SlideShare a Scribd company logo
1. สาเหตุด้านเชื้อชาติ ภูมิภาคตะวันออก กลางเป็น
ดินแดนที่มีหลากหลายเชื้อชาติมาตั้งแต่อดีต เชื้อชาติ
สาคัญๆ ในดินแดนแถบนี้ คือ อาหรับ เปอร์เซีย เติร์ก
ที่เหลือเป็น เคิร์ด ยิว และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ
2. ความขัดแย้งทางด้านศาสนา ดินแดนภูมิภาคตะวันออกกลางเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาสาคัญของโลก
ถึง 3 ศาสนา คือ ศาสนายิว คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลาม ในสมัยจักรวรรดิอาหรับศาสนาต่างๆ
สามารถอยู่ด้วยกันได้อย่างสันติ แต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 เกิดสงครามระหง่างศาสนาคริสต์กับศา
สนราอิสลามในดินแดนปาเลสไตน์ หลังจากพวกออตโตมันเติร์กเข้ายึดครองดินแดนตะวันออกกลาง
ความขัดแย้งทางศาสนาก็ลดลง จนเมื่อลัทธิชาตินิยมแพร่หลายเข้ามาในดินแดนตะวันออกกลางในช่วง
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชาวอาหรับได้เอาศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ขณะที่ชาวยิวที่ตั้งถิ่น
ฐานในประเทศอิสราเอลที่นับถือศาสนายิว ส่วนชาวเลบานอนนับถือศาสนาคริสต์ ทาให้เกิดเป็นปัญหา
ความขัดแย้งทางศาสนาขึ้นอีก นอกจากนี้ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนีก็มีข้อขัดแย้งกับ
ชาวเปอร์เซียทีนับถือนิกายชีอะฮ์ด้วย
3. ปัญ หาทางด้า นเศรษฐกิจ ประเทศต่า งๆในภูมิ ภาคตะวั นออกกลางมี ฐานะไม่เ ท่า เทีย มกั น
ทางด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากแต่ละประเทศมีปริมาณน้ามันสารองไม่เท่ากัน บางประเทศมีปริมาณ
น้ ามั น ส ารองมาก เช่ น ซาอุ ดิ อ าระเบี ย คู เ วต อิ ห ร่ อ น เป็ น ต้ น บางประเทศไม่ มี น้ ามั น เช่ น
อิสราเอล จอร์แดน เลบานอน ทรัพยากรน้ามันจึงกลายเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น กรณี
สงครามระหว่างอิรักกับอิหร่าน ซึ่งอิรักเข้ารุกรานอิหร่านก็เนื่องจากต้องการยึดครองบ่อน้ามันของ
อิหร่าน
4. ปัญหาทางด้านการเมือง ประเทศต่างๆในภูมิภาคตะวันออกกลางมีระบอบปกครองที่แตกต่างกัน
บางประเทศปกครองในระบอบกษัตริย์ เช่น ซาอุดิอาระเบีย จอร์แดน คูเวต บางประเทสปกครองใน
ระบบเผด็จการ เช่น อิรัก ลิเบีย บางประเทศปกครองในระบอบประชาธิปไตย เช่น อิสราเอล ตุรกี
เป็ น ต้ น หรื อ โดยบางประเทศปกครองโดยในระบอบศาสนาอิ ส ลาม สาธารณรั ฐ อิ ส ลาม เช่ น
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน เป็นต้น ความแตกต่างทางด้านระบอบการปกครองทาให้รัฐบาลประเทศ
ต่างๆ มีความไม่ไว้ว่างใจซึ่งกันและกัน ตัวอย่างเช่นรัฐบาลประเทศต่างๆ มีความหวาดระแวงใน
รัฐบาลของอิหร่านซึ่งปกครองโดนการปฏิวัติอิสลามว่าจะเผยพี่อุดมการณ์ปฏิวัติอิสลามเข้ามาใน
ประเทศ
5. การแทรกแซงของชาติมหาอานาจ การแทรกแซงของมหาชาติอานาจเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้
เกิดความขัดแย้งขึ้น ในครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาติมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาและ
สหภาพโซเวียตต่างเข้าแทรกแซงดินแดนภูมิภาคตะวันออกกลางโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ทางด้านการ
ฑูต ทางการเมืองเศรษฐกิจ และการทหาร
1. ความขั ด แย้ ง ในตะวั นออกกลาง ท าให้ ก ลางเมื อ งของโลกตึง เครีย ดขึ้ น
เนื่องจากความขัดแย้งไม่ได้จากัดแต่เพียงคู่กรณีพิพาทเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวพัน
กับมหาชาติอานาจให้เข้ามามีส่วนร่วมกับความขัดแย้ง จนถึงขั้นเผชิญหน้ากัน
เช่น สหรัฐอเมริการกับอดีตสหภาพโซเวียตในกรณีความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ประเทศอาหรับกับอิสราเอล เป็นต้น
2. ความขัด แย้ ง ในภูมิ ภ าคตะวั นออกกลางเปิด โอกาสให้ช าติม หาอ านาจเข้ า มา
แทรกแซงมีอิทธิพลในประเทศต่างๆ ดังเช่น สงครามอิรักบุกยึดครองคูเวตใน ค.ศ.
1990-1991 เปิดโอกาสให้ชาติมหาอ านาจโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา ซึ่ง มี
บทบาทในการขั บ ไล่ อิ รั ก ออกจากคู เ วตได้ ข ยายอิ ท ธิ พ ลเข้ า ไปในกลุ่ ม ประเทศ
ตะวั น ออกกลางจนถึ ง ขั้ น จั ด ตั้ ง ฐานทั พ ในประเทศอิ ส ลามหลายประเทศ เช่ น
ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ เป็นต้น นอกจากสหรัฐอเมริกายังสามารถเข้าไปมีอิทธิพลใน
อุตสาหกรรมน้ามันในประเทศแถบนี้ด้วย
3. ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลก
อย่างรุนแรง เนื่องจากภูมิภาคนี้เป็นกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามันรายใหญ่ของโลก
เมื่ อ ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในภู มิ ภ าคนี้ เ กิ ด ขึ้ น ราคาน้ ามั น จะต้ อ งเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า ง
รวดเร็ว จนส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลกโดยรวม ดังเช่น
กรณีสงครามอ่าวเปอร์เซียระหว่างอิรักกับคูเวตใน ค.ศ. 1990 น้ามันกลายเป็น
อาวุธสาคัญที่กลุ่มอาหรับใช้ในการต่อรองทางการเมืองกับชาติมหาอานาจโดยการ
เพิ่มราคาน้ามันจนก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจไปทั่วโลก ซึ่งเรียกว่า วิกฤตการณ์
น้ามัน เป็นต้น
4. ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางส่งผลให้เกิดการก่อการร้ายไปทั่ว
โลก ซึ่งการก่อการร้าย คือ วิถีทางการต่อสู้ของผู้อ่อนแอกว่าที่มีต่อผู้เข้มแข็งที่
เห็นได้ชัด เช่น กรณีสงครามที่อิสราเอลมีชัยชนะเหนือประเทศอาหรับและเข้า
ยึด ครองดิ น แดนประเทศต่ า งๆ ทาให้ ผู้ ได้ รั บ ผลกระทบต่ อ การกระท าของ
อิสราเอลรวมตัว กั นเป็นขบวนการก่ อ การร้ายเพื่ อต่อสู้ กั บอิ สราเอลในทุก
วิถีทางในทุกพื้นที่ ซึ่งรวมถึงการต่อสู้และการก่อการร้ายต่อชาติพันธมิตรของ
อิสราเอลด้วย ซึ่งส่งผลให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ต้องสูญเสียไปเป็นจานวนมาก
เหตุการณ์วุ่นวายภายหลังการล่มสลาย
          ของยูโกสลาเวีย
                      หลังสงครามอ่าวในปี ค.ศ. 1991

