SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
กรุณาเขียน
1. ชื่อ สกุล รหัส
น.ศ.
2. เกรดเฉลี่ย
3. ความคาดหวัง
จากวิชา ....
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ทิ้ง
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
P P (PLAN)
อนาคต
I D (DO)
ปัจจุบัน
E C (CHECK)
อดีต
F A
(ADAPTION) บทเรียน
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
แผนระยะยาว หมายถึง ...
ความพยายามในการคาดการณ์ และสร้างสรรค์
อนาคต ที่อาศัยมิติของเวลาเกินกว่า 5 ปีขึ้นไป
โดย บ่งบอกแนวโน้ม และทิศทางสำาหรับ องค์การ
ชุมชน หรือสังคม สำาหรับประโยชน์ในการเป็นก
รอบของ การจัดทำานโยบาย แผน แผนงาน
โครงการ กิจกรรม ในระยะกลาง (1-5 ปี) และ
ระยะสั้น (ไม่เกิน 1 ปี) ต่อไป
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอก
(EXTERNAL ENVIRONMENT)
2. วิสัยทัศน์
3. การทำางานเชิงรุก
4. การวิจัย และพัฒนา
5. ความยืดหยุ่น
6. การปรับตัวต่อเนื่อง
7. ความกล้าเสี่ยง กล้าคิด กล้าทำา กล้ารับผิดชอบ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
เขื่อนยาว 20 ไมล์ และลึก 6 - 10 เมตร
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
พิจารณาตามเกณฑ์การใช้ประโยชน์
1. การวิจัยพื้นฐาน (BASIC RESEARCH,
PURE RESEARCH)
หลัก เพื่อสร้างองค์ความรู้
รอง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารและปฏิบัติ
2. การวิจัยประยุกษ์ (APPLIED
RESEARCH, USEFUL RESEARCH)
หลัก เพื่อแก้ไขปัญหาทางการบริหารและ
ปฏิบัติ
รอง เพื่อสร้างองค์ความรู้
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. จุดมุ่งหมายของการ
วิจัย
2. ขอบเขต
3. ปัญหาการวิจัย
4. การกำาหนดตัวแปร
5. การควบคุมตัวแปร
6. เกณฑ์การตัดสินใจ
7. บทบาทขัดแย้ง
8. การตีพิมพ์เผยแพร่
9. ภาพพจน์นักวิจัย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. การใช้ระเบียบวิธีวิจัย
2. ความสัมพันธ์เชิง
สาเหตุและผล
3. ข้อผูกพันของนักวิจัย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
 นักประเมินผลภายใน ทราบรายละเอียด
โครงการดี แต่อาจมีอคติ
 นักประเมินผลภายนอก ทราบในภาพกว้าง ขาด
ภาพลึก แต่มีความเป็น
กลางมากกว่า
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
เพื่อนักบริหาร และนักปฏิบัติใน
โครงการ
ให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
ประชาชนผู้รับบริการ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
สนับสนุน -
ยกเลิก ( ต้นสัก )
ปรับปรุงแก้ไข (
ตุ่มนำา้้ )
ศึกษาทางเลือก
( ธุรกิจ )
ทดสอบแนวคิด
( โทรทัศน์ )
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
อ้อ
ม
อ้อ
มตรตร
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
อ้อ
ม
อ้อ
มตรตร
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. ไม่ควรประเมินผล ถ้าไม่ประสงค์จะทราบผลการ
ประเมิน
2. ผลการประเมินย่อมไร้ค่า ถ้าไม่มีการนำาไปใช้
ประโยชน์
3. การประเมินผลเพียงช่วยนักบริหารไม่ให้กระทำา
ผิดซำา้้
4. การประเมินผลเปิดโอกาสให้กระทำาผิดใหม่ๆ
5. ประโยชน์ของการประเมินผลขึ้นกับระดับของ
ความเป็นไปได้ในการปรับปรุงโครงการ
6. การประเมินผลที่ด้อยคุณภาพ และก่อให้เกิดการการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การเรียนรู้ชั้นเดียว (SINGLE-LOOP
LEARNING) หมายถึง
การเรียนรู้เกี่ยวกับความสำาเร็จ / ความล้ม
เหลวของโครงการ / แผนงาน / แผน /
นโยบาย ตามที่กำาหนดมาตรฐานไว้ภายใต้
วัตถุประสงค์กระบวนการของโครงการ
การเรียนรู้สองชั้น (DOUBLE-LOOP
LEARNING) หมายถึง
การเรียนรู้ที่หยั่งลึกลงไปถึงการศึกษาฐานคติ
ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อที่เป็นการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
บุคคลผู้ไม่คิดถึงการข้าง
หน้ามักประสบความโศกา
มาใกล้ตัว
จงทำางานอย่างมีแผนแต่้่
อย่าหลงใหลไปกับแผน
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ถ้าไม่มีก้าวแรกก็ไม่มีการ
เดินทางหมื่นลี้
ความกลัวในสิ่งที่ไม่รู้สกัดกั้น
บุคคลไม่ให้เริ่มต้นกระทำา
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ผิดเป็นครู
