SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
นางสาวชลธิชา มายอด 565050039-9
นางสาวนิโลบล มีชัย 565050042-0
นางสาวอุทัยวรรณ นสสัยกล้า 565050051-9
นางสาวพิมลวรรณ ร่มวาปี 565050046-2
ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
ได้กําหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ใน
เรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็นผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน
นําเสนอหัวข้อที่จะทํา กําหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบ
การดําเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ
ดําเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นําเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม
และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และจะต้องมีการรายงานความ
คืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทําโครงงานโดยคิดว่า ม.1
ยังไม่พร้อมที่จะทําโครงงานดังกล่าว
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
1. หากท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ที่เข้ามาประเมินโรงเรียนแห่งนี้ท่านคิดว่าแนวทางการจัดการ
เรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัยสอดคล้องกับทฤษฎีใด จงอธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีดังกล่าว
ให้ละเอียด พร้อมยกตัวอย่างในการนําทฤษฎีมาใช้
ครูสุขสรรค์ ใช้ทฤษฎีกาค้นพบแบบบรูเนอร์ เน้นความรู้ความเข้าใจ โดยมีลําดับขั้นตอน คือขั้นที่1พัฒนา
โดยการกระทํา เกิดจากการสัมผัส เกิดกับวัยแรกเกิดถึง 2ขวบ ขั้นที่ 2 เป็นพัฒนาการทางความคิด
จินตนาการ มองเห็นจดจํา ขั้นที่3 เป็นการถ่ายทอด การคิดเชิงซับซ้อน ใช้ภาษา สัญลักษณ์ คล้ายกับทฤษฎี
ของเพียเจต์ในขั้นที่ 3-4 ตัวอย่างการสอนของครูสุขสรรค์ใช้หลักการให้เด็กชั้นม.1-3 ทําโครงงาน โดยมี
กระบวนการ วางแผน ออกแบบ ลงมือทํา กําหนดสมมุติฐาน สรุปผล ละนําเสนอ ซึ่งในช่วงอายุของเด็กใน
วัยนี้ ใกล้เคียงกัน สามารถเรียนรู้ไปได้พร้อมกัน
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
ครูอภิชัย ได้ใช้ทฤษฎีเชาปัญญาแบบเพียเจต์ เน้นการจัดรวบรวมข้อมูลภายในผู้เรียนให้
เป็นระเบียบ มีแบบแผน ขั้นตอน รวมไปถึงมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้อยู่ใน
สภาพที่สมดุล การปรับตัวนี้ อาจจะเกิดจากการที่เด็กมีการซึมซับดูดซึมจากสิ่งแวดล้อม
รอบตัว เกิดการเรียนรู้จดจําแล้วจึงเกิดประสบการณ์นําไปสู่การสร้างปัญญา ส่วนการปรับ
โครงสร้างการปัญญาคือเปลี่ยนโครงการสร้างปัญญาแบบเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือ
สอดคล้องวัยของผู้เรียน ยกตัวอย่างการสอนของครูอภิชัย ที่ไม่ให้เด็กม.1ทําโครงงานเพราะ
เห็นว่า เด็กในวัยนี้ยังไม่เหมาะที่จะทําการเรียนรู้แบบโครงสร้าง ควรมีการเรียนการสอน
แบบตามขั้นตอนตามวัยของผู้เรียน ซึ่งต้องคํานึงถึงวัย วุฒิภาวะของผู้เรียน
2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการสอนของครูสุขสวรรค์และครูอภิชัย โดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม มาอธิบายว่ามีข้อดีและข้อจํากัดในการนําไปใช้อย่างไร
บ้าง
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
กรณีศึกษา ข้อดี ข้อเสีย
ครูสุขสวรรค์ 1.ครูสุขสวรรค์เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ไม่
ช่วงจํากัดวัย
1.นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ที่ไม่เท่ากัน
2.ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ 2.เนื้อหาที่เรียนไม่เหมาะสมกับวัยของ
ผู้เรียน
3.นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ครูอภิชัย 1.กระบวนการเรียนรู้เหมาะสมกับวัยผู้เรียน
2.ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ
ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล
ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โดย
คุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กวัย
เตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัยอนุบาลจะ
สามารถเรียนรู้ได้จากสัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็น
นโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
1. ท่านจะนําหลักการของทฤษฎีใดมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ
โรงเรียนนี้ จงอธิบายหลักการสําคัญของทฤษฎีที่ท่านเลือกใช้มาพอสังเขป
เลือกหลักโดยทฤษฎีนี้จะสนับสนุนการพัฒนาการตั้งแต่ทารกถึงวัยรุ่น ซึ่งการพัฒนา
เชาว์ปัญญาจะประกอบด้วยการดูดซึมหรือซึมซาบเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา และ
การปรับโครงสร้างทางปัญญา โดยทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์มี
ลําดับขั้นตอน 4 ขั้น ซึ่งทั้ง 4 ขั้นอยู่ในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ ทารก – 12 ปี ขึ้นไป ก็จะ
สอดคล้องกับการเรียนการสอนในระดับ เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย ได้เช่นกัน