 อดีตประเทศยูโกสลาเวียถึงแก่การล่มสลายสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยประกอบ
เป็นยูโกสลาเวียได้ประกาศตนเป็นเอกราช



            ชาวเซิรฟ (Serbs) ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชียและบอสเนีย ได้เข้ายึดดินแดนหนึ่ง
  ในสามของโครเอเชีย และดินแดนสองในสามของบอสเนียแล้วจัดตั้งดินแดนเรียกว่า ” เซอร์เบียใหญ่
  (Greater      Serbia)” โดยมีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐเป็นประเทศเพื่อนบ้านของ
  เซอร์เบีย
 เข้าเข่นฆ่าชาวบอสเนียและชาวโครเอเชียที่มิได้มี
เชื้อสายเซิร์ฟหลายหมื่นคนในดินแดนที่นามา
ผนวกรวมเข้าด้วยกันเหล่านี้




                                  ขับไล่ชาวบอสเนียและชาวโครเอเชียที่มิได้มีเชื้อสาย
                                 เซิร์ฟหลายล้านคนออกไปจากดินแดนเหล่านี้ด้วยทังนี้    ้
                                 เพื่อสร้างรัฐใหม่ที่มชาติพันธุ์บริสุทธิ์เพียงชาติพันธุ์
                                                      ี
                                 เดียว
 ให้การรับรองเอกราชของโครเอเชียและบอสเนีย



           ให้การยอมรับให้ทงสองชาตินี้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ
                            ั้




                  ได้ผ่านมติคณะมนตรีความมันคงนับสิบฉบับเพือปกป้องบูรณภาพแห่งดินแดนและประชาชนพล
                                           ่               ่
           เรือนของทั้งสองชาตินี้
การแยกตัวของดินแดนในยูโกสลาเวีย

  ปี 1980


      รัฐบางรัฐในจานวน 6 รัฐ เริ่มแสดงออกถึงความต้องการอานาจเป็นของตนเองมากขึ้น




                  กระแสชาตินิยมเซอร์เบียเริ่มก่อกระแสขึ้น นาโดย สโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นา
            เซอร์เบีย
ปี 1990 หลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย


6 รัฐของยูโกสลาเวียจัดให้มการเลือกตั้งในท้องถิ่นของแต่ละรัฐขึ้นใหม่
                          ี




ในโครเอเชียและสโลเวเนีย ได้รัฐสภาที่เสียงข้างมากต้องการแยกตัวเป็นอิสระ




ในขณะที่ เซอร์เบีย และมอนเตเนโกร โหวตเลือกที่จะอยูกบยูโกสลาเวียต่อไป
                                                  ่ั
25 มิถุนายน 1991

• สโลเวเนียและโครเอเชีย ประกาศอิสรภาพ

• มีการต่อสูกันเล็กน้อยกับทหารยูโกสลาเวียในสโลเวเนียก่อนทีกองทัพยูโกสลาเวียจะถอนตัว
            ้                                             ่
ออกมา

• ในโครเอเชียเกิดการสู้รบขนานใหญ่ระหว่างโครแอตและเซิร์บ ซึ่งได้รับการหนุนหลังจากกองทัพ
ยูโกสลาเวีย


        กันยายน 1991

  มาซิโดเนียประกาศแยกตัวเป็นอิสระ ไม่มีการคัดค้านใดๆ จากยูโกสลาเวีย
พฤศจิกายน 1991

เซิร์บในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา


  โหวตเลือกสมาชิกรัฐสภาที่นิยมแนวทางคงอยู่ร่วมในยูโกสลาเวียต่อไป

  เรียกร้องให้มการลงประชามติ ผลประชามติแสดงให้เห็นว่าเสียงส่วนใหญ่ต้องการเป็น
                ี
 อิสระ


  5 เมษายน 1992 รัฐบาลบอสเนียประกาศเอกราช ส่งผลให้ส่วนของเซิร์บในบอสเนีย
 ต้องประกาศเอกราชตาม เรียกชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า รีพับลิกา เซิร์ฟสกา
สิงทีเ่ กิดขึนตามมา
         ่          ้

          สงครามบอสเนีย-เซิร์บ ซึ่งถือเป็นการสิ้นสุดของแนวความคิดรวบรวมดินแดนและชาวเซิร์
         บให้อยู่ด้วยกันเป็นผึกแผ่นที่เรียกว่า เกรทเตอร์ เซอร์เบีย


           ในวันที่ 14 ธันวาคม 1995

           สงครามในบอสเนียยุติลงด้วยข้อตกลงเดย์ตัน โดยกาหนดให้ รีพับลิกา เซิร์ฟสกา เป็น
          เขตปกครองตนเองอยู่ภายใต้รัฐบอสเนีย

           ยูโกสลาเวียเดิม หลงเหลือเพียง เซอร์เบีย และ
          มอนเตเนโกร
ในปี 2003 ชื่อยูโกสลาเวียถูกยกเลิกอย่างเป็นทางการ

3 มิถุนายน 2006 มอนเตเนโกร ประกาศเอกราชหลังมีการลงประชามติ
เป็นสงครามขัดแย้งทางศาสนาและเชื้อชาติที่ชาวอาหรับผูนับถือศาสนาอิสลามต้องการขับไล่ ชาวยิวหรือชาว
                                                     ้
อิสราเอลผู้นับถือศาสนายิวให้หมดสิ้นจากดินแดนปาเลสไตน์ซึ่งเป็นประเทศอิสราเอลในปัจจุบัน เป็นปัญหาที่
กลายเป็นสงครามรบพุ่งกันหลายครั้ง