สี่เท้ายังรู้พลาด นัก
ปราชญ์ยังรู้พลั้ง
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
o ยุคโบราณ ( อียิปต์ / อยุธยา )
o ก่อนศตวรรษที่ 18 ( สถิติการเกิด
การตาย )
o หลังสงครามโลก ครั้งที่ 1
o หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ( ฟื้นฟู
ยุโรป )
o 1960 เคเนดีกับสังคมที่ยิ่งใหญ่
( the Great Society )
o 1964 รูปแบบทดลองของ
( Campbell + Stanley )
o 1967 การวิจัยประเมินผลของ
Suchman การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
o 1700 + เริ่มต้นข้อมูลเกี่ยวกับสังคม
o 1930 เริ่มในอเมริกา
o 1960 เคเนดี เริ่มนโยบาย The
Great Society
o 1967 ซัชแมนเขียน Evaluation
Research
o 1969 The Urban Institute
สำารวจพบความไม่สนใจ
ประเมินผลโครงการ
o 1974 รัฐสภาผ่าน The
Congressional Budget
Impoundment & การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
o 1978 รัฐสภาผ่าน The Program
Reauthorization and Evaluation Act ซึ่งมี
บทบัญญัติให้อำานาจพิจารณาแผนงานของ
รัฐบาลว่าควรดำาเนินงานต่อไป
โดยไม่เปลี่ยนแปลง ควรดำาเนินการปรับปรุง
หรือ ยุติ
o 1980+ การประเมินผลได้รับความสนใจอย่างกว้าง
ขวางโดยเปิดโอกาสให้นัก
วิชาการได้ร่วมงานกับนักบริหารและนักปฏิบัติ
แต่ยังคงประสบปัญหา
เกี่ยวกับ
ก. การกำาหนดขอบเขตการประเมินผล
ข. การพัฒนาระเบียบวิธีประเมินผล
ค. การใช้ประโยชน์จากการประเมินผล
o 1990 ความเป็นวิชาชีพ (Profession)การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
(1) การประเมินปัจจัยนำาเข้า
(2) การประเมินผลลัพธ์
INPUT
OUTPUT
เกณฑ์การประเมินผล
ฐานคติ
ฐานคติ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. การประเมินปัจจัย
นำาเข้า
ปัจจัยนำาเข้า
ฐานคติ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. เริ่มจากฐานคติว่า ปัจจัยนำาเข้าจะก่อให้
เกิดผลผลิต / ผลลัพธ์ / ผลกระทบ โดย
ปริยาย
2. สนใจการจัดสรรงบประมาณและการใช้
งบประมาณยิ่งกว่าผลผลิต / ผลลัพธ์ /
ผลกระทบ
3. ไม่ปรากฏเครื่องมือในการบริหาร
โครงการ และไม่ปรากฏขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน
4. เน้นปัญหา อุปสรรคในการใช้งบการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
2. การประเมิน
ผลลัพธ์
เกณฑ์การ
ประเมินผล
• ประสิทธิผล
•
ประสิทธิภาพ
• ความพอ
เพียง
ผลลัพธ์
ฐานคติ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ประสิทธิผล =
ผลลัพธ์
เป้าหมาย หรือ
วัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพ =
ผลลัพธ์
ปัจจัยนำา
เข้า
ความพอเพียง =
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ผลงาน มาตรฐาน
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1.มาตรฐานสากล
2.มาตรฐานไทย
3.มาตรฐานไม่ปรากฏ /
หลากหลาย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
2
4
6
8
10
12
14
แรกเกิด - 1 ปี
1 ปี - 2 ปี
2 ปี - 3 ปี
3 ปี - 4 ปี
4 ปี - 5 ปี
อายุ (ปี)
นำ้าหนัก (ก.ก.)
ขาดอาหารระดับ 3
ขาดอาหารระดับ 2
ขาดอาหารระดับ 1
นำ้าหนักปกติ
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ประเทศพัฒนาแล้ว
 กำาหนดสารตะกั่วไม่เกิน 2 ไมโครกรัมต่อ
1 ลูกบาศก์เมตร
ประเทศไทย
 กำาหนดสารตะกั่วไม่เกิน 4 ไมโครกรัมต่อ
1 ลูกบาศก์เมตร
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ประเทศพัฒนาแล้ว
 กำาหนดความดัง ไม่เกิน
70 เดซิเบล
 โตเกียว 77 เดซิเบล
 กรุงเทพฯ 81 เดซิเบล
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ความเค็มที่เป็นอันตราย
ต่อสวนผลไม้
ปริมาณเกลือเกิน 2 กรัม
ต่อลิตร
ไนโตรเจนออกไซด์ใน
อากาศ
• สากล 60 มก./ลบ.ม.การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
 ถนนควรมีพื้นที่ 20 – 25%
ของพื้นที่เมือง
 กทม. มีถนนคิดเป็น 8%
ของพื้นที่เมือง โดยจำานวน
รถเพิ่ม 405 คันต่อวัน
จักรยานยนต์เพิ่ม 440 คัน
ต่อวัน
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. ใช้คำากริยาที่แสดงความตั้งใจจริง
เช่น มุ่งเพิ่ม มุ่งลด
2. ระบุผลลัพธ์หรือผลกระทบเพียง
ประการเดียวในวัตถุประสงค์หนึ่ง