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย พร้อมยกตัวอย่าง
ประกอบ มาพอเข้าใจ
1. Sensorimotor Stage แรกเกิด – 2 ขวบ ซึ่งนั่นก็คือ ระดับเตรียมอนุบาลจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
โดยประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
2. Preoperational Stage 18 เดือน – 2 ปี เป็นช่วงคาบเกี่ยวตั้งแต่ เตรียมอนุบาล – อนุบาล
จะเริ่มใช้สัญลักษณ์ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เริ่มพูดเป็นประโยค เรียนรู้คําต่างๆ เพิ่มขึ้น
3. Concrete Operations Stage 7- 11 ปี จะเริ่มมีกฎเกณฑ์แบ่งจัดสรรสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่
โดยใช้เกณฑ์หลายอย่างไม่ขึ้นกับเฉพาะรูปร่างเท่านั้น
4. Formal Operations Stage 12 ปี ขึ้นไป จะสามารถคิดค้นหาเหตุผลได้นอกเหนือจากข้อมูลที่มีอยู่เริ่ม
ที่จะคิดตั้งสมมติฐานแลทฤษฎี คิดนอกเหนือไปจากสิ่งปัจจุบัน และพอใจที่จะพิจารณาสิ่งที่ไม่มีตัวตน /
นามธรรม
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
3. ท่านจะแนะนําแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับระดับพัฒนาการของผู้เรียนอย่างไร
เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ
การจัดการเรียนรู้ในระดับตั้งแต่เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย จะต้องจัดแบ่งหมวดหมู่ กลุ่ม
ระดับพัฒนาการให้ชัดเจน เพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอน และครูผู้สอนต้องเป็น
ผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะกลุ่มพัฒนาการ และมีพื้นฐานทางทางด้านทฤษฎีพัฒนาการของเด็กด้วย
จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจมีการจัดการอบรมความรู้ทางด้านพัฒนาการ
ของผู้เรียน และควรสร้างโอกาสให้ครูได้ปฏิสัมพันธ์กับเด็กอย่างเต็มที่ สนับสนุนสื่อการเรียนรู้
เปิดโอกาสให้ครูผู้สอนได้ใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด
วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า
จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดํา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม โดย
จะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสําคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทํา
ให้ยากต่อการทําความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น
และลองถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะ
อธิบายได้ขาดกรอบในการนําเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ในเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
1. จงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทําให้นักเรียนไม่สามารถ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้
- ครูผู้สอนไม่อธิบายสิ่งที่จะต้องเรียน สาระสําคัญของ
เรื่องที่จะเรียนให้ผู้เรียนเข้าใจ
- ไม่มีการเชื่องโยงระหว่างความรู้เดิมและความรู้ใหม่
ทําให้ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหาที่จะเรียนต่อไป
- ครูผู้สอนไม่ได้สอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอด
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
2. ท่านจงลองนําเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัย
หลักการและทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
ประกอบด้วย
เสนอทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ ออซูเบล เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความหมายจากการสอนหรือบรรยายของครู โดยการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ที่มีมาก่อนกับ
ข้อมูลใหม่ หรือความคิดรวบยอดใหม่ ที่จะต้องเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายที่ไม่
ต้องท่องจํา หลักการทั่วไปที่นํามาใช้คือ
- การจัด เรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ ออกเป็นหมวดหมู่
- นําเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
- แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สําคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสําคัญ
ตัวอย่างเช่น
นักเรียนเคยเรียนเรื่อง สัตว์มีขา 6 ขา จัดอยู่ในกลุ่ม แมลง
ข้อมูลใหม่ที่จะได้เรียน แมลงสาบ แมลงวัน ตั๊กแตน ฯลฯ มี 6 ขา
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย แมลงวัน ตั๊กแตน ฯลฯ เป็นสัตว์ที่มี 6 ขา จัดอยู่ในกลุ่ม แมลง
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กําลังประสบปัญหาเกี่ยวกับ
การสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ เข้าใจ
และจําได้เมื่อถามคําถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทําหน้าชั้นเรียนก็
สามารถทําได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลาผ่านไป เช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถาม
หรือให้แสดงวิธีทําปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทําได้เพียง
บางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจําไม่ได้
ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทาง
ช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
1. จงวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะนําทฤษฎีใดในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมมาใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง
อธิบายหลักการทฤษฎีที่ใช้อย่างละเอียด
เลือกทฤษฎีประมวลผลสารสนเทศ เป็นทฤษฎีที่พยายามอธิบายให้เข้าใจว่า มนุษย์จะมีวิธีการ
รับข้อมูลข่าวสาร หรือความรู้ใหม่อย่างไร เมื่อรับมาแล้วจะมีวิธีการประมวลข้อมูล บันทึกไว้ใน
ความจําระยะสั้น เมื่อต้องการรักษาข้อมูลไว้ในความจําระยะสั้นให้ช่วงเวลายาวขึ้น นําไปเก็บไว้ใน
ความจําระยะยาวเพื่อให้สามารถดึงความรู้นั้นมาใช้ได้อย่างไร ซึ่งเป็นผลที่ทําให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
2. หากคุณพบปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาที่คุณสอนเอง คุณจะนําหลักการหรือทฤษฎีเดียวกับครูทักษิณ
ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร จงอธิบายขั้นตอนและยกตัวอย่างประกอบ
ผู้สอนควรพยายามสร้างสะพานที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้มาก่อนกับสิ่งที่
จะเรียนรู้ใหม่ โดยวิธีการต่างๆที่กล่าวมาแล้ว เช่น การทบทวน การทําซํ้าๆ(Rehearsal) การเรียบเรียงและรวบรวม
(Organize) การขยายความ หรือขยายความคิด(Elaborate) เป็นต้น และจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความ
สนใจของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น
เช่น การเรียนเรื่องรูปร่างลักษณะของจํานวนศูนย์0 ของเด็กระดับอนุบาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยเรียนรู้มาก่อน
ถ้าผู้สอนช่วยเชื่อมโยงเข้ากับสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้จัก รูปร่างของศูนย์0 กับสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้จัก เช่น ไข่ ลูกโป่ง ลูก
ปิงปอง หรืออื่นๆที่ผู้เรียนเคยรู้จักมาก่อน อาจจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวได้ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
สถานการณ์ปัญหาที่ 5
ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปารวีมี
เหตุการณ์เป็นดังนี้
ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้วให้
นักเรียนกลับไปทําเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่างเขาจะ
หยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทํา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้
อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยัง
ไม่ได้คําตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่
เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ
เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมากที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้
คําตอบ แล้วทําการตรวจทานคําตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
1. จากกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์คุณคิดว่าสอดคล้องกับทฤษฎีใดจง
ชี้ให้เห็นถึงความสอดคล้องดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
เลือกทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง (Metacognition) เป็นมิติหนึ่งของการคิด
มีคุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิด มีความสามารถในการในการควบคุมการคิดและประเมินการคิด
ของตนเอง หรือกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งที่ช่วยให้แต่ละคนควบคุมกํากับกระบวนการทางปัญญา
ของตนได้เมตาคอกนิชันจึงเป็นองค์ประกอบสําคัญของการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์ปัญหาที่ 5
2. คุณจะนําหลักการดังกล่าวไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงอย่างไร อธิบายเชิง
หลักการ ทฤษฎี พร้อมทั้งผลที่มีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไรบ้าง
เมื่อครูผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิด กระบวนการคิด เพื่อใช้ในการกําหนดปัญหา หาวิธีการ
แก้ปัญหาอย่างหลากหลายจึงควรต้องพัฒนาเมตาคอกนิชัน ในการพัฒนาเมตาคอกนิชันจะต้อง มีการ
เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมหรือความรู้เท่าที่มีอยู่ เลือกยุทธวิธีการคิดอย่างพิถีพิถันรอบครอบ วางแผน
กํากับหรือตรวจสอบและประเมินกระบวนการคิด ซึ่งในการพัฒนาเมตาคอกนิชันหรือการพัฒนาพฤติกรรม
การควบคุมและประเมินการคิดพอแบ่งได้เป็นขั้นตอน ดังนี้
1. ระบุว่าเรารู้อะไรไม่รู้อะไรโดยการฝึกเขียนให้ชัดเจน
2. อภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการคิดของตน
3. บันทึกวิธีคิด ข้อควรระวัง ความยากลําบาก
4. วางแผนกํากับการเรียนด้วยตนเอง
5. สรุปกระบวนการคิดเมื่อทํากิจกรรมเสร็จ
6. ประเมินผลการคิดของตนเอง
สถานการณ์ปัญหาที่ 5
Thank you!
Contact Address:
Prof. Somchai Doe
Tel:
Email:
www.kku.ac.th