        สงครามทีเ่ กิด
 สงครามอาหรับ-อิสราเอล (Arab-Israeli War 1948-1949)


สงครามไซนาย-สุเอซ (Sinai-Suez War ค.ศ. 956) องค์การสหประชาชาติและมหาอานาจตะวันตก
ได้เข้ามาเจรจาเพือป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับคลองสุเอซ โดยให้อิสราเอลและอียิปต์ถอนทหาร
                 ่
ออกไป กระทั่งเดือนมีนาคม ค.ศ. 1957 ทหารทัง 2 ฝ่ายก็ได้ถอนกาลังาปจากคลองสุเอซ
                                                 ้
สงครามอิรัก-อิหร่าน (Iras-Iraq War
           ค.ศ. 1980-1988)
       ในวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1980

                                                                   อิรานจึงส่งกาลังเข้าโต้ตอบ
                                                                      ่
           อิรกเข้าโจมตีจังหวัดคูเซสถานของอิหร่าน
              ั

                                               สงครามได้ทวีความรุนแรงขึนเรือย ๆและกินเวลาไปนาน
                                                                       ้ ่


มีผลกระทบไปถึงประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอิหร่านกล่าวหาว่าสหรัฐอเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือแก่อิรัก




สหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลางได้พยายามทีจะให้ 2 ประเทศนีไ้ ด้เจรจายุติสงครามกัน เพราะทั้งสองต่างก็เป็น
                                           ่
ประเทศที่มีบทบาทต่อการส่งน้ามันออกสู่ตลาดโลกมาก
ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนของอิรักประกาศว่า จะพยายามยุติสงครามลงด้วยสันติวิธี


แต่การกระทาของอิรกกลับตรงกันข้าม กล่าวคือ ชาวเคิร์ดในอิหร่านถูกอิรกโจมตีด้วยอาวุธเคมีทาให้
                 ั                                                ั
ประชาชนล้มตายไม่ต่ากว่า 5,000 คน และขณะเดียวกันทหารอิรักยังโจมตีและรุกคืบเข้าไปในดินแดน
อิหร่าน



      ในค.ศ. 1987

องค์การสหประชาชาติมีมติให้อิหร่านและอิรักยุติสงคราม


อิรักยอมรับมติแต่อิหร่านยังคงโจมตีอรักต่อเพราะคาดว่าจะได้รับชัยชนะ ปรากฏว่าอิหร่านไม่สามารถ
                                   ิ
เอาชนะอิรักได้
ในค.ศ. 1988

  อิรักซึ่งได้รับการสนับสนุนกาลังอาวุธจากสหภาพโซเวียตกลับมาสามารถต้านทานและ
                         ผลักดันกองทัพอิหร่านพ้นชายแดนอิรก
                                                         ั


        ในที่สุดอายาตุลเลาะห์ โคไมนี ผู้นาอิหร่านต้องยอมรับมติสหประชาชาติ


ในวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1988
สองฝ่ายต่างหยุดยิง
ในอิรก
     ั
               ประชากรส่วนใหญ่ของอิรกเป็นชาวอาหรับพูดภาษาอารบิ
                                    ั


               ประชากรบางส่วนเป็นชาวเปอร์เซียนพูดภาษาฟาร์ซี


   ในอิหร่าน


          ชนชั้นปกครองเป็นชาวเปอร์เซียน พูดภาษาฟาร์ซี
          แต่ชนชั้นที่อยูใต้การปกครองกลับกลายเป็นชาวอาหรับ.
                         ่
ชนกลุ่มน้อยของอิหร่าน(อาหรับ) อยู่ในภาคตะวันตก จังหวัดคูเซสถาน
(KhurZestan) ซึ่งติดกับอิรัก




บริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งน้ามันที่สาคัญที่สุดของอิหร่าน
ชนกลุมน้อยชาวเคิรด
     ่           ์

เป็นชนเผ่าอารยันไม่ใช่เปอร์เซียน ไม่มีประเทศของตนเอง

ตั้งหลักแหล่งอยู่ในอิรัก อิหร่าน ตุรกี และสหภาพโซเวียต

                 ชาวเคิร์ด จะกระทาการทางการเมืองเพื่อแสวงหาอิสรภาพอยู่เสมอ

ความหวังสูงสุดของชาวเคิร์ด คือ การตั้งรัฐอิสระของชาวเคิร์ด

1930 ซึ่งชาวเคิร์ดได้ก่อการจลาจลขึ้นในอิหร่าน
ถูกรัฐบาลอิหร่านทาการปราบปรามการจลาจลอย่างรุนแรง

ชาวเคิร์ดจึงหลบหนีเข้าไปในอิรัก (จะตั้งรัฐอิสระในอิรัก)

1969 พระเจ้าชาร์แห่งอิหร่านให้ความช่วยแก่ชาวเคิร์ดในอิรก
                                                       ั

1974 รัฐบาลอิรกตัดสินใจขั้นเด็ดขาดที่จะแก้ปญหาชาวเคิร์ดให้ได้
              ั                            ั
มีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ในการคุมช่องแคบฮอร์มู


เส้นทางการขนส่งน้ามันถึงร้อยละ 40 ของผลผลิตน้ามันที่มาจากประเทศที่ไม่เป็น
คอมมิวนิสต์



      เกาะอาบู มูชา(Abu Musa)                       เกาะทูมเล็ก                  เกาะทูมใหญ่




                                    1971 อิหร่านได้เข้ายึดครอง
ต่างก็นับถือศาสนาอิสลามแต่ต่างนิกายกัน
                      ชาวอิรกที่เป็นชนชันปกครองนับถือนิกายสุหนี่ (Sunni)
                            ั           ้
                               ชาวอิหร่านส่วนใหญ่นับถือนิกายชีอะห์

            ทัศนคติทางการเมืองของอิรก
                                    ั


ตั้งแต่ปี 1968 เป็นต้นมา ได้จัดตั้งรัฐบาลโดยพรรคฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงและไม่เคร่งศาสนานัก (สุหนี่)


           ทัศนคติทางการเมืองของอิหร่าน

     สมัยที่โคไมนี่(อิหร่าน) มีความเชื่อว่า นิกายชีอะห์ เป็นนิกายที่มีความถูกต้องมากที่สุดปฏิเสธ
            นิกาย สุหนี่
ยุคหลังสงครามเย็น(The post-Cold War era) ได้เริ่มต้นขึ้นในขณะที่สหภาพโซเวียต(Soviet
Union) ก็กาลังเริ่มจะแตกแยกออกเป็นสาธารณรัฐต่างๆ