ข้อ เช่น สะดวก หรือรวดเร็ว
3. กำาหนดช่วงเวลา พื้นที่ กลุ่มเป้า
หมายที่ชัดเจน
4. ระบุมาตรฐานที่วัดได้
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. เพิ่มความรู้
2. เพิ่มความ
สามารถ
3. เพิ่มทักษะ
4. สร้างทัศนคติ
วัตถุประสงค์
10
8
6
4
28
น.น.
หลัก
รอง
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
 เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว
ประหยัด ในการให้บริการ
ควรเปลี่ยนเป็น
 มุ่งเพิ่มความสะดวก (ลดขั้นตอน)
ในการให้บริการ.....สำาหรับ
ประชาชนในเขต.....ระหว่าง.....
จากเดิมร้อยละ 20 (ลดจาก 10
เหลือ 8 ขั้นตอน)
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. อัตราส่วนค่าใช้จ่ายกับผลตอบแทน (C/B
RATIO)
B / C = B ÷ C
= 300,000 ÷ 100,000
= 3
ค่าใช้จ่ายรวมถึงเงินภายใต้งบ เงินนอกงบ เงิน
ทางอ้อม ค่าเสียโอกาส ราคาเงา
ค่าตอบแทน รวมถึง ผลทางตรง
(มีตัวตน - ไม่มี)
ลดอาชญากรรม - ปลอดภัย
(มีตัวตน - ไม่มี)
รายได้ - ความสุข การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
2. อัตราส่วนค่าใช้จ่ายกับ
ประสิทธิผล (C/E RATIO)
C / E = C ÷ E
ประสิทธิผล คงหน่วยวัดที่ไม่ใช่
เงินตรา
= 10,000 ÷ 100
= 100 บาทต่อคน
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ก) ความต้องการรวม 120,000
คน
ข) ขีดความสามารถ
• 250 คน / สัปดาห์
• 1,000 คน / เดือน
• 12,000 คน / ปี
ค) ความพอเพียง =
12,000 X 100
120,000การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ข้าราชการ 120,000 คน
• รุ่นละ 250 คน / สัปดาห์
• เดือนละ 4 รุ่น = 1,000
คน
• ปีละ 48 รุ่น = 12,000
คน
• ใช้เวลา 10 ปี ต่อ 1
รอบ
• ถ้าอายุการทำางาน 30 ปีการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
ตรวจสอบ
1. เวลา
2. ค่าใช้จ่าย + เตรียม
ทรัพยากรต่างๆ
3. ผลงาน
4. ผลข้างเคียง
ช่วงเวลา
กิจกรรม 1
กิจกรรม 2
กิจกรรม 3
กิจกรรม 4
1 2 3 4 5 6 7 8
20 %
25 %
25 %
30 %
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
งวดที่ 1
เงิน 3,291,000 บาท (สามล้านสองแสนเก้าหมื่นหนึ่ง
พันบาทถ้วน) จ่ายให้เมื่อผู้รับจ้างได้ทำาการตอกเสาเข็ม
ค.ส.ล. 237 ต้น แล้วเสร็จซึ่งกำาหนดแล้วเสร็จภานใน
วันที่ 2 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2534
งวดที่ 2
เงิน 3,839,500 บาท (สามล้านแปดแสนสามหมื่นเก้า
พันห้าร้อยบาทถ้วน) จ่ายให้เมื่อผู้รับจ้างได้ทำาการตอก
เสาเข็ม ค.ส.ล. ส่วนที่เหลือทั้งหมดแล้วเสร็จ ซึ่งกำาหนด
แล้วเสร็จภานในวันที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2535
งวดที่ 3
เงิน 3,839,500 บาท (สามล้านแปดแสนสามหมื่นเก้า
พันห้าร้อยบาทถ้วน)
จ่ายให้เมื่อผู้รับจ้างได้ทำาการหล่อคอนกรีตฐานราก เสาการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
คือ กระบวนการตรวจสอบให้งานมี
ปริมาณและคุณภาพได้มาตรฐาน
ตามที่กำาหนดไว้ โดยอาศัยการ
สังเกต การสัมภาษณ์ การใช้
แบบสอบถาม และการรวบรวม
ข้อมูลแบบอื่นๆ ระหว่าง หรือหลัง
โครงการ เพื่อเสนอต่อนักบริหาร
สำาหรับประโยชน์ในการกำากับ ดูแล
ความพอเหมาะพอควรของการใช้
ทรัพยากรต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. ตรวจสอบความ
ก้าวหน้าของงาน
2. พิจารณามาตรฐานของ
งาน
3. ลดความรั่วไหลของ
ทรัพยากร
4. แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
LOG FRAME
การประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย
1. กำาหนดนิยามคำาต่างๆ ที่ใช้ไม่ตรงกัน
2. ไม่เน้นการศึกษาถึงปัญหาและสาเหตุ
3. มุ่งการทำาโครงการตามความนิยม (แฟชั่น)
4. ขาดการประเมินสภาวะแวดล้อมก่อนโครงการ
5. ไม่มีโอกาสประสานความเข้าใจระหว่างนักวางแผน นัก
บริหาร นักปฏิบัติ และนักประเมินผล
6. มุ่งผลรูปธรรมในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานจนละเลย
ผลนามธรรมที่กระทบต่อพืช สัตว์ และมนุษย์
7. ทำาการประเมินเพียงเป้าหมาย โดยไม่สนใจวัตถุประสงค์
และเป้าประสงค์
8. มุ่งผลทางบวกจนละเลยผลทางลบ
9. ทำาโครงการขนาดใหญ่อย่างรีบร้อนจนขาดความ
รอบคอบในการทดลองและขยายผลการประเมินผลโครงการ โดย ศ.ดร.ปุระชัย เปี่ย

More Related Content

More from Yaowaluk Chaobanpho

ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์Yaowaluk Chaobanpho
 
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียYaowaluk Chaobanpho
 
Federal class size reduction policy
Federal class size reduction policyFederal class size reduction policy
Federal class size reduction policyYaowaluk Chaobanpho
 
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลกพัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลกYaowaluk Chaobanpho
 
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาYaowaluk Chaobanpho
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยYaowaluk Chaobanpho
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
Energy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทยEnergy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยYaowaluk Chaobanpho
 
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์Yaowaluk Chaobanpho
 
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทยบทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทยYaowaluk Chaobanpho
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Yaowaluk Chaobanpho
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecYaowaluk Chaobanpho
 
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)Yaowaluk Chaobanpho
 

More from Yaowaluk Chaobanpho (18)

Pol9235 mediation
Pol9235 mediationPol9235 mediation
Pol9235 mediation
 
Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)Sn service 2003 (18-08-2558)
Sn service 2003 (18-08-2558)
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
 
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
 
Federal class size reduction policy
Federal class size reduction policyFederal class size reduction policy
Federal class size reduction policy
 
The sarit regime
The sarit regimeThe sarit regime
The sarit regime
 
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลกพัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
พัฒนาการเศรษฐกิจการเมืองโลก
 
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
Energy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทยEnergy พลังงานในประเทศไทย
Energy พลังงานในประเทศไทย
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
 
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
 
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทยบทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
บทบาทกลุ่มยังเติร์กในการเมืองไทย
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
SN SERVICE AND TRADING CO.,LTD.
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
 
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
Thailand in the cold war: sarit thanom regime (1957-1973)
 

การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)