More Related Content

What's hot

สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่มTaweep Saechin
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer Tasanee Nunark
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2niralai
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1KruKaiNui
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 

What's hot (20)

สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 

Viewers also liked

Корп. Презентация ПВ
Корп. Презентация ПВКорп. Презентация ПВ
Корп. Презентация ПВPavel Verbnyak
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem basenilobon66
 
116.sayı web
116.sayı web116.sayı web
116.sayı webhaber48
 
98. sayı
98. sayı 98. sayı
98. sayı haber48
 
Aven presentation
Aven presentationAven presentation
Aven presentationNaosuu
 
Asexuality presentation for CUQSC 2013
Asexuality presentation for CUQSC 2013Asexuality presentation for CUQSC 2013
Asexuality presentation for CUQSC 2013Naosuu
 
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?Vinod Kad
 
Chef on SmartOS
Chef on SmartOSChef on SmartOS
Chef on SmartOSEric Saxby
 
An Iterative Approach to Service Oriented Architecture
An Iterative Approach to Service Oriented ArchitectureAn Iterative Approach to Service Oriented Architecture
An Iterative Approach to Service Oriented ArchitectureEric Saxby
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาnilobon66
 
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod Kad
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod KadIntroduction to Ashtavakra Gita by Vinod Kad
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod KadVinod Kad
 
When rails hits the fan
When rails hits the fanWhen rails hits the fan
When rails hits the fanEric Saxby
 
Relax, You Are Endless
Relax, You Are EndlessRelax, You Are Endless
Relax, You Are EndlessVinod Kad
 
Relax ! You can never die
Relax ! You can never dieRelax ! You can never die
Relax ! You can never dieVinod Kad
 

Viewers also liked (17)

Корп. Презентация ПВ
Корп. Презентация ПВКорп. Презентация ПВ
Корп. Презентация ПВ
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem base
 