ในปี ค.ศ. 1990 อิรักมีความเชือว่าการสิ้นสุดของสงครามเย็นครั้งนี้ได้ก่อให้เกิดสุญญากาศทางการ
                             ่
เมืองขึ้นในภูมภาค จึงได้ฉกฉวยโอกาสนี้ยกทัพเข้าไปในคูเวตประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อหวังควบคุม
              ิ
แหล่งน้ามันของตะวันออกกลาง
การดาเนินนโยบายเปลี่ยนแปลงสถานภาพเดิม
 (status quo) ของอิรักในครั้งนี้กอให้เกิดความตื่นตระหนกแก่บรรดาชาติมหาอานาจตะวันตก
                                 ่
(Western powers) ซึ่งมีความเห็นว่าการกระทาของอิรกจะเป็นตัวอย่างแก่ประเทศอื่นๆที่อาจจะนาไป
                                                    ั
ปฏิบัติในยุคหลังสงครามเย็นได้ หากปล่อยให้อิรกกระทาโดยไม่มีการลงโทษ
                                              ั




นอกจากนั้นแล้วการกระทาของอิรกก็ยังถูกมองจากชาติมหาอานาจตะวันตกว่าเป็นภัยคุกคามต่อการ
                              ั
ขนส่งน้ามันไปหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจของโลกโดยตรงด้วย
ด้วยเหตุนี้สหรัฐอเมริกาจึงทาตัวเป็นหัวหอกในการระดมชาติมหาอานาจตะวันตกทั้งหลายเข้าร่วม
เป็นพันธมิตรทาการต่อต้านการเข้ายึดครองคูเวตของอิรัก



โดยที่ชาติมหาอานาจตะวันตกเหล่านี้ต่างมีสมานฉันท์ร่วมกันอย่างเต็มที่โดยแทบไม่มชาติใดต่อต้าน
                                                                             ี
นโยบายนี้เลย



เมื่อสหรัฐอเมริกาได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรชาติมหาอานาจตะวันตกเหล่านี้ผ่านทางองค์การ
สหประชาติ(United Nations)แล้ว ก็จึงดาเนินการใช้มาตรการคว่าบาตรร (sanctions) ต่างๆต่อ
อิรัก
ครั้นมาตรการคว่าบาตรต่ออิรกนี้ไม่เป็นผลและอิรักไม่ยอมถอนกาลังทหารออกจากคูเวต
                                          ั
ตามเส้นตายของสหประชาชาติ สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรก็จึงใช้แสนยานุภาพอันเกรียงไกรที่หนุนโดย
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ายิ่งเข้าบดขยีกองทัพของอิรกและขับไล่ออกจากคูเวตได้สาเร็จอย่างง่ายดาย สงคราม
                                 ้           ั
ครังนีเ้ รียกว่าสงครามอ่าว (Gulf War) ได้สร้างความอกสั่นขวัญแขวนแก่ชาวโลกเพราะเกรงกลัวว่าจะ
   ้
ลุกลามเป็นสงครามโลกครั้งที่ ๓




           กองทัพของฝ่ายพันธมิตรมิได้เข้ายึดครองอิรกหรือล้มล้างรัฐบาลอิรกแต่อย่างใด ส่วน
                                                   ั                    ั
ค่าใช้จายในการสงครามคราวนี้มหาอานาจพันธมิตรก็ได้ช่วยกันแบกรับภาระ โดยอังกฤษและฝรั่งเศส
       ่
ส่งทหารเข้าสมทบในกองกาลังของฝ่ายพันธมิตร ในขณะที่ญี่ปุ่นและเยอรมนีให้ความช่วยเหลือทางด้าน
การเงิน
อัฟกานิสถานกับวิกฤตการณ์การเมืองยุคปัจจุบัน

        1979-1989 สหภาพโซเวียตรัสเซียบุกเข้ายึดครองอัฟกานิสถาน


         กลุ่มมูจาฮีดีนรุกขึนมาต่อต้าน (ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐฯ )
                            ้

โซเวียตแพ้

              อัฟกานิสถานก็แตกเป็นสองกลุ่ม “เกิดสงครามกลางเมือง”



             กลุ่มมูจาฮีดีน (รัฐบาลเดิม) และ กลุ่มตาลีบัน(ทหารอิสลาม)
ในวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2001 สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรได้ทาสงครามโจมตี
                              อัฟกานิสถาน



 กาจัดรัฐบาล ตาลิบาน (Taleban) ของนายมุลลาห์ โอมาร์(Mullah Omar)

  กาจัดเครือข่ายก่อการร้าย อัล กออิดะห์ (Al Qa’ida) ของนายอุซามะห์ บิน ลา
                         เดน (Usama bin Laden)




ซึ่งสหรัฐอเมริการะบุว่าเป็นผู้บงการเหตุการณ์การก่อวินาศกรรม   วันที่ 11
กันยายน ค.ศ. 2001
เป็นการกระทาของกลุ่มผู้ก่อการร้ายอัลกออิดะห์ หรือ
อัลเคดา (AL Qaedia) ที่มีนายออสมา บิน ลาเดน เป็นผู้นา


รัฐบาลตาลีบันของอัฟกานิสถานจะต้องรับผิดชอบ ในฐานะให้ที่พกพิง ต่อผู้ก่อการร้าย
                                                        ั


ค.ศ. 2001 สหรัฐฯ บุกเข้าโจมตีอัฟกานิสถาน โดยทิ้งระเบิดปูพรมพืนทีทกแห่ง แต่หาบิล
                                                             ้ ่ ุ
ลาเดนไม่พบ
รัฐบาลตาลีบันภายใต้การนาของมุลเลาะห์ โมอัมหมัด โอมาร์
ถูกโค่นล้ม




             สหรัฐฯเข้าดาเนินการในพื้นทีเ่ พือ...
                                             ่


                    ทาลายล้างกลุ่มก่อการร้าย


ต้องการจะสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยในอัฟกานิสถาน
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น

More Related Content

What's hot

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียbew lertwassana
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
Bangkok University
 
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
กลุ่มสื่อสร้างสรรค์เพื่อความเข้มแข็งภาคพลเมือง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 

What's hot (20)

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 

Viewers also liked

อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
Yaowaluk Chaobanpho
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
Witsarut Hongkeaw
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
EarnEarn Twntyc'
 
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf Conference
 
Maestria Clase
Maestria ClaseMaestria Clase
Maestria Clasemartincho
 
Suitable exposure
Suitable exposureSuitable exposure
Suitable exposureYI Young-Ho
 
