิ ลเริ่ มอพยพ
จากการรุ กรานของพวกมุสลิม มายังอิตาลี และสมัครเป็ นอาจารย์สอนภาษากรี กในราชสานักและโรงเรี ยน
ต่างๆ ทาให้พวกมนุษยนิยมชาวอิตาลีมีความรู้ในภาษาและวัฒนธรรมของกรี ก สามารถนาวรรณคดีและ
ปรัชญาของกรี กมาแปลเป็ นภาษาละตินเผยแพร่ ในยุโรปตะวันตกมากขึ้น
- ในค.ศ.1454 โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก (Johannes Gutenburg
ค.ศ.1400-1468) สามารถผลิตเครื่ องพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรี ยงตัวอักษรได้สาเร็จ ทาให้หนังสื อมีราคาถูกลง
และเผยแพร่ ไปยังดินแดนต่างๆได้กว้างขวาง

่
- นักมนุษยนิยมมีความคิดที่วาคริ สต์ศาสนิกชนควรจะแยกตัวจากการครอบงาทางความคิดของศาสน
จักร
เพื่อแสวงหาสิ ทธิเสรี ภาพในการใช้ชีวิตอย่างเป็ นประโยชน์
ซึ่งความคิดนี้เป็ นรากฐานการกบฏของ
คริ สต์ศาสนิกชนต่อสถาบันสันตะปาปาที่กาลังเสื่ อมโทรมที่นาไปสู่การปฏิรูปทางศาสนาในค.ศ. 1517
- ในสมัยกลาง งานสร้างสรรค์ศิลปะแขนงต่างๆ เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวโยงกับคริ สต์ศาสนา
โดยเฉพาะ ดังนั้นงานศิลปะส่วนใหญ่มีลกษณะแข็งกระด้างและขาดชีวิตชีวา
ั
- ศิลปะสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยานับเป็ นการปฏิวติแขนงหนึ่ง เพื่อให้หลุดพ้นจากอิทธิพลของคริ สต์ศาสนา
ั
ในสมัยกลาง ประติมากรในสมัยนี้นิยมวิธีการของกรี ก-โรมันที่สร้างงานศิลปะที่ เป็ นธรรมชาติ ความสวยงามของสรี ระ
ร่ างกายมนุษย์ มีการค้นคว้าเทคนิคใหม่ๆในการผสมสี การวาดภาพปูนเปี ยก (fresco) แสงและเงา รวมทั้งมิติ
และการจัดองค์ประกอบของภาพ
ศิลปิ นที่สาคัญที่มีชื่อเสี ยงได้แก่
มีเกลันเจโล
บูโอนาร์โรตี
(Michelangelo Buonarroti ค.ศ.1475-1564) เลโอนาร์โด ดา วินซี
(Leonardo da Vinci ค.ศ. 1452-1519) และราฟาเอล (Raphael ค.ศ. 14831520)

ภาพวาดปูนเปี ยก (Fresco)
- มีเกลันเจโล เป็ นศิลปิ นผูมีชื่อเสี ยงทั้งด้านจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ซึ่งเขา
้
สนใจด้านประติมากรรมมากที่สุดโดยเฉพาะรู ปสลักผูชายเปลือยแสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่สมส่วนของ
้
ร่ างกายเพราะเขาคิดว่ามนุษย์เกิดจากฝี พระหัตถ์ของพระผูเ้ ป็ นเจ้า ได้แก่ รู ปสลักเดวิด (David) เป็ น
่
ชายหนุ่มเปลือยกายที่อยูในท่าเตรี ยมต่อสูกบศัตรู และปิ เอตา (Pieta) เป็ นรู ปสลักพระมารดากาลัง
้ ั
ประคองพระเยซูในอ้อมพระกรหลังจากที่พระองค์สิ้นพระ ชนม์บนไม้กางเขน งานจิตรกรรมที่มีชื่อเสี ยง
ได้แก่ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้บนเพดานและฝาผนังของโบสถ์ซีสติน (Sistine Chapel)
ในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ภาพส่วนใหญ่แสดงส่วนสัดต่างๆของร่ างกายชายหญิง

Pieta
Sistine Chapel
David
- เลโอนาร์โด ดา วินซี เป็ นศิลปิ นและนักปราชญ์ที่มีความรู้และความสามารถเป็ นเลิศในสาขา
จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ และนาความรู้
ต่างๆมาถ่ายทอดในรู ปแบบของงานจิตรกรรมได้เป็ นอย่างดี
งานของเขาเต็มไปด้วยบรรยากาศที่เป็ นจริ ง
นุ่มนวล ละเมียดละไม แฝงไว้ซ่ ึงอารมณ์ความรู้สึก อีกทั้งเป็ นสัญลักษณ์ของความรักความเมตตา ภาพเขียนที่
มีชื่อเสี ยง ได้แก่ ภาพอาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็ นภาพอาหารมื้อสุดท้ายของ
พระเยซูก่อนถูกนาไปตรึ งไม้กางเขน โมนาลิซา (Mona Lisa)
- ราฟาเอล มีผลงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความประณี ตนิ่มนวล ภาพที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ ภาพพระ
แม่ พระบุตร และจอห์น แบบติสต์ (Madonna and Child with St.John)
แสดงความรักของแม่ที่มีต่อบุตร พระกุมารในภาพแสดงถึงความบริ สุทธิ์ไร้เดียงสาของเด็กที่ถูกเพิกเฉยในสมัย
กลางและเป็ นจุดเริ่ มต้นให้ผใหญ่หนมาให้ความรักและความสนใจเด็กมากขึ้น
ู้
ั

Madonna and Child with
St.John
-

งานประพันธ์ท้งร้อยแก้วและร้อยกรองในยุคนี้ที่แสดงให้เห็นถึงความขัดแย้งของ
ั

ความคิดในกรอบและกฎเกณฑ์ที่เคร่ งครัดของคริ สต์ศาสนา

ได้แก่

บทร้อยกรองซอนเนต

(Sonnet) ของเทปราก ดิแคเมอรอน(Decameron) ของโจวันนี บอกกัชโช
(Giovanni Boccaccio ค.ศ. 1313-1375)
- งานวรรณกรรมด้านนาฏกรรมหรื อบทละคร ก็มีการปรับเปลี่ยนมาจากบทละครกรี ก นัก
ประพันธ์ที่สาคัญ ได้แก่ วิลเลียม เชกสเปี ยร์ (William Shakespeare ค.ศ. 15641616) บทละครที่มีชื่อเสี ยงของเขา คือ โรมีโอและจูเลียต (Romeo and Juliet) เวนิ
สวาณิ ช (The Merchant of Venice) เป็ นต้น บทละครเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึง
อารมณ์ อุปนิสยและการตัดสิ นใจมนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆ
ั
1. น.ส. ปัฐมสุชา

คุมชัยสกุล ม.6.5
้

เลขที่ 40

่ ั
2. น.ส. พูภทรา

บุรพรัตน์

เลขที่ 41

ม.6.5

More Related Content

What's hot

เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
nidthawann
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
Supicha Ploy
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
 

What's hot (20)

เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 

Similar to การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก

ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
MiOo Gie
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
Mind Mmindds
 

Similar to การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก (6)

ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 

More from Pannaray Kaewmarueang

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (13)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก

  • 1.
  • 2. 1. การสารวจเส้นทางเดินเรื อ (ค.ศ. 1450-1750) ยุโรปเข้าสู่ยคการสารวจเส้นทางเดินเรื อโดยการเปิ ดน่านน้ ากับโลกตะวันออก ุ ทาให้ชาติ ตะวันตกสามารถค้าขายโดยตรงกับประเทศอื่นๆ มีการจัดตั้งสถานีการค้า การค้นพบทวีป และการจัดตั้ง เมืองท่า แผนที่การเดินเรื อ
  • 3. 2.สาเหตุของการสารวจเส้นทางเดินเรื อ - การรับอารยะธรรมของชาติตะวันออกหลังเกิดสงครามครู เสด ทาให้เกิดการท้ายทายแนวคิด ทางธรรมชาติของคริ สต์ศาสนาและเพื่อพิสูจน์แผนที่ของปโตเลมี แผนที่โลกของปโตเลมี
  • 4. - การติดต่อค้าขายทางทะเลที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการค้าทางบกชะงักเพราะเกิดเหตุการณ์ มุสลิมยึดครองกรุ งคอนสแตนติโนเปิ ล และไบแซนไทน์ ในปี ค.ศ. 1453 - การพัฒนาเรื อ การใช้เข็มทิศ เรื อคาร์แร็คของโปรตุเกสที่นะงะซะกิ ประเทศ ญี่ปุ่น คริ สต์ศตวรรษที่ 17 (ซ้าย) เรื อสาเภาจีนสมัยราชวงศ์หมิง (ขวา) เรื อของวาสโกดากามา นักเดินเรื อชาวโปรตุเกส
  • 5. 3. การค้นพบเส้นทางเดินเรื อสู่ดินแดนทางตะวันออก และการค้นพบโลกใหม่ของชาติตะวันตก 3.1)โปรตุเกส - คริ สต์ศตวรรษที่ 15 เจ้าชายเฮนรี นาวิกราช (Henry the Navigator) แห่งโปรตุเกสจัดตั้งโรงเรี ยนราชนาวีที่แหลมซาเกรส - บาร์โธโลมิว ไดแอส (Bartholomeu Dias) เดินเรื อเลียบชายฝั่ง ๊ ทวีปแอฟริ กาผ่านแหลมกูดโฮป (Cape of Good Hope) สาเร็จ ในปี ค.ศ.1488
  • 6. - วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) เดินเรื อจากเส้นทาง ั สารวจของไดแอสจนถึงเอเชียและขึ้นฝั่งที่เมืองกาลิกต (Calicut) ของอินเดียในค.ศ.1498 ต่อมาชาวโปรตุเกสสามารถควบคุมเมืองต่างๆทางชายฝั่งตะวันออกของแอฟริ กาและอินเดียฝั่งตะวันตก และยึดเมืองกัว (Gua) เป็ นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก
  • 7. 3.2) สเปน - คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส (Chistopher Columbus) รับ อาสากษัตริ ยสเปนเดินเรื อไปประเทศจีนโดยเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และค้นพบทวีปอเมริ กา ์ ในที่สุด ในปี ค.ศ.1492 ทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในอเมริ กา - ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่15 เป็ นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่าง โปรตุเกสกับสเปนเพื่อหาเส้นทางไปยังหมู่เกาะอินดีส (East Indies) ซึ่งเป็ นแหล่งเครื่ องเทศ และพริ กไทย
  • 8. - ในค.ศ.1494 สันตะปาปาอะเล็กซานเดอร์ที่6 (Alexander VI) ทรงให้สเปนและโปรตุเกสทาสนธิสญญาทอร์เดซียส (Treaty of Tordesillas) ั ั กาหนดให้แบ่งโลกออกเป็ น2ส่วนโดยสเปนมีสิทธิสารวจและยึดครองดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้น เมริ เดียนที่ 51 และโปรตุเกสได้สิทธิทางด้านตะวันออก นาไปสู่การครอบครองทวีปอเมริ กาใต้ของ สเปนเกือบหมด ยกเว้นบราซิลซึ่งตกเป็ นของโปรตุเกสตามข้อตกลงของสนธิสญญานี้และนาไปสู่การสร้าง ั จักรวรรดิทางทะเล (maritime empire) ของโปรตุเกสในเอเชีย
  • 9. - ในค.ศ.1519 เฟอร์ดินนด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan) นัก ั เดินเรื อชาวโปรตุเกส ได้แล่นเรื อออกจากท่าเรื อสเปน ไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก และอ้อมผ่านช่องแคบมา เจลลัน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริ กาใต้และข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งเขาตั้งชื่อว่า มาเร ปาซิฟิโก (Mare Pacifico) ซึ่งแปลว่า ทะเลสาบ (The Peaceful Sea) และได้ข้ ึนฝั่งอีกครั้งที่หมู่เกาะฟิ ลิปปิ นส์ การเดินทางของมาเจลลัน ่ ่ ครั้งนี้นบเป็ นการเดินเรื อครั้งแรกที่ขามมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวีปเอเชีย และสามารถพิสูจน์ได้วาอเมริ กาและเอเชียตั้งอยูคน ั ้ ละทวีป แต่มาเจลลันไม่ได้แล่นเรื อกลับสเปน เขาถูกคนพื้นเมืองฆ่าตาย เมื่อพยายามเผยแผ่ศาสนา แต่ลูกเรื อที่เหลือ สามาถ ่ หลบหนีออกจากฟิ ลิปปิ นส์ได้ และเดินทางต่อไปจนพบโมลุกกะ หรื อหมู่เกาะเครื่ องเทศ ใน ค.ศ.1522 ซึ่งนับได้วาเป็ นเรื อ ลาแรกที่แล่นรอบโลก และสามารถพิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็ นความจริ ง สี แดง = เส้นทางเดินเรื อของมาเจลลัน สี น้ าเงิน = เส้นทางเดินเรื อของลูกเรื อ
  • 10. 3.3)ฮอลันดา ่ - ฮอลันดา หรื อฮอลแลนด์ หรื อเนเธอร์แลนด์ เคยอยูใต้การปกครองของสเปน ก่อน หน้านี้ชาวดัตซ์ได้ทาหน้าที่เป็ นพ่อค้าคนกลางในการค้าเครื่ องเทศในยุโรป แต่เมื่อฮอลันดาแยกตัวเป็ นอิสระใน ค.ศ.1580 พ่อค้าดัตซ์จึงไม่สามารถเข้าไปซื้อเครื่ องเทศในโปรตุเกสได้ ฮอลันดาจึงหาเส้นทางเพื่อติดต่อซื้อ เครื่ องเทศโดยตรง ในที่สุดกองทัพเรื อของฮอลันดาก็สามารถยึดครองอานาจการค้าเครื่ อง เทศของโปรตุเกสได้ใน ค.ศ.1598 และได้จดตั้งสถานีการค้าในเกาะชวา อีกทั้งยังจัดตั้งบริ ษทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาขึ้นเพื่อ ั ั ควบคุมการค้าในหมู่เกาะเครื่ องเทศ
  • 11. - ค.ศ.1606 บริ ษทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้ส่งวิลเล็ม เจนซ์ ั ่ (Willem Jansz) คุมเรื อ ดุฟเกน (Duyfken) เพื่อค้นหาเกาะทองคาที่เชื่อว่าอยูทาง ทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา การเดินเรื อครั้งนี้ทาให้เจนซ์ได้คนพบทวีปออสเตรเลีย และเรี ยก ้ ่ ทวีปนี้วา นิวฮอลแลนด์ (New Holland) แต่ในคริ สต์ศตวรรษที่18 อังกฤษได้ครอบครอง ั ทวีปนี้และเรี ยกทวีปว่า ออสเตรเลีย (Australia)
  • 12. 3.4) อังกฤษ - อังกฤษได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในตะวันออกในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 16 ได้ทาสงครามกับสเปน และสามารถรบชนะกองทัพเรื ออาร์มาดา (Armada) ของสเปนได้ ทาให้องกฤษขยายอิทธิ พลสู่ ตะวันออก ั - ค.ศ.1591 อังกฤษได้ส่งกองเรื อเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮปมายังอินเดียเป็ นครั้งแรก ต่อมา อังกฤษสามารถสลายอานาจทางทะเลของโปรตุเกสที่ควบคุมมหาสมุทรอินเดีย จนเข้าไปมีอานาจและอิทธิพลในอินเดียและอ่าว เปอร์เซีย นับตั้งแต่น้ นอังกฤษก็กลายเป็ นคู่แข่งขันในทางการค้ากับฮอลันดาในตะวันออก ั - หลังจากที่รัฐบาลอังกฤษเข้ามามีบทบาทแทนบริ ษทอินเดียตะวันออกของอังกฤษแล้ว รัฐบาล ั อังกฤษดาเนินนโยบายสร้างอิทธิพลในตะวันออกอังกฤษอย่างเต็มที่โดยยึด ดินแดนต่างๆเป็ นอาณานิคมของตน เช่น อินเดีย พม่า มลายู สิ งคโปร์
  • 13. 4. ผลของการค้นพบดินแดนของชาติตะวันตก 4.1) การเผยแผ่ศาสนา - คริ สต์ศาสนาถูกเผยแผ่ในประเทศ ที่ติดต่อทาการค้า หรื อดินแดนที่เข้ายึด ครองและจัดตั้งเป็ นอาณานิคมด้วยสันติวิธีโดยบาทหลวง ทาหน้าที่สอนศาสนาและให้ความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมและการศึกษาแก่คนพื้นเมือง แต่ในขณะเดียวกันก็อาจใช้วิธีรุนแรงเพื่อบีบบังคับให้คนพื้นมือง ในบางดินแดน ซึ่งถือว่าเป็ นพวกนอกรี ต (heresy) ให้หนมายอมรับนับถือคริ สต์ศาสนา และเป็ น ั นโยบายของประเทศด้วย - ในคริ สต์ศตวรรษที่16 สเปนใช้ศาลศาสนาเป็ นเครื่ องมือในการส่งกอง ทหารเข้าทาลายล้างอารยธรรมของเผ่า มายา (Maya) แอสเต็ก (Aztec) และอินคา (Inca) ในทวีปอเมริ กาใต้ โดยใช้เหตุผลว่าชนพื้นเมืองเหล่านี้เป็ นพวกนอกศาสนาและบีบบังคับให้นบถือคริ ตส์ ั ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก จนในกลายมาเป็ นศาสนาประจาแถบนี้ในที่สุด
  • 15. 4.2) การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและระบบการค้า - การค้นพบดินแดนใหม่ การจัดตั้งสถานีการค้าและอาณานิคมช่วยให้ชาติตะวันตก ขยายตัวทางการค้าอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดเกิดการปฏิวติการค้า(commercial ั revolution)เกิดระบบพาณิ ชยนิยม (mercantile system) และเกิดการก่อตั้ง บริ ษทรวมทุน (joint stock company)ขึ้ น ซึ่งทาการค้าในนามของประเทศและทาให้ ั ประเทศของตนให้สามารถยึดครองดินแดนต่างๆในพระนามของกษัตริ ย ์ เช่น บริ ษทอินเดียตะวันออกของ ั อังกฤษได้ก่อตั้งในทวีปอเมริ กาเหนือและเบิกทางให้รัฐบาลอังกฤษสามารถเข้าครอบครองอินเดียในเวลาต่อมา - นอกจากนี้การขยายตัวทางการค้าอย่างรวดเร็ว การค้นพบเหมืองแร่ เงินและทอง ในทวีปอเมริ กาทาให้เกิดการปฏิวติทางราคา(price revolution) ทาให้สินค้าอุปโภคบริ โภคแพง ั ขึ้นหลายเท่าตัวก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อ
  • 17. 4.3) การกระจายและแพร่ พนธุของพืชและสัตว์ ั ์ - ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่17 ชาวดัตซ์ได้นาต้นกาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูก ที่เกาะชวาเพื่อให้เป็ นพืชเศรษฐกิจแทนเครื่ องเทศที่ทากาไรได้นอยลง จนกาแฟกลายเป็ นสิ นค้าสาคัญอย่างหนึ่งใน ้ ภูมิภาคนี้ ยิงไปกว่านั้นกาแฟยังได้แพร่ หลายไปยังทวีปอเมริ กาใต้ทาให้ทวีปอเมริ กาใต้กลายเป็ นผูผลิตกาแฟที่มี ้ ่ ปริ มาณมากที่สุดในโลก
  • 18. - ต้นยางพาราจากบราซิลมาปลูกในแถบทะเลใต้ (South Seas) และได้แพร่ กระจายไปยังอินโดนีเซีย มาเลเซีย และภาคใต้ของไทย จนประเทศต่างๆเหล่านี้กลายเป็ นแหล่ง ผลิตยางพาราที่สาคัญของโลก - ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 18 ชาวตะวันตก นาเอาแกะไปแพร่ พนธุ์ จนปัจจุบนออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เป็ นผูผลิตขนแกะที่มีจานวนรวมกัน ั ั ้ มากกว่าครึ่ งหนึ่งของประมาณที่ผลิตทัวโลก ่
  • 19. 4.4) การระบาดของโรค - เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ โรคระบาดมาพร้อมๆ กับเรื อของชาวยุโรป โรคระบาดที่สาคัญเช่น โรคหัด และฝี ดาษในอเมริ กาเหนือ ไข้เหลืองและไข้มาลาเรี ยที่มีมากในแอฟริ กามา ระบาดในอเมริ กากลางและใต้ เป็ นต้น
  • 20. การฟื้ นฟูศิลปวิทยา การฟื้ นฟูศิลปวิทยา หมายถึง การเกิดใหม่(rebirth)ของการศึกษา การฟื้ นฟูอุดมคติศิลปะ และวรรณกรรมของกรี กและโรมัน เริ่ มต้นในคริ สต์ศตวรรษที่14 และสิ้นสุดในกึ่งกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 17 สมัยใหม่ โดยถือว่าเป็ นจุดเชื่อมต่อ(transitional period)ของประวัติศาสตร์สมัยกลางและ
  • 21. 1. สาเหตุของการฟื้ นฟูศิลปวิทยา - การขยายตัวทางการค้าทาให้ฐานะทางการเงินของชาวยุโรป มังคังขึ้น จึงหันมา ่ ่ สนับสนุนด้านศิลปะและวิทยาการ ที่ต้งของนครรัฐต่างๆในอิตาลีเคยเป็ นแหล่งความเจริ ญรุ่ งเรื องของจักรวรรดิโรมัน ั นักปราชญ์และศิลปิ นจึงให้ความสนใจในศิลปะและวิทยาการของชาวโรมันมาก - ชาวยุโรปปฏิเสธกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดของฝ่ ายศาสนจักร อีกทั้งการทุจริ ตของนักบวชทา ให้คนเสื่ อมศรัทธาในสถาบันคริ สต์ศาสนาและหันไปสนใจงานสร้างสรรค์ของเพื่อนมนุษย์ดวยกัน ้ - สงครามครู เสดและการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ (ค.ศ.1453)ทาให้ วิทยาการต่างๆของชาวโรมันและกรี กที่ได้สืบทอดเอาไว้กลับคืนไปทางตะวันตกอีกครั้ง
  • 22. 2. แนวคิดใหม่สมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา - ในสมัยกลางชาวตะวันตกเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่กาเนิด การมีชีวิตอยูเ่ ป็ นการไถ่ บาป เพื่อเดินทางไปสู่สวรรค์ เมื่อเกิดการฟื้ นฟูศิลปวิทยาขึ้น แนวคิดทางโลกของชาวตะวันตกก็เปลี่ยนแปลงไป และเห็นว่า มนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีมีคุณค่าได้ แนวคิดนี้จึงเป็ นที่มาของลัทธิ มนุษยนิยม (humanism) ที่ให้ความสนใจโลกปัจจุบนแทนการมุ่งไปสวรรค์ ั - นักปราชญ์คนแรกที่มีบทบาทสาคัญและได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรัน เซสโก เปตรากา เปทราก (Francessco Petrarca Petrarch ค.ศ.13041374) ซึ่งพยายามศึกษาการใช้ภาษาละตินตามแบบแผนเดิมและชี้ให้เห็นถึงความงามของ ภาษาละติน ทา ให้ลูกศิษย์และผูนิยมงานเขียนสมัยคลาสสิ กศึกษาค้นคว้างานเก่าๆอย่างกว้างขวาง ผูสนใจในงานคลาสสิ กของ ้ ้ สมัยโบราณหรื อเรี ยกว่า พวกมนุษยนิยม (humanist) ได้รับการยกย่องในความรู้และความสามารถใน การใช้ภาษาละตินและได้รับการเชื้อเชิญให้เป็ นราชเลขาธิการและอาจารย์ประจาราชสานัก ตลอดจนเป็ น เจ้าหน้าที่สารบรรณในสานักสันตะปาปา
  • 24. - ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 14 นักปราชญ์ชาวกรี กจากกรุ งคอนสแตนติโนเปิ ลเริ่ มอพยพ จากการรุ กรานของพวกมุสลิม มายังอิตาลี และสมัครเป็ นอาจารย์สอนภาษากรี กในราชสานักและโรงเรี ยน ต่างๆ ทาให้พวกมนุษยนิยมชาวอิตาลีมีความรู้ในภาษาและวัฒนธรรมของกรี ก สามารถนาวรรณคดีและ ปรัชญาของกรี กมาแปลเป็ นภาษาละตินเผยแพร่ ในยุโรปตะวันตกมากขึ้น
  • 25. - ในค.ศ.1454 โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก (Johannes Gutenburg ค.ศ.1400-1468) สามารถผลิตเครื่ องพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรี ยงตัวอักษรได้สาเร็จ ทาให้หนังสื อมีราคาถูกลง และเผยแพร่ ไปยังดินแดนต่างๆได้กว้างขวาง ่ - นักมนุษยนิยมมีความคิดที่วาคริ สต์ศาสนิกชนควรจะแยกตัวจากการครอบงาทางความคิดของศาสน จักร เพื่อแสวงหาสิ ทธิเสรี ภาพในการใช้ชีวิตอย่างเป็ นประโยชน์ ซึ่งความคิดนี้เป็ นรากฐานการกบฏของ คริ สต์ศาสนิกชนต่อสถาบันสันตะปาปาที่กาลังเสื่ อมโทรมที่นาไปสู่การปฏิรูปทางศาสนาในค.ศ. 1517
  • 26. - ในสมัยกลาง งานสร้างสรรค์ศิลปะแขนงต่างๆ เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวโยงกับคริ สต์ศาสนา โดยเฉพาะ ดังนั้นงานศิลปะส่วนใหญ่มีลกษณะแข็งกระด้างและขาดชีวิตชีวา ั
  • 27. - ศิลปะสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยานับเป็ นการปฏิวติแขนงหนึ่ง เพื่อให้หลุดพ้นจากอิทธิพลของคริ สต์ศาสนา ั ในสมัยกลาง ประติมากรในสมัยนี้นิยมวิธีการของกรี ก-โรมันที่สร้างงานศิลปะที่ เป็ นธรรมชาติ ความสวยงามของสรี ระ ร่ างกายมนุษย์ มีการค้นคว้าเทคนิคใหม่ๆในการผสมสี การวาดภาพปูนเปี ยก (fresco) แสงและเงา รวมทั้งมิติ และการจัดองค์ประกอบของภาพ ศิลปิ นที่สาคัญที่มีชื่อเสี ยงได้แก่ มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี (Michelangelo Buonarroti ค.ศ.1475-1564) เลโอนาร์โด ดา วินซี (Leonardo da Vinci ค.ศ. 1452-1519) และราฟาเอล (Raphael ค.ศ. 14831520) ภาพวาดปูนเปี ยก (Fresco)
  • 28. - มีเกลันเจโล เป็ นศิลปิ นผูมีชื่อเสี ยงทั้งด้านจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ซึ่งเขา ้ สนใจด้านประติมากรรมมากที่สุดโดยเฉพาะรู ปสลักผูชายเปลือยแสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่สมส่วนของ ้ ร่ างกายเพราะเขาคิดว่ามนุษย์เกิดจากฝี พระหัตถ์ของพระผูเ้ ป็ นเจ้า ได้แก่ รู ปสลักเดวิด (David) เป็ น ่ ชายหนุ่มเปลือยกายที่อยูในท่าเตรี ยมต่อสูกบศัตรู และปิ เอตา (Pieta) เป็ นรู ปสลักพระมารดากาลัง ้ ั ประคองพระเยซูในอ้อมพระกรหลังจากที่พระองค์สิ้นพระ ชนม์บนไม้กางเขน งานจิตรกรรมที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้บนเพดานและฝาผนังของโบสถ์ซีสติน (Sistine Chapel) ในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ภาพส่วนใหญ่แสดงส่วนสัดต่างๆของร่ างกายชายหญิง Pieta
  • 30. - เลโอนาร์โด ดา วินซี เป็ นศิลปิ นและนักปราชญ์ที่มีความรู้และความสามารถเป็ นเลิศในสาขา จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ และนาความรู้ ต่างๆมาถ่ายทอดในรู ปแบบของงานจิตรกรรมได้เป็ นอย่างดี งานของเขาเต็มไปด้วยบรรยากาศที่เป็ นจริ ง นุ่มนวล ละเมียดละไม แฝงไว้ซ่ ึงอารมณ์ความรู้สึก อีกทั้งเป็ นสัญลักษณ์ของความรักความเมตตา ภาพเขียนที่ มีชื่อเสี ยง ได้แก่ ภาพอาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็ นภาพอาหารมื้อสุดท้ายของ พระเยซูก่อนถูกนาไปตรึ งไม้กางเขน โมนาลิซา (Mona Lisa)
  • 31. - ราฟาเอล มีผลงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความประณี ตนิ่มนวล ภาพที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ ภาพพระ แม่ พระบุตร และจอห์น แบบติสต์ (Madonna and Child with St.John) แสดงความรักของแม่ที่มีต่อบุตร พระกุมารในภาพแสดงถึงความบริ สุทธิ์ไร้เดียงสาของเด็กที่ถูกเพิกเฉยในสมัย กลางและเป็ นจุดเริ่ มต้นให้ผใหญ่หนมาให้ความรักและความสนใจเด็กมากขึ้น ู้ ั Madonna and Child with St.John
  • 33. - งานวรรณกรรมด้านนาฏกรรมหรื อบทละคร ก็มีการปรับเปลี่ยนมาจากบทละครกรี ก นัก ประพันธ์ที่สาคัญ ได้แก่ วิลเลียม เชกสเปี ยร์ (William Shakespeare ค.ศ. 15641616) บทละครที่มีชื่อเสี ยงของเขา คือ โรมีโอและจูเลียต (Romeo and Juliet) เวนิ สวาณิ ช (The Merchant of Venice) เป็ นต้น บทละครเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึง อารมณ์ อุปนิสยและการตัดสิ นใจมนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆ ั
  • 34. 1. น.ส. ปัฐมสุชา คุมชัยสกุล ม.6.5 ้ เลขที่ 40 ่ ั 2. น.ส. พูภทรา บุรพรัตน์ เลขที่ 41 ม.6.5