116.sayı web
116.sayı web116.sayı web
116.sayı web
 
98. sayı
98. sayı 98. sayı
98. sayı
 
Progam imunisasii
Progam imunisasiiProgam imunisasii
Progam imunisasii
 
Aven presentation
Aven presentationAven presentation
Aven presentation
 
Homelessness
HomelessnessHomelessness
Homelessness
 
111 web
111 web111 web
111 web
 
Asexuality presentation for CUQSC 2013
Asexuality presentation for CUQSC 2013Asexuality presentation for CUQSC 2013
Asexuality presentation for CUQSC 2013
 
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?
Ashtavakra Gita - Chapter 1 - Who am I ?
 
Chef on SmartOS
Chef on SmartOSChef on SmartOS
Chef on SmartOS
 
An Iterative Approach to Service Oriented Architecture
An Iterative Approach to Service Oriented ArchitectureAn Iterative Approach to Service Oriented Architecture
An Iterative Approach to Service Oriented Architecture
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod Kad
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod KadIntroduction to Ashtavakra Gita by Vinod Kad
Introduction to Ashtavakra Gita by Vinod Kad
 
When rails hits the fan
When rails hits the fanWhen rails hits the fan
When rails hits the fan
 
Relax, You Are Endless
Relax, You Are EndlessRelax, You Are Endless
Relax, You Are Endless
 
Relax ! You can never die
Relax ! You can never dieRelax ! You can never die
Relax ! You can never die
 

Similar to Problem 8 11

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาPakakul Budken
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 

Similar to Problem 8 11 (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
C2
C2C2
C2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Problem 8 11

  • 1. นางสาวชลธิชา มายอด 565050039-9 นางสาวนิโลบล มีชัย 565050042-0 นางสาวอุทัยวรรณ นสสัยกล้า 565050051-9 นางสาวพิมลวรรณ ร่มวาปี 565050046-2
  • 2. ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กําหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ใน เรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็นผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นําเสนอหัวข้อที่จะทํา กําหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบ การดําเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ ดําเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นําเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และจะต้องมีการรายงานความ คืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทําโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทําโครงงานดังกล่าว สถานการณ์ปัญหาที่ 1
  • 3. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 1. หากท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ที่เข้ามาประเมินโรงเรียนแห่งนี้ท่านคิดว่าแนวทางการจัดการ เรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัยสอดคล้องกับทฤษฎีใด จงอธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีดังกล่าว ให้ละเอียด พร้อมยกตัวอย่างในการนําทฤษฎีมาใช้ ครูสุขสรรค์ ใช้ทฤษฎีกาค้นพบแบบบรูเนอร์ เน้นความรู้ความเข้าใจ โดยมีลําดับขั้นตอน คือขั้นที่1พัฒนา โดยการกระทํา เกิดจากการสัมผัส เกิดกับวัยแรกเกิดถึง 2ขวบ ขั้นที่ 2 เป็นพัฒนาการทางความคิด จินตนาการ มองเห็นจดจํา ขั้นที่3 เป็นการถ่ายทอด การคิดเชิงซับซ้อน ใช้ภาษา สัญลักษณ์ คล้ายกับทฤษฎี ของเพียเจต์ในขั้นที่ 3-4 ตัวอย่างการสอนของครูสุขสรรค์ใช้หลักการให้เด็กชั้นม.1-3 ทําโครงงาน โดยมี กระบวนการ วางแผน ออกแบบ ลงมือทํา กําหนดสมมุติฐาน สรุปผล ละนําเสนอ ซึ่งในช่วงอายุของเด็กใน วัยนี้ ใกล้เคียงกัน สามารถเรียนรู้ไปได้พร้อมกัน
  • 4. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 ครูอภิชัย ได้ใช้ทฤษฎีเชาปัญญาแบบเพียเจต์ เน้นการจัดรวบรวมข้อมูลภายในผู้เรียนให้ เป็นระเบียบ มีแบบแผน ขั้นตอน รวมไปถึงมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้อยู่ใน สภาพที่สมดุล การปรับตัวนี้ อาจจะเกิดจากการที่เด็กมีการซึมซับดูดซึมจากสิ่งแวดล้อม รอบตัว เกิดการเรียนรู้จดจําแล้วจึงเกิดประสบการณ์นําไปสู่การสร้างปัญญา ส่วนการปรับ โครงสร้างการปัญญาคือเปลี่ยนโครงการสร้างปัญญาแบบเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือ สอดคล้องวัยของผู้เรียน ยกตัวอย่างการสอนของครูอภิชัย ที่ไม่ให้เด็กม.1ทําโครงงานเพราะ เห็นว่า เด็กในวัยนี้ยังไม่เหมาะที่จะทําการเรียนรู้แบบโครงสร้าง ควรมีการเรียนการสอน แบบตามขั้นตอนตามวัยของผู้เรียน ซึ่งต้องคํานึงถึงวัย วุฒิภาวะของผู้เรียน
  • 5. 2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการสอนของครูสุขสวรรค์และครูอภิชัย โดยอาศัย ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม มาอธิบายว่ามีข้อดีและข้อจํากัดในการนําไปใช้อย่างไร บ้าง สถานการณ์ปัญหาที่ 1 กรณีศึกษา ข้อดี ข้อเสีย ครูสุขสวรรค์ 1.ครูสุขสวรรค์เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ไม่ ช่วงจํากัดวัย 1.นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ที่ไม่เท่ากัน 2.ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ 2.เนื้อหาที่เรียนไม่เหมาะสมกับวัยของ ผู้เรียน 3.นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ครูอภิชัย 1.กระบวนการเรียนรู้เหมาะสมกับวัยผู้เรียน 2.ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ
  • 6. ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โดย คุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กวัย เตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัยอนุบาลจะ สามารถเรียนรู้ได้จากสัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็น นโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป สถานการณ์ปัญหาที่ 2
  • 7. 1. ท่านจะนําหลักการของทฤษฎีใดมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ โรงเรียนนี้ จงอธิบายหลักการสําคัญของทฤษฎีที่ท่านเลือกใช้มาพอสังเขป เลือกหลักโดยทฤษฎีนี้จะสนับสนุนการพัฒนาการตั้งแต่ทารกถึงวัยรุ่น ซึ่งการพัฒนา เชาว์ปัญญาจะประกอบด้วยการดูดซึมหรือซึมซาบเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา และ การปรับโครงสร้างทางปัญญา โดยทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์มี ลําดับขั้นตอน 4 ขั้น ซึ่งทั้ง 4 ขั้นอยู่ในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ ทารก – 12 ปี ขึ้นไป ก็จะ สอดคล้องกับการเรียนการสอนในระดับ เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย ได้เช่นกัน สถานการณ์ปัญหาที่ 2
  • 8. 2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ มาพอเข้าใจ 1. Sensorimotor Stage แรกเกิด – 2 ขวบ ซึ่งนั่นก็คือ ระดับเตรียมอนุบาลจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 2. Preoperational Stage 18 เดือน – 2 ปี เป็นช่วงคาบเกี่ยวตั้งแต่ เตรียมอนุบาล – อนุบาล จะเริ่มใช้สัญลักษณ์ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เริ่มพูดเป็นประโยค เรียนรู้คําต่างๆ เพิ่มขึ้น 3. Concrete Operations Stage 7- 11 ปี จะเริ่มมีกฎเกณฑ์แบ่งจัดสรรสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ โดยใช้เกณฑ์หลายอย่างไม่ขึ้นกับเฉพาะรูปร่างเท่านั้น 4. Formal Operations Stage 12 ปี ขึ้นไป จะสามารถคิดค้นหาเหตุผลได้นอกเหนือจากข้อมูลที่มีอยู่เริ่ม ที่จะคิดตั้งสมมติฐานแลทฤษฎี คิดนอกเหนือไปจากสิ่งปัจจุบัน และพอใจที่จะพิจารณาสิ่งที่ไม่มีตัวตน / นามธรรม สถานการณ์ปัญหาที่ 2
  • 9. 3. ท่านจะแนะนําแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับระดับพัฒนาการของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ การจัดการเรียนรู้ในระดับตั้งแต่เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย จะต้องจัดแบ่งหมวดหมู่ กลุ่ม ระดับพัฒนาการให้ชัดเจน เพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอน และครูผู้สอนต้องเป็น ผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะกลุ่มพัฒนาการ และมีพื้นฐานทางทางด้านทฤษฎีพัฒนาการของเด็กด้วย จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจมีการจัดการอบรมความรู้ทางด้านพัฒนาการ ของผู้เรียน และควรสร้างโอกาสให้ครูได้ปฏิสัมพันธ์กับเด็กอย่างเต็มที่ สนับสนุนสื่อการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ครูผู้สอนได้ใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ สถานการณ์ปัญหาที่ 2
  • 10. ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดํา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม โดย จะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสําคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทํา ให้ยากต่อการทําความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลองถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะ อธิบายได้ขาดกรอบในการนําเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ในเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน สถานการณ์ปัญหาที่ 3
  • 11. 1. จงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทําให้นักเรียนไม่สามารถ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้ - ครูผู้สอนไม่อธิบายสิ่งที่จะต้องเรียน สาระสําคัญของ เรื่องที่จะเรียนให้ผู้เรียนเข้าใจ - ไม่มีการเชื่องโยงระหว่างความรู้เดิมและความรู้ใหม่ ทําให้ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหาที่จะเรียนต่อไป - ครูผู้สอนไม่ได้สอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 3
  • 12. 2. ท่านจงลองนําเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัย หลักการและทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง ประกอบด้วย เสนอทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ ออซูเบล เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความหมายจากการสอนหรือบรรยายของครู โดยการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ที่มีมาก่อนกับ ข้อมูลใหม่ หรือความคิดรวบยอดใหม่ ที่จะต้องเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายที่ไม่ ต้องท่องจํา หลักการทั่วไปที่นํามาใช้คือ - การจัด เรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ ออกเป็นหมวดหมู่ - นําเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่ - แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สําคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสําคัญ ตัวอย่างเช่น นักเรียนเคยเรียนเรื่อง สัตว์มีขา 6 ขา จัดอยู่ในกลุ่ม แมลง ข้อมูลใหม่ที่จะได้เรียน แมลงสาบ แมลงวัน ตั๊กแตน ฯลฯ มี 6 ขา การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย แมลงวัน ตั๊กแตน ฯลฯ เป็นสัตว์ที่มี 6 ขา จัดอยู่ในกลุ่ม แมลง สถานการณ์ปัญหาที่ 3
  • 13. ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กําลังประสบปัญหาเกี่ยวกับ การสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ เข้าใจ และจําได้เมื่อถามคําถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทําหน้าชั้นเรียนก็ สามารถทําได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลาผ่านไป เช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถาม หรือให้แสดงวิธีทําปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทําได้เพียง บางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจําไม่ได้ ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทาง ช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว สถานการณ์ปัญหาที่ 4
  • 14. 1. จงวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะนําทฤษฎีใดในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมมาใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง อธิบายหลักการทฤษฎีที่ใช้อย่างละเอียด เลือกทฤษฎีประมวลผลสารสนเทศ เป็นทฤษฎีที่พยายามอธิบายให้เข้าใจว่า มนุษย์จะมีวิธีการ รับข้อมูลข่าวสาร หรือความรู้ใหม่อย่างไร เมื่อรับมาแล้วจะมีวิธีการประมวลข้อมูล บันทึกไว้ใน ความจําระยะสั้น เมื่อต้องการรักษาข้อมูลไว้ในความจําระยะสั้นให้ช่วงเวลายาวขึ้น นําไปเก็บไว้ใน ความจําระยะยาวเพื่อให้สามารถดึงความรู้นั้นมาใช้ได้อย่างไร ซึ่งเป็นผลที่ทําให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี สถานการณ์ปัญหาที่ 4
  • 15. 2. หากคุณพบปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาที่คุณสอนเอง คุณจะนําหลักการหรือทฤษฎีเดียวกับครูทักษิณ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร จงอธิบายขั้นตอนและยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนควรพยายามสร้างสะพานที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้มาก่อนกับสิ่งที่ จะเรียนรู้ใหม่ โดยวิธีการต่างๆที่กล่าวมาแล้ว เช่น การทบทวน การทําซํ้าๆ(Rehearsal) การเรียบเรียงและรวบรวม (Organize) การขยายความ หรือขยายความคิด(Elaborate) เป็นต้น และจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความ สนใจของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น เช่น การเรียนเรื่องรูปร่างลักษณะของจํานวนศูนย์0 ของเด็กระดับอนุบาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยเรียนรู้มาก่อน ถ้าผู้สอนช่วยเชื่อมโยงเข้ากับสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้จัก รูปร่างของศูนย์0 กับสิ่งที่ผู้เรียนเคยรู้จัก เช่น ไข่ ลูกโป่ง ลูก ปิงปอง หรืออื่นๆที่ผู้เรียนเคยรู้จักมาก่อน อาจจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวได้ดียิ่งขึ้น สถานการณ์ปัญหาที่ 4
  • 16. สถานการณ์ปัญหาที่ 5 ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปารวีมี เหตุการณ์เป็นดังนี้ ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้วให้ นักเรียนกลับไปทําเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่างเขาจะ หยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทํา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้ อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยัง ไม่ได้คําตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่ เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมากที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้ คําตอบ แล้วทําการตรวจทานคําตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
  • 17. 1. จากกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์คุณคิดว่าสอดคล้องกับทฤษฎีใดจง ชี้ให้เห็นถึงความสอดคล้องดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เลือกทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง (Metacognition) เป็นมิติหนึ่งของการคิด มีคุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิด มีความสามารถในการในการควบคุมการคิดและประเมินการคิด ของตนเอง หรือกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งที่ช่วยให้แต่ละคนควบคุมกํากับกระบวนการทางปัญญา ของตนได้เมตาคอกนิชันจึงเป็นองค์ประกอบสําคัญของการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานการณ์ปัญหาที่ 5
  • 18. 2. คุณจะนําหลักการดังกล่าวไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงอย่างไร อธิบายเชิง หลักการ ทฤษฎี พร้อมทั้งผลที่มีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไรบ้าง เมื่อครูผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิด กระบวนการคิด เพื่อใช้ในการกําหนดปัญหา หาวิธีการ แก้ปัญหาอย่างหลากหลายจึงควรต้องพัฒนาเมตาคอกนิชัน ในการพัฒนาเมตาคอกนิชันจะต้อง มีการ เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมหรือความรู้เท่าที่มีอยู่ เลือกยุทธวิธีการคิดอย่างพิถีพิถันรอบครอบ วางแผน กํากับหรือตรวจสอบและประเมินกระบวนการคิด ซึ่งในการพัฒนาเมตาคอกนิชันหรือการพัฒนาพฤติกรรม การควบคุมและประเมินการคิดพอแบ่งได้เป็นขั้นตอน ดังนี้ 1. ระบุว่าเรารู้อะไรไม่รู้อะไรโดยการฝึกเขียนให้ชัดเจน 2. อภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการคิดของตน 3. บันทึกวิธีคิด ข้อควรระวัง ความยากลําบาก 4. วางแผนกํากับการเรียนด้วยตนเอง 5. สรุปกระบวนการคิดเมื่อทํากิจกรรมเสร็จ 6. ประเมินผลการคิดของตนเอง สถานการณ์ปัญหาที่ 5
  • 19. Thank you! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th