Replacing Rounds PSA Stonaker
Replacing Rounds PSA StonakerReplacing Rounds PSA Stonaker
Replacing Rounds PSA Stonaker
Christopher Stonaker
 
Peri porsi
Peri porsiPeri porsi
Peri porsi
Muhammad Yustan
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Viewers also liked (20)

ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
 
Maestria Clase
Maestria ClaseMaestria Clase
Maestria Clase
 
Suitable exposure
Suitable exposureSuitable exposure
Suitable exposure
 
Replacing Rounds PSA Stonaker
Replacing Rounds PSA StonakerReplacing Rounds PSA Stonaker
Replacing Rounds PSA Stonaker
 
Peri porsi
Peri porsiPeri porsi
Peri porsi
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
 

Similar to ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
Washirasak Poosit
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
Pann Boonthong
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
Washirasak Poosit
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 

Similar to ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น (16)

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
ยุโกสลาเวีย
ยุโกสลาเวียยุโกสลาเวีย
ยุโกสลาเวีย
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
 
21
2121
21
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แม็กซิโก
แม็กซิโกแม็กซิโก
แม็กซิโก
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
การล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวียการล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวีย
 
อาหรับ ปาเลสไตน์
อาหรับ ปาเลสไตน์อาหรับ ปาเลสไตน์
อาหรับ ปาเลสไตน์
 
กลุ่มก่อการร้ายมุสลิม
กลุ่มก่อการร้ายมุสลิมกลุ่มก่อการร้ายมุสลิม
กลุ่มก่อการร้ายมุสลิม
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนียสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น

  • 1.
  • 2. 1. สาเหตุด้านเชื้อชาติ ภูมิภาคตะวันออก กลางเป็น ดินแดนที่มีหลากหลายเชื้อชาติมาตั้งแต่อดีต เชื้อชาติ สาคัญๆ ในดินแดนแถบนี้ คือ อาหรับ เปอร์เซีย เติร์ก ที่เหลือเป็น เคิร์ด ยิว และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ
  • 3. 2. ความขัดแย้งทางด้านศาสนา ดินแดนภูมิภาคตะวันออกกลางเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาสาคัญของโลก ถึง 3 ศาสนา คือ ศาสนายิว คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลาม ในสมัยจักรวรรดิอาหรับศาสนาต่างๆ สามารถอยู่ด้วยกันได้อย่างสันติ แต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 เกิดสงครามระหง่างศาสนาคริสต์กับศา สนราอิสลามในดินแดนปาเลสไตน์ หลังจากพวกออตโตมันเติร์กเข้ายึดครองดินแดนตะวันออกกลาง ความขัดแย้งทางศาสนาก็ลดลง จนเมื่อลัทธิชาตินิยมแพร่หลายเข้ามาในดินแดนตะวันออกกลางในช่วง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชาวอาหรับได้เอาศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ขณะที่ชาวยิวที่ตั้งถิ่น ฐานในประเทศอิสราเอลที่นับถือศาสนายิว ส่วนชาวเลบานอนนับถือศาสนาคริสต์ ทาให้เกิดเป็นปัญหา ความขัดแย้งทางศาสนาขึ้นอีก นอกจากนี้ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนีก็มีข้อขัดแย้งกับ ชาวเปอร์เซียทีนับถือนิกายชีอะฮ์ด้วย
  • 4. 3. ปัญ หาทางด้า นเศรษฐกิจ ประเทศต่า งๆในภูมิ ภาคตะวั นออกกลางมี ฐานะไม่เ ท่า เทีย มกั น ทางด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากแต่ละประเทศมีปริมาณน้ามันสารองไม่เท่ากัน บางประเทศมีปริมาณ น้ ามั น ส ารองมาก เช่ น ซาอุ ดิ อ าระเบี ย คู เ วต อิ ห ร่ อ น เป็ น ต้ น บางประเทศไม่ มี น้ ามั น เช่ น อิสราเอล จอร์แดน เลบานอน ทรัพยากรน้ามันจึงกลายเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น กรณี สงครามระหว่างอิรักกับอิหร่าน ซึ่งอิรักเข้ารุกรานอิหร่านก็เนื่องจากต้องการยึดครองบ่อน้ามันของ อิหร่าน
  • 5. 4. ปัญหาทางด้านการเมือง ประเทศต่างๆในภูมิภาคตะวันออกกลางมีระบอบปกครองที่แตกต่างกัน บางประเทศปกครองในระบอบกษัตริย์ เช่น ซาอุดิอาระเบีย จอร์แดน คูเวต บางประเทสปกครองใน ระบบเผด็จการ เช่น อิรัก ลิเบีย บางประเทศปกครองในระบอบประชาธิปไตย เช่น อิสราเอล ตุรกี เป็ น ต้ น หรื อ โดยบางประเทศปกครองโดยในระบอบศาสนาอิ ส ลาม สาธารณรั ฐ อิ ส ลาม เช่ น สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน เป็นต้น ความแตกต่างทางด้านระบอบการปกครองทาให้รัฐบาลประเทศ ต่างๆ มีความไม่ไว้ว่างใจซึ่งกันและกัน ตัวอย่างเช่นรัฐบาลประเทศต่างๆ มีความหวาดระแวงใน รัฐบาลของอิหร่านซึ่งปกครองโดนการปฏิวัติอิสลามว่าจะเผยพี่อุดมการณ์ปฏิวัติอิสลามเข้ามาใน ประเทศ
  • 6. 5. การแทรกแซงของชาติมหาอานาจ การแทรกแซงของมหาชาติอานาจเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ เกิดความขัดแย้งขึ้น ในครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาติมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาและ สหภาพโซเวียตต่างเข้าแทรกแซงดินแดนภูมิภาคตะวันออกกลางโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ทางด้านการ ฑูต ทางการเมืองเศรษฐกิจ และการทหาร
  • 7. 1. ความขั ด แย้ ง ในตะวั นออกกลาง ท าให้ ก ลางเมื อ งของโลกตึง เครีย ดขึ้ น เนื่องจากความขัดแย้งไม่ได้จากัดแต่เพียงคู่กรณีพิพาทเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวพัน กับมหาชาติอานาจให้เข้ามามีส่วนร่วมกับความขัดแย้ง จนถึงขั้นเผชิญหน้ากัน เช่น สหรัฐอเมริการกับอดีตสหภาพโซเวียตในกรณีความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ประเทศอาหรับกับอิสราเอล เป็นต้น
  • 8. 2. ความขัด แย้ ง ในภูมิ ภ าคตะวั นออกกลางเปิด โอกาสให้ช าติม หาอ านาจเข้ า มา แทรกแซงมีอิทธิพลในประเทศต่างๆ ดังเช่น สงครามอิรักบุกยึดครองคูเวตใน ค.ศ. 1990-1991 เปิดโอกาสให้ชาติมหาอ านาจโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา ซึ่ง มี บทบาทในการขั บ ไล่ อิ รั ก ออกจากคู เ วตได้ ข ยายอิ ท ธิ พ ลเข้ า ไปในกลุ่ ม ประเทศ ตะวั น ออกกลางจนถึ ง ขั้ น จั ด ตั้ ง ฐานทั พ ในประเทศอิ ส ลามหลายประเทศ เช่ น ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ เป็นต้น นอกจากสหรัฐอเมริกายังสามารถเข้าไปมีอิทธิพลใน อุตสาหกรรมน้ามันในประเทศแถบนี้ด้วย
  • 9. 3. ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลก อย่างรุนแรง เนื่องจากภูมิภาคนี้เป็นกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามันรายใหญ่ของโลก เมื่ อ ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในภู มิ ภ าคนี้ เ กิ ด ขึ้ น ราคาน้ ามั น จะต้ อ งเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ว จนส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลกโดยรวม ดังเช่น กรณีสงครามอ่าวเปอร์เซียระหว่างอิรักกับคูเวตใน ค.ศ. 1990 น้ามันกลายเป็น อาวุธสาคัญที่กลุ่มอาหรับใช้ในการต่อรองทางการเมืองกับชาติมหาอานาจโดยการ เพิ่มราคาน้ามันจนก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจไปทั่วโลก ซึ่งเรียกว่า วิกฤตการณ์ น้ามัน เป็นต้น
  • 10. 4. ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางส่งผลให้เกิดการก่อการร้ายไปทั่ว โลก ซึ่งการก่อการร้าย คือ วิถีทางการต่อสู้ของผู้อ่อนแอกว่าที่มีต่อผู้เข้มแข็งที่ เห็นได้ชัด เช่น กรณีสงครามที่อิสราเอลมีชัยชนะเหนือประเทศอาหรับและเข้า ยึด ครองดิ น แดนประเทศต่ า งๆ ทาให้ ผู้ ได้ รั บ ผลกระทบต่ อ การกระท าของ อิสราเอลรวมตัว กั นเป็นขบวนการก่ อ การร้ายเพื่ อต่อสู้ กั บอิ สราเอลในทุก วิถีทางในทุกพื้นที่ ซึ่งรวมถึงการต่อสู้และการก่อการร้ายต่อชาติพันธมิตรของ อิสราเอลด้วย ซึ่งส่งผลให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ต้องสูญเสียไปเป็นจานวนมาก
  • 11. เหตุการณ์วุ่นวายภายหลังการล่มสลาย ของยูโกสลาเวีย หลังสงครามอ่าวในปี ค.ศ. 1991 อดีตประเทศยูโกสลาเวียถึงแก่การล่มสลายสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยประกอบ เป็นยูโกสลาเวียได้ประกาศตนเป็นเอกราช ชาวเซิรฟ (Serbs) ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชียและบอสเนีย ได้เข้ายึดดินแดนหนึ่ง ในสามของโครเอเชีย และดินแดนสองในสามของบอสเนียแล้วจัดตั้งดินแดนเรียกว่า ” เซอร์เบียใหญ่ (Greater Serbia)” โดยมีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐเป็นประเทศเพื่อนบ้านของ เซอร์เบีย
  • 12.  เข้าเข่นฆ่าชาวบอสเนียและชาวโครเอเชียที่มิได้มี เชื้อสายเซิร์ฟหลายหมื่นคนในดินแดนที่นามา ผนวกรวมเข้าด้วยกันเหล่านี้  ขับไล่ชาวบอสเนียและชาวโครเอเชียที่มิได้มีเชื้อสาย เซิร์ฟหลายล้านคนออกไปจากดินแดนเหล่านี้ด้วยทังนี้ ้ เพื่อสร้างรัฐใหม่ที่มชาติพันธุ์บริสุทธิ์เพียงชาติพันธุ์ ี เดียว
  • 13.  ให้การรับรองเอกราชของโครเอเชียและบอสเนีย  ให้การยอมรับให้ทงสองชาตินี้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ั้  ได้ผ่านมติคณะมนตรีความมันคงนับสิบฉบับเพือปกป้องบูรณภาพแห่งดินแดนและประชาชนพล ่ ่ เรือนของทั้งสองชาตินี้
  • 14. การแยกตัวของดินแดนในยูโกสลาเวีย ปี 1980 รัฐบางรัฐในจานวน 6 รัฐ เริ่มแสดงออกถึงความต้องการอานาจเป็นของตนเองมากขึ้น กระแสชาตินิยมเซอร์เบียเริ่มก่อกระแสขึ้น นาโดย สโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นา เซอร์เบีย
  • 15. ปี 1990 หลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย 6 รัฐของยูโกสลาเวียจัดให้มการเลือกตั้งในท้องถิ่นของแต่ละรัฐขึ้นใหม่ ี ในโครเอเชียและสโลเวเนีย ได้รัฐสภาที่เสียงข้างมากต้องการแยกตัวเป็นอิสระ ในขณะที่ เซอร์เบีย และมอนเตเนโกร โหวตเลือกที่จะอยูกบยูโกสลาเวียต่อไป ่ั
  • 16. 25 มิถุนายน 1991 • สโลเวเนียและโครเอเชีย ประกาศอิสรภาพ • มีการต่อสูกันเล็กน้อยกับทหารยูโกสลาเวียในสโลเวเนียก่อนทีกองทัพยูโกสลาเวียจะถอนตัว ้ ่ ออกมา • ในโครเอเชียเกิดการสู้รบขนานใหญ่ระหว่างโครแอตและเซิร์บ ซึ่งได้รับการหนุนหลังจากกองทัพ ยูโกสลาเวีย กันยายน 1991 มาซิโดเนียประกาศแยกตัวเป็นอิสระ ไม่มีการคัดค้านใดๆ จากยูโกสลาเวีย
  • 17. พฤศจิกายน 1991 เซิร์บในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา  โหวตเลือกสมาชิกรัฐสภาที่นิยมแนวทางคงอยู่ร่วมในยูโกสลาเวียต่อไป  เรียกร้องให้มการลงประชามติ ผลประชามติแสดงให้เห็นว่าเสียงส่วนใหญ่ต้องการเป็น ี อิสระ  5 เมษายน 1992 รัฐบาลบอสเนียประกาศเอกราช ส่งผลให้ส่วนของเซิร์บในบอสเนีย ต้องประกาศเอกราชตาม เรียกชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า รีพับลิกา เซิร์ฟสกา
  • 18. สิงทีเ่ กิดขึนตามมา ่ ้  สงครามบอสเนีย-เซิร์บ ซึ่งถือเป็นการสิ้นสุดของแนวความคิดรวบรวมดินแดนและชาวเซิร์ บให้อยู่ด้วยกันเป็นผึกแผ่นที่เรียกว่า เกรทเตอร์ เซอร์เบีย ในวันที่ 14 ธันวาคม 1995  สงครามในบอสเนียยุติลงด้วยข้อตกลงเดย์ตัน โดยกาหนดให้ รีพับลิกา เซิร์ฟสกา เป็น เขตปกครองตนเองอยู่ภายใต้รัฐบอสเนีย  ยูโกสลาเวียเดิม หลงเหลือเพียง เซอร์เบีย และ มอนเตเนโกร ในปี 2003 ชื่อยูโกสลาเวียถูกยกเลิกอย่างเป็นทางการ 3 มิถุนายน 2006 มอนเตเนโกร ประกาศเอกราชหลังมีการลงประชามติ
  • 19. เป็นสงครามขัดแย้งทางศาสนาและเชื้อชาติที่ชาวอาหรับผูนับถือศาสนาอิสลามต้องการขับไล่ ชาวยิวหรือชาว ้ อิสราเอลผู้นับถือศาสนายิวให้หมดสิ้นจากดินแดนปาเลสไตน์ซึ่งเป็นประเทศอิสราเอลในปัจจุบัน เป็นปัญหาที่ กลายเป็นสงครามรบพุ่งกันหลายครั้ง สงครามทีเ่ กิด สงครามอาหรับ-อิสราเอล (Arab-Israeli War 1948-1949) สงครามไซนาย-สุเอซ (Sinai-Suez War ค.ศ. 956) องค์การสหประชาชาติและมหาอานาจตะวันตก ได้เข้ามาเจรจาเพือป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับคลองสุเอซ โดยให้อิสราเอลและอียิปต์ถอนทหาร ่ ออกไป กระทั่งเดือนมีนาคม ค.ศ. 1957 ทหารทัง 2 ฝ่ายก็ได้ถอนกาลังาปจากคลองสุเอซ ้
  • 20.
  • 21. สงครามอิรัก-อิหร่าน (Iras-Iraq War ค.ศ. 1980-1988) ในวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1980 อิรานจึงส่งกาลังเข้าโต้ตอบ ่ อิรกเข้าโจมตีจังหวัดคูเซสถานของอิหร่าน ั สงครามได้ทวีความรุนแรงขึนเรือย ๆและกินเวลาไปนาน ้ ่ มีผลกระทบไปถึงประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอิหร่านกล่าวหาว่าสหรัฐอเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือแก่อิรัก สหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลางได้พยายามทีจะให้ 2 ประเทศนีไ้ ด้เจรจายุติสงครามกัน เพราะทั้งสองต่างก็เป็น ่ ประเทศที่มีบทบาทต่อการส่งน้ามันออกสู่ตลาดโลกมาก
  • 22. ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนของอิรักประกาศว่า จะพยายามยุติสงครามลงด้วยสันติวิธี แต่การกระทาของอิรกกลับตรงกันข้าม กล่าวคือ ชาวเคิร์ดในอิหร่านถูกอิรกโจมตีด้วยอาวุธเคมีทาให้ ั ั ประชาชนล้มตายไม่ต่ากว่า 5,000 คน และขณะเดียวกันทหารอิรักยังโจมตีและรุกคืบเข้าไปในดินแดน อิหร่าน ในค.ศ. 1987 องค์การสหประชาชาติมีมติให้อิหร่านและอิรักยุติสงคราม อิรักยอมรับมติแต่อิหร่านยังคงโจมตีอรักต่อเพราะคาดว่าจะได้รับชัยชนะ ปรากฏว่าอิหร่านไม่สามารถ ิ เอาชนะอิรักได้
  • 23. ในค.ศ. 1988 อิรักซึ่งได้รับการสนับสนุนกาลังอาวุธจากสหภาพโซเวียตกลับมาสามารถต้านทานและ ผลักดันกองทัพอิหร่านพ้นชายแดนอิรก ั ในที่สุดอายาตุลเลาะห์ โคไมนี ผู้นาอิหร่านต้องยอมรับมติสหประชาชาติ ในวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1988 สองฝ่ายต่างหยุดยิง
  • 24.
  • 25. ในอิรก ั ประชากรส่วนใหญ่ของอิรกเป็นชาวอาหรับพูดภาษาอารบิ ั ประชากรบางส่วนเป็นชาวเปอร์เซียนพูดภาษาฟาร์ซี ในอิหร่าน ชนชั้นปกครองเป็นชาวเปอร์เซียน พูดภาษาฟาร์ซี แต่ชนชั้นที่อยูใต้การปกครองกลับกลายเป็นชาวอาหรับ. ่
  • 26. ชนกลุ่มน้อยของอิหร่าน(อาหรับ) อยู่ในภาคตะวันตก จังหวัดคูเซสถาน (KhurZestan) ซึ่งติดกับอิรัก บริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งน้ามันที่สาคัญที่สุดของอิหร่าน
  • 27. ชนกลุมน้อยชาวเคิรด ่ ์ เป็นชนเผ่าอารยันไม่ใช่เปอร์เซียน ไม่มีประเทศของตนเอง ตั้งหลักแหล่งอยู่ในอิรัก อิหร่าน ตุรกี และสหภาพโซเวียต ชาวเคิร์ด จะกระทาการทางการเมืองเพื่อแสวงหาอิสรภาพอยู่เสมอ ความหวังสูงสุดของชาวเคิร์ด คือ การตั้งรัฐอิสระของชาวเคิร์ด 1930 ซึ่งชาวเคิร์ดได้ก่อการจลาจลขึ้นในอิหร่าน ถูกรัฐบาลอิหร่านทาการปราบปรามการจลาจลอย่างรุนแรง ชาวเคิร์ดจึงหลบหนีเข้าไปในอิรัก (จะตั้งรัฐอิสระในอิรัก) 1969 พระเจ้าชาร์แห่งอิหร่านให้ความช่วยแก่ชาวเคิร์ดในอิรก ั 1974 รัฐบาลอิรกตัดสินใจขั้นเด็ดขาดที่จะแก้ปญหาชาวเคิร์ดให้ได้ ั ั
  • 29. ต่างก็นับถือศาสนาอิสลามแต่ต่างนิกายกัน ชาวอิรกที่เป็นชนชันปกครองนับถือนิกายสุหนี่ (Sunni) ั ้ ชาวอิหร่านส่วนใหญ่นับถือนิกายชีอะห์ ทัศนคติทางการเมืองของอิรก ั ตั้งแต่ปี 1968 เป็นต้นมา ได้จัดตั้งรัฐบาลโดยพรรคฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงและไม่เคร่งศาสนานัก (สุหนี่) ทัศนคติทางการเมืองของอิหร่าน สมัยที่โคไมนี่(อิหร่าน) มีความเชื่อว่า นิกายชีอะห์ เป็นนิกายที่มีความถูกต้องมากที่สุดปฏิเสธ นิกาย สุหนี่
  • 30. ยุคหลังสงครามเย็น(The post-Cold War era) ได้เริ่มต้นขึ้นในขณะที่สหภาพโซเวียต(Soviet Union) ก็กาลังเริ่มจะแตกแยกออกเป็นสาธารณรัฐต่างๆ ในปี ค.ศ. 1990 อิรักมีความเชือว่าการสิ้นสุดของสงครามเย็นครั้งนี้ได้ก่อให้เกิดสุญญากาศทางการ ่ เมืองขึ้นในภูมภาค จึงได้ฉกฉวยโอกาสนี้ยกทัพเข้าไปในคูเวตประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อหวังควบคุม ิ แหล่งน้ามันของตะวันออกกลาง
  • 31.
  • 32. การดาเนินนโยบายเปลี่ยนแปลงสถานภาพเดิม (status quo) ของอิรักในครั้งนี้กอให้เกิดความตื่นตระหนกแก่บรรดาชาติมหาอานาจตะวันตก ่ (Western powers) ซึ่งมีความเห็นว่าการกระทาของอิรกจะเป็นตัวอย่างแก่ประเทศอื่นๆที่อาจจะนาไป ั ปฏิบัติในยุคหลังสงครามเย็นได้ หากปล่อยให้อิรกกระทาโดยไม่มีการลงโทษ ั นอกจากนั้นแล้วการกระทาของอิรกก็ยังถูกมองจากชาติมหาอานาจตะวันตกว่าเป็นภัยคุกคามต่อการ ั ขนส่งน้ามันไปหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจของโลกโดยตรงด้วย
  • 33. ด้วยเหตุนี้สหรัฐอเมริกาจึงทาตัวเป็นหัวหอกในการระดมชาติมหาอานาจตะวันตกทั้งหลายเข้าร่วม เป็นพันธมิตรทาการต่อต้านการเข้ายึดครองคูเวตของอิรัก โดยที่ชาติมหาอานาจตะวันตกเหล่านี้ต่างมีสมานฉันท์ร่วมกันอย่างเต็มที่โดยแทบไม่มชาติใดต่อต้าน ี นโยบายนี้เลย เมื่อสหรัฐอเมริกาได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรชาติมหาอานาจตะวันตกเหล่านี้ผ่านทางองค์การ สหประชาติ(United Nations)แล้ว ก็จึงดาเนินการใช้มาตรการคว่าบาตรร (sanctions) ต่างๆต่อ อิรัก
  • 34. ครั้นมาตรการคว่าบาตรต่ออิรกนี้ไม่เป็นผลและอิรักไม่ยอมถอนกาลังทหารออกจากคูเวต ั ตามเส้นตายของสหประชาชาติ สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรก็จึงใช้แสนยานุภาพอันเกรียงไกรที่หนุนโดย เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ายิ่งเข้าบดขยีกองทัพของอิรกและขับไล่ออกจากคูเวตได้สาเร็จอย่างง่ายดาย สงคราม ้ ั ครังนีเ้ รียกว่าสงครามอ่าว (Gulf War) ได้สร้างความอกสั่นขวัญแขวนแก่ชาวโลกเพราะเกรงกลัวว่าจะ ้ ลุกลามเป็นสงครามโลกครั้งที่ ๓ กองทัพของฝ่ายพันธมิตรมิได้เข้ายึดครองอิรกหรือล้มล้างรัฐบาลอิรกแต่อย่างใด ส่วน ั ั ค่าใช้จายในการสงครามคราวนี้มหาอานาจพันธมิตรก็ได้ช่วยกันแบกรับภาระ โดยอังกฤษและฝรั่งเศส ่ ส่งทหารเข้าสมทบในกองกาลังของฝ่ายพันธมิตร ในขณะที่ญี่ปุ่นและเยอรมนีให้ความช่วยเหลือทางด้าน การเงิน
  • 35. อัฟกานิสถานกับวิกฤตการณ์การเมืองยุคปัจจุบัน 1979-1989 สหภาพโซเวียตรัสเซียบุกเข้ายึดครองอัฟกานิสถาน กลุ่มมูจาฮีดีนรุกขึนมาต่อต้าน (ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐฯ ) ้ โซเวียตแพ้ อัฟกานิสถานก็แตกเป็นสองกลุ่ม “เกิดสงครามกลางเมือง” กลุ่มมูจาฮีดีน (รัฐบาลเดิม) และ กลุ่มตาลีบัน(ทหารอิสลาม)
  • 36. ในวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2001 สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรได้ทาสงครามโจมตี อัฟกานิสถาน กาจัดรัฐบาล ตาลิบาน (Taleban) ของนายมุลลาห์ โอมาร์(Mullah Omar) กาจัดเครือข่ายก่อการร้าย อัล กออิดะห์ (Al Qa’ida) ของนายอุซามะห์ บิน ลา เดน (Usama bin Laden) ซึ่งสหรัฐอเมริการะบุว่าเป็นผู้บงการเหตุการณ์การก่อวินาศกรรม วันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001
  • 37. เป็นการกระทาของกลุ่มผู้ก่อการร้ายอัลกออิดะห์ หรือ อัลเคดา (AL Qaedia) ที่มีนายออสมา บิน ลาเดน เป็นผู้นา รัฐบาลตาลีบันของอัฟกานิสถานจะต้องรับผิดชอบ ในฐานะให้ที่พกพิง ต่อผู้ก่อการร้าย ั ค.ศ. 2001 สหรัฐฯ บุกเข้าโจมตีอัฟกานิสถาน โดยทิ้งระเบิดปูพรมพืนทีทกแห่ง แต่หาบิล ้ ่ ุ ลาเดนไม่พบ
  • 38. รัฐบาลตาลีบันภายใต้การนาของมุลเลาะห์ โมอัมหมัด โอมาร์ ถูกโค่นล้ม สหรัฐฯเข้าดาเนินการในพื้นทีเ่ พือ... ่ ทาลายล้างกลุ่มก่อการร้าย ต้องการจะสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยในอัฟกานิสถาน