SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ชื่อเรื่อง       การศึกษาวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน
(Learning Style) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
           โรงเรียนชานุมานวิทยาคม ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ผูศึกษา
  ้              นางสาวจินตหรา อ่อนโยน
                                    บทคั ด ย่ อ
       วิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นปัจจัยสำาคัญที่ส่งผล
ให้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูให้บรรลุเป้าหมาย เพราะวิธี
การเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ในการจัดการ
เรียนรู้ก็ย่อมแตกต่าง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อผู้เรียน ดังนั้นเพื่อให้ทราบ
วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอนจึงต้องศึกษาวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
แล้วนำาข้อมูลที่ได้มาวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลาก
หลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนใน
แต่ละห้องเรียน เพื่อนำาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ หรือมอบหมายภาระงานให้ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตามแนวทางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ในการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ๑) เพื่อวิเคราะห์วิธีการเรียน
รู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้
เหมาะกับลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ๓) เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอน วิชา
ชีววิทยาพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จำานวน ๑๑๕ คน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิง
สำารวจ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้
(Learning Style) ผลการศึกษาพบว่านักเรียน มีวิธีการเรียนรู้หรือลีลา
การเรียนรู้ต่างกัน โดยส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรม จำานวน
๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๔๓ รองลงมาคือ นักวิเคราะห์ จำานวน ๓๓
คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๔ นักปฏิบัติ จำานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ
๒๗.๘๒ และนักทฤษฎีจำานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๐๔
         ดังนั้นครูผู้สอนจึงจำาเป็นต้องวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้มีความหลากหลายเพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนแต่ละคนในห้องเรียน ซึ่งจะทำาให้ผู้เรียนมีความสุข และเกิดการ
เรียนรู้อย่างยั่งยืน




๑ . แนวคิ ด และเหตุ ผ ล
      การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น สำา คั ญ ตามพระราช
บัญ ญัติ การศึ กษาแห่ งชาติพุ ทธศัก ราช ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒                       กล่ าวว่ า
หลักการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำา คัญที่สุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้ องส่งเสริ ม ให้ ผู้เ รีย นสามารถพัฒ นาตามธรรมชาติ และ
เต็มตามศักยภาพ ดังนั้นครูผู้สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจในเทคนิค และ
วิธีการที่สำาคัญและจำาเป็นและสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม หลัก
การที่ สำา คัญ คือ กระบวนการเรี ยนรู้ จะเกิด ขึ้น ได้ดี ถ้ าผู้ เ รี ย นมี โอกาสคิ ด
ปฏิบัติ สร้างสรรค์ โดยที่ครูช่วยจัดบรรยากาศการเรียนรู้ จัดสื่อและสรุป
สาระการเรียนรู้ร่วมกันโดยคำา นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน
ความสามารถ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ความพร้อมของร่างกาย จิตใจ
และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อ
เนื่อง วิธีการเรียนรู้ (Le arning S tyle ) ของผู้เรียน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่ ง
ผลให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เพราะวิธี
การเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียนจะมีความหลากหลายไม่ซำ้า กัน
นั ก เรี ย นบางคนชอบเรี ย นด้ ว ยการฟั ง บางคนชอบเรี ย นด้ ว ยการ
เคลื่อนไหวร่างกายต้องปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้เป็นผลมาจากกระบวนการ
ทำา งานร่ ว มกั น ระหว่ า งสมองกั บ ร่ า งกาย หรื อ จิ ต ใจมนุ ษ ย์ หรื อ วิ ธี ก าร
เรียนรู้ที่แตกต่างกันของบุคคลจะเรียนรู้ได้ดี ถ้ากิจกรรมหรือกระบวนการ
ที่จัดให้สอดคล้องกับวิธีที่เขาเรียนได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือกิจกรรม
วิ ธี ส อนถู ก กั บ จริ ต ของผู้ เ รี ย น(หน่ ว ยศึ ก ษานิ เ ทศก์ กรมสามั ญ ศึ ก ษา
๒๕๔๓:๑๕)
         หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษาได้กล่ าวถึ งวิธีการเรี ยนรู้ของ
บุ ค คล จำา แนกได้ เ ป็ น ๔ แบบคื อ นั ก เรี ย นที่ มี วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ ห รื อ ลี ล าการ
เรียนรู้แบบนักกิจกรรม นักวิเคราะห์ นักทฤษฎีและนักปฏิบัติ โดยวิธีการ
เรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ทั้ง ๔ แบบ จะมีวิธีการเรียนรู้ที่ต่างกัน ดังนั้น
วิธีการสอนของครูก็ควรจะจัดให้มีความสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้
เรี ย นซึ่ ง จะทำา ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ค้ น พบศั ก ยภาพของตนเอง และสามารถ
พัฒนาการเรียนรู้ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะของวิธีการเรียน
รู้หรือลีลาการเรียนรู้ และรูปแบบการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้หรือ
ลีลาการเรียนรู้
         การศึกษาวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน จะช่วยให้สามารถจัดการเรียน
การสอนได้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ดีและช่วยส่งเสริม
ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขใน
เรียนรู้
๒. วั ต ถุ ป ระสงค์
      ๑. เพื่อวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน
      ๒. เพื่อนำาผลการวิเคราะห์ผู้เรียนมาเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการ
      วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
      ๓. เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนวิชาชีววิทยาพื้นฐาน




                                           -๒-
๓. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การวิ จ ั ย

     ๓.๑ กลุ่มเป้าหมาย ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนชานุมานวิทยาคม อำาเภอชานุมาน จังหวัด
อำานาจเจริญ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำานวน ๑๑๕ คน
        กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำานวน ๑๑๕
คน
    ๓.๒ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม การวิจัยครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์ลีลาหรือวิธีการ
    เรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้แบบสำารวจ
ตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้จำานวน ๓๒ ข้อ
๓.๓ เครื่องมือที่ใช้
           ๑) แบบสำารวจตนเองในการเรียนรู้ หมายถึง แบบสำารวจวิธี
      การเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้
(Le arning S tyle ) ของผู้เรียน โดยแต่ละคนทำาเครื่องหมาย ย ลงในช่อง
คำาตอบที่ตรงกับวิธีการเรียนของตนเองในแต่ละข้อ ปรับปรุงและพัฒนา
มาจากแบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ใช้วิเคราะห์ผู้เรียน) ตามเอกสาร
ประกอบการบรรยายโครงการเส้นทางสู่ครูพันธุ์ใหม่ โดยวิทยากร อ.ศรี
ลักษณ์ ผลวัฒนะ จำานวน ๓๒ ข้อ
           ๒) แบบสรุปผลการสำารวจตนเองในการเรียนรู้ หมายถึงแบบ
      การคิดคะแนน และแปลความหมาย
โดยคะแนนมี ๒ ระดับ ขึนอยู่กับการกาเครื่องหมาย ย ในแต่ละข้อ คือ
                            ้
                   ถ้ากา า     ในช่อง   “ใช่ ”          ให้  ๑
      คะแนน ,
                   ถ้ากา า      ในช่อง “ไม่ใช่ “        ให้ ๐
            คะแนน
     ๓.๔ การวิเคราะห์ และแปลความหมาย โดยให้นักเรียนแต่ละคน
ตรวจสอบเครื่องหมาย ย ที่กา ใน แต่ละข้อ แล้วรวมคะแนนลักษณะการ
เรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้ในแบบใดสูง
แสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูง
รองลงมาแสดงว่าผู้เรียนมียุธทวิธีการเรียนรู้ในแบบนั้น ๆ รองลงมาโดย
เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน
    ๓.๕ รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึงวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ ๔
แบบ ดังนี้
           ๑) วิธีเรียนรู้แบบนักทฤษฎี
           ๒) วิธีเรียนรู้แบบนักวิเคราะห์
           ๓) วิธีเรียนรู้แบบนักกิจกรรม
           ๔) วิธีเรียนรู้แบบนักปฏิบัติ




                                                           -๓-

       ๑ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ฤ ษ ฎ ี มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี ก า ร
เรี ย น ร ู ้ ด ั ง น ี ้

                                                      วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ฤ ษ ฎ ี


  คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้                    ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำ า ห ร ั บ
                       เร ี ย น                                                  ผู้เรียน
 ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก          ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก
                      ทฤษฎี                                                       ทฤษฎี
 ชอบที่จะพลิกอ่านหนังสือ                                    สาธิตการทำางาน สร้างแบบ
หรือวารสาร                                           จำาลอง
   ทั้งเล่ม แต่จะสนใจเป็นพิเศษ                        ผลงานชิ้นที่สมบูรณ์ ได้
ในส่วนที่เป็น                                        มาตรฐานเป็น
    รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี                                 ตัวอย่างให้ผู้เรียนศึกษา
 เรียนรู้การทำางานต่าง ๆ                             ใช้สื่อประเภทบัญชีรายการ
โดยวิธีสังเกต                                        แผนผัง
    การสร้างแบบจำาลองแล้ว                               รูปภาพ ภาพยนตร์ แผนผัง
สรุปเป็นหลักการ                                      ความคิด วัตถุจริง
 ชอบดูดภาพยนตร์ หรือวิดี                             เปิดโอกาสให้เขียนภาพ
ทัศน์ที่เป็น                                         แผนผัง รูปแบบ
    กรณีศึกษาที่สนับสนุน                                ของกราฟต่าง ๆ ที่เป็นตัวแทน
สมมุติฐาน                                            ของปัญหา
 ชอบอ่านนิทานประกอบ                                    ความคิดหรือมโนทัศน์
ธรรมะ เพราะ
   เป็นการพิสูจน์หลักธรรมนั้น                         มีแบบฝึกเป็นแบบอย่าง เพื่อ
ๆ                                                    ให้สามารถ
 ชอบอ่านนิทานในพระ                                    สร้างภาพรวมสถานการณ์ได้
ไตรปิฎก คัมภีร์
   เพราะเป็นเรื่องที่เกิดจริงและ                      เมื่อนำาเสนอมโนทัศน์ ศัพท์
เน้นถึง                                              เทคนิคใหม่ ๆ
   หลักธรรมนั้น ๆ ได้ชัดเจน                            ต้องให้ตัวอย่างที่มีส่วน
                                                     สัมพันธ์กับจินตนาการ
 ชอบชมภาพวาดที่กำาหนด                                 และการเปรียบเทียบ
ยุคสมัยประกอบ
   ไว้ชัดเจน                                          จัดหนังสือ วารสารประเภท
                                                     นิทาน สารคดี
 ชอบอ่านบทความที่แสดง                                 พระไตรปิฎก ฯลฯ ที่เป็นกรณี
ข้อมูลหลักฐาน                                        ศึกษาไว้ให้
   เชิงทฤษฎี                                            ก่อนค้นคว้า
 ชอบสาธิตงานต่าง ๆ ใน
ลักษณะงานต้นแบบ
   จำาลอง




                                                     -๔-
    ๒ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ว ิ เ ค ร า ะ ห ์       มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี
การเรียนรู้ดังนี้

                           วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ว ิ เ ค ร า ะ ห ์
คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น                   ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น
                                                                  ส ำา ห ร ั บ ผ ู ้ เ ร ี ย น
ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก   ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก
                   วิ เ ค ร า ะ ห ์                                     วิเคราะ ห์
 เรียนรู้ข้อมูลใหม่โดยการดู                          เขียนคำาชี้แจงสำาหรับงานที่
สังเกต อ่าน                                          มอบหมาย
 ชอบอ่านหนังสือ หรือ                                 หรือในข้อสอบ
วารสารทั้งเพื่อ
   ความเพลิดเพลินและเพื่อหา                           ใช้สื่อที่มองเห็นหรืออ่านได้
ข้อมูล                                               เช่นวิดีทัศน์
 มีความสุขกับการได้ดู                                  เอกสารประกอบการสอน บท
โทรทัศน์เกี่ยวกับ                                    สรุปบันทึก
   สารคดี หรือดูภาพยนตร์ที่                             การบรรยาย อภิธานศัพท์
นำาเสนอข้อมูล                                        นิยาม คำาศัพท์
   ที่เป็นภาพและภาษาผสม                                 ใหม่ แผนผัง แผนภูมิ กราฟ
ผสานกันไป                                            ที่มีคำาอธิบาย
 อ่านหนังสือพิมพ์หรือ                                มีกิจกรรม การอ่าน การ
วารสารสมำ่าเสมอ                                      อภิปราย
 ชอบฟังการบรรยาย การ                                   การแสดงความคิดเห็น
อภิปรายและ
   อ่านข้อเขียนต่าง ๆ ของผู้ที่
มีความเชี่ยวชาญ
   ในสาขาต่าง ๆ
 ชอบที่จะทำาความเข้าใจ
โดยพิจารณาจาก
   คำาชี้แจงหรือศึกษาแผนผัง
ประกอบ
 รู้ สึ ก ห งุ ด ห งิ ด ห า ก ผู้ ส อ น
เพียงแต่ใช้คำาพูด
   อธิบายเกี่ยวกับงานที่มอบ
หมาย หรือ
   แบบทดสอบ แทนที่จะ
เขียนคำาชี้แจงบน
   กระดาษหรือในใบงาน
 เขียนบันทึกระหว่างการ
บรรยายหรือการ
   อภิปรายในห้องเรียน
สำาหรับการทบทวน
 จั ด ทำา ร า ย ก า ร กิ จ ก ร ร ม
ประจำาวันอย่าง
   สมำ่าเสมอ
-๕-
     ๓ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ก ิ จ ก ร ร ม มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี
 การเรียนรู้ดังนี้

                                  วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ก ิ จ ก ร ร ม


  คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้                   ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำ า ห ร ั บ
                       เร ี ย น                                                 ผู้เรียน
 ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก         ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก
                    กิจกรรม                                                    กิ จ ก ร ร ม
 เรียนรู้ข้อมูลใหม่ โดยการฟัง                             ใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้
ท่องจำา หรือ                                              โดยการบรรยาย
   อภิปรายกับผู้อื่น                                         อภิปรายในชั้นเรียน ทำา
                                                          กิจกรรมกลุ่มเล็ก ๆ
 ชอบอยู่ในกลุ่มคน พูดคุย                                    ดูภาพยนตร์ ฟัง
อภิปราย แลก-                                              แถบบันทึกเสียง
  เปลี่ยนข้อคิดเห็น                                        ใช้วิธีการพูดชี้แจงในการ
                                                          มอบหมายภาระงาน
 มีความสนุกสนานกับการ                                       ต่าง ๆ
ทำางานกับเพื่อน
   และกลุ่มย่อย                                            ใช้วิธีการพูดอธิบายสื่อ
                                                          ประเภทแผนผัง
 ชอบที่จะให้ผู้อื่นอธิบายวิธี                               แผนภูมิ กราฟ ตาราง เวลา
การสร้างหรือ                                              และรูปภาพ
    การใช้สิ่งต่าง ๆ มากกว่าการ                            ให้ระดมพลังสมอง พูดแสดง
อ่านคำาชี้แจง                                             ความคิดเห็น
    คำาอธิบาย หรือการอ่าน                                    กับเพื่อน ๆ ในห้องเรียนก่อน
แผนผัง                                                    กิจกรรมการ
 รู้สึกหงุดหงิดหากผู้สอนเขียน                               อ่านหรือการเขียน
งานมอบหมาย
    หรือคำาชี้แจง วิธีทำาข้อสอบ                            จัดอภิปรายกลุ่มย่อยและ
บนกระดานหรือ                                              กิจกรรมแก้ไขปัญหา
    ใบงาน โดยไม่มีการอธิบาย                                ให้โอกาสในการถามและ
ประกอบ                                                    แลกเปลี่ยน
 อาสาที่จะตอบคำาถามใน                                        ความคิดเห็นในระหว่างการ
ห้องเรียน พูด                                             บรรยายในชั้น
    เชื่อมโยงองค์ประกอบ                                    พูดสรุปประเด็นสำาคัญต่าง ๆ
ตัวอย่างและ                                               หลังจากการ
    กระบวนการที่กำาลังเรียน                                   บรรยายหรือมอบหมายงาน
อยู(พูดปากเปล่า)
     ่                                                    ให้อ่าน
 นิยมที่จะฟังผู้ชำานาญการ                                 เปิดโอกาสให้รายงานผลงาน
บรรยายมากกว่า                                             ของตนและ
    การอ่านจากบทความหรือ                                   รับฟังรายงานจากเพื่อน ๆ
แบบเรียน
 ไม่พยายามอ่านบทเรียน
เรื่องราวอย่าง
ละเอียดลออ แต่ตั้งความหวัง
ว่าจะมีการ
   ขยายความหรือสร้างความ
ประจ่างจากการ
   บรรยายหรือการอภิปราย
 สามารถจำาชื่อคำากลอนในบท
แสดงได้ดี




                                                           -๖-
     ๔ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ป ฏ ิ บ ั ต ิ มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี
 การเรียนรู้ดังนี้

                                   วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ป ฏ ิ บ ั ต ิ


                                                            ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำา ห ร ั บ
  คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้                                   ผู ้ เ ร ี ย น
                       เรี ย น
 ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก           ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก
                      ปฏิบัติ                                                      ปฏิบัติ
 เรียนรู้ข้อมูลใหม่โดยการ                                  จัดกิจกรรมที่กระตุ้นการเรียน
ลงมือปฏิบัติ                                               รู้ โดยได้ลงมือ
 มีความสุขกับการทำางานด้วย                                     ปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่น
มือ
 ความถนัดในเชิงช่าง มีทักษะ                                จัดให้มีส่วนร่วมในการแสดง
ในการซ่อม                                                  บทบาทสมมุติ
   บำารุง ประกอบสิ่งต่าง ๆ โดย                                และกิจกรรมสถานการณ์
ไม่ต้องอาศัย                                               จำาลอง
   คำาชี้แจง                                                จัดกิจกรรมการเรียนที่เกี่ยว
                                                           กับการประกอบ
 ใส่ใจเป็นพิเศษเมื่อได้ทำางาน                                สิ่งของ วัตถุ และสร้างแบบ
โครงการหรือ                                                จำาลอง
  กิจกรรมที่มีการฝึกปฏิบัติ                                 ให้มีการวาดรูป ขีดเส้นใต้
                                                           สร้างจุดเด่นบน
 จะรู้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องฟัง                                 ข้อความสำาคัญของบันทึก
การบรรยาย                                                  หรือบทอ่านที่
  การรายงานหรืออภิปรายนาน                                      มอบหมาย
ๆ
 ชอบห้องเรียนที่มีกิจกรรม                                  จัดให้มีการฝึกงานในสถาน
หลากหลาย                                                   ประกอบการ
 มีความสุขกับการได้ร่วมมือ                                 จัดให้มีการฝึกงานในสถาน
ทำางานกับเพื่อน                                     ประกอบการ
   กลุ่มเล็ก                                         มอบหมายให้ทำางานกับเพื่อน
                                                    เป็นกลุ่มเล็ก ๆ




                                                   -๗-
      ๓ .๖ เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ท ี ่ ใ ช ้ ใ น ก า ร เ ก ็ บ ข ้ อ ม ู ล
               ๑. แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้
               ๒. แบบสรุป แปลความ และคิดคะแนนการสำารวจวิธีการเรียนรู้
      ๓ .๗ ก า ร แ ป ล ค ว า ม
           การคิดคะแนน และแปลความหมาย
             คำาชี้แจง คะแนนมี ๒ ระดับ ขึ้นอยู่กับการการเครื่องหมาย
          ในแต่ละข้อ คือ
                    ถ้ากา     ในช่อง    “ใช่ ”           ให้  ๑
      คะแนน ,
                    ถ้ากา      ในช่อง “ไม่ใช่ “          ให้ ๐
             คะแนน
             นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบเครื่องหมาย       ที่กาในแต่ละข้อ
 แล้วรวมคะแนนลักษณะ
      การเรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้แบบใด
 สูงแสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและ
      ยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูงรองลงมา แสดงว่าผู้
 เรียนมียุทธวิธีการเรียนในแบบ
      นั้น ๆ รองลงมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน
       นักวิเคราะห์               นักทฤษฎี                นักกิจกรรม          นักปฏิบัติ
       ข้อที่  ได้              ข้อที่  ได้              ข้อที่  ได้       ข้อที่    ได้
              คะแน                     คะแน                     คะแน              คะแนน
               น                        น                         น
        ๒                        ๔                        ๑                 ๓
        ๖                        ๗                        ๕                ๘
       ๑๐                       ๑๔                        ๙                ๑๑
       ๑๖                       ๑๗                       ๑๒                ๑๓
       ๒๑                       ๑๙                       ๑๕                ๒๐
       ๒๔                       ๒๒                       ๑๘                ๒๕
       ๓๐                       ๒๖                       ๒๓                ๒๘
๓๒           ๒๙             ๒๗                 ๓๑
         รวม          รวม            รวม                รวม
                 สรุปวิธีการเรียนรู้ของฉันคือ
                 อันดับที่ ๑……………………… … …     … ….
                 อันดับที่ ๒…………………… … … .  … … …
                 อันดับที่ ๓……………………… … …     … ….
                 อันดับที่ ๔…………………… … … .  … … …




                                   -๘-
๔ . ประโยชน์ที่เกิดจากก ารวิจัย
      ๑. ผู้เรียนมีความเข้าใจวิธีการเรียนรู้ (Learning Style ) ของ
      ตนเอง
      ๒. ครูสามารถจัดกิจกรรมการสอนได้สอดคล้องกับความสนใจและ
      ความถนัดของผู้เรียน
      ๓. ครูได้ทดลองจัดกิจกรรมการสอนเพื่อเร่งเร้า กระตุ้นศักยภาพ
      ของผู้เรียน
      ๔. ครูได้ศึกษาถึงพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนวิชาชีววิทยา
      พื้นฐาน ของนักเรียนเป็นรายบุคคล
      ๕. ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์เผยแพร่แก่เพื่อนครู เป็นแนวทางในการ
      พัฒนาพฤติกรรมด้านต่าง ๆ
๕ . ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
     ๕.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล
     จากการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๔.๔ – ๔.๖ โดยใช้แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ,
๒๕๕๓ ) พบว่านักเรียนมีวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ดังตารางที่ ๑-๓
ตารางที่ ๑ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๔ ราย
บุคคล
ลำาดับ
  ที่            ชื่อ - สกุล         วิธีการเรียนรู้      หมายเหตุ
   ๑      นายภานุพงษ์ บัวป่า         นักวิเคราะห์
  ๒       นายวัชรพงษ์ หาเพชร         นักวิเคราะห์
  ๓       นายอนุชิต พรมโคตร            นักปฎิบัติ
  ๔       นายฤทธิชัย ปลูกจิตร         นักกิจกรรม
          นายเกียติศักดิ์ มูลนาง
  ๕       เดียว                          นักวิเคราะห์
  ๖       นายณรงค์ศักดิ์ โพวันส์          นักทฤษฏี
  ๗       นายธีรภัทร กุลจันทร์สี         นักวิเคราะห์
  ๘       นายพรชัย คำาหล่อ               นักกิจกรรม
  ๙       นายภาสุ บุญทาป                 นักวิเคราะห์
๑๐      นายวาที ทองมาก               นักกิจกรรม
 ๑๑      นายวุฒิไกร กล่อมใจ           นักวิเคราะห์
 ๑๒      นายวุฒิชัย จันทร์อิน          นักปฎิบัติ
 ๑๓      นายณัฐนันท์ สอนสั่ง          นักกิจกรรม
 ๑๔      นายแสงสุรีย์ ผิวเหลือง        นักทฤษฏี
         นายอธิวัฒน์ ลาหลาย
 ๑๕      เลิศ                        นักวิเคราะห์
 ๑๖      นายอาวุธ ประชุมเหล็ก         นักกิจกรรม
                                  -๙–
ตารางที่ ๑ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๔ ราย
บุคคล (ต่อ)
ลำาดับ
  ที่           ชื่อ - สกุล           วิธีการเรียนรู้   หมายเหตุ
         นางสาวนิฐิกุล พรม
 ๑๗      ประดิษฐ์                     นักกิจกรรม
 ๑๘      นางสาววาสิฐี แก้วทอง          นักทฤษฏี
         นางสาวนัฐกาน อินธิ
 ๑๙      พันธ์                        นักวิเคราะห์
         นางสาวพะยอม แสวง
 ๒๐      นาม                          นักกิจกรรม
 ๒๑      นางสาวกัลยา กุมภ์แก้ว         นักปฎิบัติ
         นางสาวกิติยา จันทร์
 ๒๒      อินทร์                       นักวิเคราะห์
         นางสาวกิติยา สาย
 ๒๓      สมุทร                        นักวิเคราะห์
 ๒๔      นางสาวจตุพร ชาวไทย           นักกิจกรรม
         นางสาวเจนจิรา วงศ์
 ๒๕      ธรรมมา                         นักทฤษฏี
         นางสาวชรินรัตน์ โคตร
 ๒๖      อ่อน                         นักวิเคราะห์
         นางสาวดวงฤทัย จันทร์
 ๒๗      อินทร์                        นักปฎิบัติ
 ๒๘      นางสาวนารี ทองแก้ว           นักวิเคราะห์
         นางสาวพวงแข คำา
 ๒๙      จำาปา                         นักทฤษฏี
 ๓๐      นางสาวมิลตรา ชินดา            นักทฤษฏี
 ๓๑      นางสาวรุ่งนภา นามดี          นักกิจกรรม
         นางสาวลัดดาวัลย์ บุญ
 ๓๒      ทาป                            นักทฤษฏี
         นางสาวสุวิมล ประชุม
 ๓๓      เหล็ก                        นักกิจกรรม
         นางสาวอภิญญา เบญจ
 ๓๔      กุล                            นักทฤษฏี
๓๕      นางสาวอมรรัตน์ ยังดี         นักวิเคราะห์
         นางสาวอุลัยวรรณ
 ๓๖      บุตรลา                       นักวิเคราะห์
         นางสาวพัชรินทร์ยา
 ๓๗      บัวบาน                       นักวิเคราะห์



                                 -๙–
                                - ๑๐ –
ตารางที่ ๒ สรุปวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๕ ราย
บุคคล
ลำาดับ
  ที่           ชื่อ - สกุล          วิธีการเรียนรู้    หมายเหตุ
   ๑     นายภานุเดช ทองมาก            นักกิจกรรม
  ๒      นายวิทยา รักษ์มณี           นักวิเคราะห์
  ๓      นายวุฒิชัย สายหล้า            นักปฎิบัติ
  ๔      นายอนันท์ เสียงหวาน          นักกิจกรรม
  ๕      นายเอกวิทย์ ลุสมบัติ          นักปฎิบัติ
   ๖     นายธราชิต ถิ่นระหา            นักปฎิบัติ
         นายสุทธิเชษฐ์ สุวะ
  ๗      มาตย์                        นักกิจกรรม
  ๘      นายอนุชิต นาทอน               นักปฎิบัติ
  ๙      นายอวิรุทธ์ อุทโท             นักปฎิบัติ
         นายเกียรติศักดิ์ งาม
 ๑๐      แสน                          นักกิจกรรม
 ๑๑      นายเรวัฒน์ บุญทาบ            นักวิเคราะห์
 ๑๒      นายจินตนา มนทีสุต             นักปฎิบัติ
 ๑๓      นายณัฐพล สีวะสา              นักกิจกรรม
         นายปราโมทย์ แสง
 ๑๔      นันท์                         นักปฎิบัติ
 ๑๕      นายพรรธวัช พวงน้อย           นักวิเคราะห์
 ๑๖      นายพีระพงศ์ ถาพร              นักทฤษฎี
         นายภาณุพงศ์ พระ
 ๑๗      โรจน์                        นักวิเคราะห์
 ๑๘      นายสิทธิโชค โพธิ์เมือง        นักปฎิบัติ
 ๑๙      นายสิทธิโชค ห่อดี             นักทฤษฎี
๒๐      นายสิทธิชัย ลูกแก้ว            นักวิเคราะห์
 ๒๑      นายอภิรมย์ แสงนันท์             นักทฤษฎี
 ๒๒      นายอรรฐชัย บุระวงค์             นักปฎิบัติ
 ๒๓      นายอัสดง คำาพุฒธา              นักวิเคราะห์
 ๒๔      นายอิทธิศักดิ์ ส่องแก้ว         นักปฎิบัติ
         นางสาวเฟื่องฟ้า จัน
 ๒๕      เชี่ยน                          นักกิจกรรม
                                   - ๑๑ –
ตารางที่ ๒ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๕ ราย
บุคคล (ต่อ)
ลำาดับ
  ที่           ชื่อ - สกุล            วิธีการเรียนรู้   หมายเหตุ
         นางสาวขวัญฤทัย ผิว
 ๒๖      ทอง                            นักวิเคราะห์
         นางสาวณัฐธิดา นวน
 ๒๗      เจริญ                          นักกิจกรรม
         นางสาวนาตยา จันทร์
 ๒๘      อินทร์                         นักวิเคราะห์
 ๒๙      นางสาวพัชรา เคนคูณ             นักวิเคราะห์
         นางสาวพัชรา เหนือ
 ๓๐      โชติ                           นักวิเคราะห์
 ๓๑      นางสาวรุจินันท์ ดีมาก          นักวิเคราะห์
 ๓๒      นางสาวรัชนก ใยบัว              นักกิจกรรม
         นางสาววิลัยพร ตระ
 ๓๓      ทอง                             นักปฎิบัติ
         นางสาวศุภรัตน์ เหนือ
 ๓๔      โชติ                           นักวิเคราะห์
 ๓๕      นางสาวสิริมา นามดี             นักกิจกรรม
 ๓๖      นางสาวสุดารัตน์ หลอด
         คำา                            นักกิจกรรม
 ๓๗      นางสาวสุภาณี เทียน
         ทอง                            นักกิจกรรม
 ๓๘      นางสาวหัทยา กุระ
         จินดา                          นักกิจกรรม
 ๓๙
         นางสาวอริสา สาสี               นักกิจกรรม
ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย
บุคคล
ลำาดับ
  ที่        ชื่อ - สกุล               วิธีการเรียนรู้   หมายเหตุ
   ๑   นายเสกสรรค์ สุริยัณต์             นักปฏิบัติ
  ๒ นายฤทธิ์ธรี ประโพธิ์                นักกิจกรรม
๓      นายวิลาศ อุดมดี             นักวิเคราะห์
  ๔      นายจิระวัฒน์ อิเพาว์ลัส      นักปฏิบัติ
  ๕      นายชาคริต บุญทาป             นักทฤษฏี
  ๖      นายณัชชัย บุญทาป             นักทฤษฏี
         นายพีระพัฒน์ พิมพ์
  ๗      ทอง                         นักกิจกรรม
                               - ๑๒ –
ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย
บุคคล (ต่อ)
ลำาดับ
  ที่           ชื่อ - สกุล         วิธีการเรียนรู้    หมายเหตุ
         นายภานุเดช สอน
 ๘       จันทร์                       นักปฏิบัติ
 ๙       นายภูมินทร์ บุดสุด          นักวิเคราะห์
 ๑๐      นายวิวัฒน์ มุสิกะพืช        นักวิเคราะห์
 ๑๑      นายสนธยา บุตรธิจักร          นักปฏิบัติ
 ๑๒      นายกิติพันธ์ ก้อนสิน        นักกิจกรรม
 ๑๓      นายณรงค์ฤทธิ์ ทวิลา          นักปฏิบัติ
 ๑๔      นายเนติพงษ์ คงทน            นักวิเคราะห์
         นายเนธิพงษ์
 ๑๕      พุทธรักษา                   นักวิเคราะห์
 ๑๖      นายเมที มั่นคง               นักปฏิบัติ
         นายธนะชัย โคตร
 ๑๗      อินทร์                       นักปฏิบัติ
 ๑๘      นายประดิษฐ สักขีนาดี         นักปฏิบัติ
 ๑๙      นายพัชระ พุทธรักษา          นักกิจกรรม
 ๒๐      นายมาวิน หลอดคำา             นักปฏิบัติ
 ๒๑      นายวัชร สอนนาค              นักกิจกรรม
 ๒๒      นายวีระพันธ์ เหนือโชติ       นักทฤษฏี
 ๒๓      นายศรราม ห่อดี               นักปฏิบัติ
 ๒๔      นายศรัณย์พร เคนคูณ          นักวิเคราะห์
 ๒๕      นายสุรางค์ เคนคูณ            นักปฏิบัติ
         นายอนุชา ประชุม
 ๒๖      เหล็ก                        นักปฏิบัติ
 ๒๗      นายอำาพรพล สถาวร            นักกิจกรรม
๒๘        นายกิตติศักดิ์ ชัยเทพ          นักปฏิบัติ
           นางสาวธัญญารัตน์
 ๒๙        ลองไธสง                      นักกิจกรรม
           นางสาวกนกพร คุณะ
 ๓๐        ชัย                            นักปฏิบัติ
           นางสาวกมลทิพย์ ไก
 ๓๑        ยะวินิจ                        นักปฏิบัติ
           นางสาวกันยาณี หอม
 ๓๒        ห่วง                         นักวิเคราะห์
                                   - ๑๓ –
ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย
บุคคล (ต่อ)
ลำาดับ                                                       หมายเหตุ
  ที่            ชื่อ - สกุล            วิธีการเรียนรู้
           นางสาวขนิษฐา คุณะ
 ๓๓        ชัย                           นักปฏิบัติ
 ๓๔        นางสาวนฤมล แสงพรม            นักกิจกรรม
           นางสาวสดาพร วงค์
 ๓๕        เข็ม                          นักทฤษฏี
 ๓๖
           นางสาวสุธิดา ศรีสมบัติ       นักกิจกรรม
 ๓๗        นางสาวโสดาพร นาม
           โคตร                           นักปฏิบัติ
 ๓๘        นางสาวไอละดา พรม
           โคตร                         นักกิจกรรม

ตารางที่ ๔ สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการ
เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
                 นัก        นัก          นัก
นักเรียนชั้น วิเคราะห์     ทฤษฏี      กิจกรรม นักปฏิบัติ       รวม
ม. ๔.๔          ๑๕          ๘            ๑๑       ๔            ๓๘
ม. ๔.๕           ๑๑         ๓            ๑๔      ๑๑            ๓๙
ม. ๔.๖           ๗          ๔            ๑๐      ๑๗            ๓๘
รวม               ๓๓         ๑๕         ๓๕             ๓๒      ๑๑๕
คิ ด เ ป ็ น
ร้ อ ย ล ะ      ๒ ๘ .๖ ๙   ๑ ๓ .๐ ๔   ๓ ๐ .๔ ๓    ๒ ๗ .๘ ๒   ๑ ๐ ๐ .๐ ๐

     จากตารางที่ ๔ นักเรียนส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรม
จำานวน ๓๕ คน เป็นร้อยละ ๓๐.๔๓ รองลงมาคือ นักวิเคราะห์ จำานวน
๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๔ นักปฏิบัติ จำานวน ๓๒ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๒๗.๘๒ และนักทฤษฎีจำานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๐๔
-๑๔-

       ๕ .๒ ผ ล ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ ม ู ล ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น

       จากข้อมูลการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๔ พบว่า ส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรมและนักปฏิบัติ ซึ่ง
เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีลักษณะคล้ายกัน โดยนักปฏิบัติจะชอบทำางานกลุ่ม
เล็ก ชอบค้นหาเรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้ตัว ฝึกปฏิบัติ มีกิจกรรมหลากหลาย
ใช้เวลาสั้นๆ เรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่ชอบฟังบรรยาย ส่วน
นักกิจกรรม จะชอบเป็นผู้นำา ชอบเรียนรู้จากการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
ชอบอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สนุกกับการทำางานกลุ่ม ชอบให้
ชี้แจงก่อนมอบหมายงาน จากผลการวิเคราะห์ผู้เรียนดังกล่าว ครูจึงควร
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ทดลองทำาปฏิบัติ
การจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เช่น กิจกรรมการ
ทดลอง (Lab) การทำากิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ
เป็นต้น เพื่อตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนกลุ่มใหญ่

๖ . ข้ อ เ ส น อ แ น ะ
       ๖ .๑ ข ้ อ เ ส น อ แ น ะ ท ั ่ ว ไ ป
       ในการศึกษาครั้งนี้พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จำานวน
๑๑๕ คน มีวิธีการเรียนรู้
แตกต่างกัน ดังนั้นยุทธศาสตร์ในการเรียนรู้ย่อมต่างกันไป ซึ่งจะมีผลต่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ กำากับควบคุมในระบบดูแลช่วย
เหลือนักเรียน ดังนี้
             ๑) วางแผนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน เน้นความหลากหลายให้ผู้เรียนได้เลือกวิธีที่จะศึกษาที่เหมาะสม
และสอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง จะทำาให้ผู้เรียนมีความสุขในการ
เรียนรู้ และมีความรู้ที่คงทน
             ๒) การที่ผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายจะเป็นผลดีต่อ
       การทำากิจกรรมกลุ่ม โดยครูอาจ
กำาหนดสมาชิกในกลุ่มที่มีวิธีการเรียนรู้ต่างกัน ทำาให้ผู้เรียนได้มีโอกาส
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพของตนเองจากการทำากิจกรรมร่วม
กัน
             ๓) กำาหนดกิจกรรมในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยมอบ
       บทบาทหน้าที่ให้สอดคล้องกับ
วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน จะทำาให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง
เกิดความสุขในการทำากิจกรรม และเกิดความรู้ที่คงทน
       ๖ .๒ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ส ำ า ห ร ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ น ค ร ั ้ ง ต ่ อ ไ ป
             ๑) ควรมีตัวแปรอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ความรับผิดชอบ การ
ควบคุมตนเอง การมีสมาธิ
ความคิดสร้างสรรค์ และนิสัยรักการอ่าน
             ๒) ควรวิจัยเพื่อประเมินการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และ
การสอนของตน หรือศึกษา
ผู้เรียนเป็นรายกรณี เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและแก้ปัญหา
พฤติกรรมของผู้เรียน และวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนต่อ
ไป
-๑๕-

                                      บรรณานุกรม

       เพลินพิศ สุพพัตกุล. ร า ย ง า น ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ผ ู ้ เ ร ี ย น ด ้ า น วิ ธ ี
ก า ร เ ร ี ย น ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น ช ั ้ น ม .๒ แ ล ะ ม .๔
                โร ง เ ร ี ย น ป ร ะ โ ค น ช ั ย พ ิ ท ย า ค ม . จังหวัดบุรีรัมย์ : ถ่าย
       เอกสาร, ๒๕๕๑
       สามัญศึกษา, กรม. หน่วยศึกษานิเทศก์ เขต๙. ช ุ ด ฝ ึ ก อ บ ร ม
ปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษ ณ ะ
                  ดี เก ่ ง มี ส ุ ข . จังหวัดอุดรธานี : โรงพิมพ์สมานชัย.
       ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร บ ร ร ย า ย โ ค ร ง ก า ร
เส้ น ท า ง ส ู ่ ค ร ู พ ั น ธ ุ ์ ใ ห ม ่ : ๒๕๕๓
ภาคผนวก ก
                  แบบสำ า รวจวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ และการแปลความ




                                                    -๑๗-
                        ชื่อ…………………… … … .ชั้น………………
                                       … … …             เลขที……………
                                                              ่
                                แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้
       ค ำ า ช ี ้ แ จ ง แบบสำารวจนี้มีจุดม่งหมายเพื่อช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนมีความ
       เข้าใจวิธีการเรียนรู้
               Learning Style ของผู้ เ รี ย นแต่ ล ะคน กาเครื่ อ งหมาย                            ลงใน
       ช่องคำาตอบที่ตรงกับ
               วิธีการเรียนของตนเอง
ลำา                              รายการ                                                           ใ    ไ ม่
ดับ                                                                                               ช่   ใช่
ที่
 ๑    การได้ เ ป็ น ผู้ นำา อภิ ป รายหรื อ ได้ จั ด ให้ มี ก ารอภิ ป รายจะทำา ให้ ฉั น
      เข้าใจและเรียนรู้เรื่องต่างๆได้ดีขึ้น
 ๒    ฉันรู้เรื่องราวข้อมูลต่าง ๆ โดยการอ่าน การฟัง การสังเกต หรือการ
      อภิปรายในห้องเรียน
 ๓    ฉันเรียนรู้ได้มากจากการไปฝึกงานตามสถานประกอบการ
 ๔    ฉั น เรี ย นรู้ ไ ด้ เ ร็ ว ขึ้ นในเรื่ อ งที่ มี ส มมุ ติ ฐ านและทุ ก อย่ า งเป็ น ไปตาม
      สมมุติฐานที่วางไว้
 ๕    ฉั น ชอบเข้ าร่ ว มทำา งานกั บ กลุ่ ม ทำา งานต่ า ง ๆ ที่ น่า สนใจ เช่ น กลุ่ ม
รณรงค์ต่อต้านต่อต้านยาเสพติด
 ๖    ฉั น จดบั น ทึ ก การบรรยายหรื อ การอภิ ป รายในชั้ น เรี ย นแล้ ว อ่ า น
      ทบทวนอย่างละเอียดหลายครั้ง
      ก่อนการทดสอบ
 ๗    ขณะที่ ฉั น ฟั ง การบรรยายในสร้ า งภาพในใจเพื่ อ ประกอบความ
      เข้าใจและช่วยให้ฉันให้ฉันจำาเรื่องนั้นได้
 ๘    ฉั น มี ทั ก ษะในการทำา งานมากขึ้ น ถ้ า ฉั น ได้ ล งมื อ ทำา จริ ง เช่ น การ
      ซ่อมแซมหรือประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ
๙     ฉันชอบที่จะเรียนรู้การจัดอภิปรายในห้องเรียนกับเพื่อน ๆ
๑๐    จ า ก สื่ อ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เ ช่ น ก ร า ฟ แ ผ น ภู มิ แ ผ่ น ภ า พ
      สถานการณ์ จำา ลองและบทบาทสมมุ ติ ช่ ว ยทำา ให้ ฉั น สามารถสรุ ป
      ข้อความรู้ได้ดี
๑๑    ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
๑๒    ฉันชอบที่จะเรียนรู้จากการจัดนิทรรศการ
๑๓    ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้จาการทดลอง
๑๔    ถ้าเรื่องที่เรียนมีลักษณะเน้นกฎหรือองค์ประกอบจะทำา ให้ฉันเรียนรู้
      ได้เร็วกว่าปกติ
๑๕    ถ้ า ฉั น ได้ ร่ ว มแสดงละครบทบาทสมมุ ติ ส ถานการณ์ จำา ลองฉั น จะมี
      ความสุขและเกิดการเรียนรู้
      ได้เร็วกว่าการเป็นผู้เรียนอย่างเดียว
๑๖    ฉั น ชอบที่ จ ะเรี ย นรู้ จ ากการอ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ห รื อ วารสารมากกว่ า
      การฟังการบรรยายจากคนเพียงคนเดียว
๑๗    การปฏิบัติงานใด ๆ ถ้าหากมีหลักการกำาหนดไว้ชัดเจน จะทำาให้ฉัน
      ทำางานได้รวดเร็วกว่าปกติ
๑๘    ฉันชอบเรียนจากการไปทัศนศึกษา
๑๙    ถ้ามีหลักการหรือแนวคิด กำา หนดไว้แล้ว จะทำา ให้ฉันสามารถเลื อก
      ตัดสินใจได้ได้เร็วกว่าเรื่องทั่วไป
๒๐    ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นถ้าได้ศึกษาจากแหล่งข้อมูลจริง



                                                  -๑๘-
                                   แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ต่อ)

ลำา                                           รายการ                                         ใ    ไม่
ดับ                                                                                          ช่   ใช่
 ที่
๒๑ ฉันจะเข้าใจคำาชี้แจงประกอบงานมอบหมาย หรือข้อทดสอบมากขึ้น
     หากเขียนคำาชี้แจงนั้นบนกระดานหรือเขียนกำากับบนใบงานมากกว่า
     การฟังคำาอธิบายของผู้สอน
๒๓ ฉันชอบที่จะเรียนรู้จากการเข้ากลุ่ม การเข้าร่วมกิจกรรมชุนนุม
๒๔ ฉันชอบและสามารถเกิดการเรียนรู้จากกรณีศึกษา
๒๕ ฉันจะเกิดการเรียนรู้ใหม่ ๆ ได้โดยการอ่าน หรือทำาเรื่องนั้น ๆ หลาย
     ครั้ง
๒๖ ฉันจะทำาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ดีถ้าเรื่องนั้นเป็นทฤษฎีหรือแนวคิด
๒๗ ฉั น เรี ย นรู้ ไ ด้ ดี ขึ้ น เมื่ อ ฉั น มี ส่ ว นร่ ว มในเกม หรื อ ร่ ว มแสดงใน
     สถานการณ์จำาลอง หรือทำาบทบาทสมมุติ
๒๘ ฉันจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี ถ้าเป็นผู้แสวงหาความรู้นั้นด้วยตนเอง
๒๙ เมื่อเกิดปัญหาขึ้นทุกครั้ง ฉันจะนำา หลักธรรมของศาสนามาใช้เป็ น
     แนวทางแก้ไขปัญหาเสมอ
๓๐ ทุกครั้งที่ฉันอ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือหนังสืออื่น ๆ จะทำาให้ฉัน
     ได้เกิดการเรียนรู้เรื่องใหม่เสมอ
๓๑ ฉั น มี ค ว า ม รู้ สึ ก ร่ ว ม แ ล ะ จ ด จำา เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ ม า ก ห า ก ฉั น มี
     ประสบการณ์ตรง
๓๒ ก่ อ นที่ จ ะสรุ ป หรื อ แสดงความคิ ด เห็ น ใด ๆ ฉั น ต้ อ งศึ ก ษาหาข้ อ มู ล
   เรื่องนั้น ๆ อย่างละเอียดอ่อน




                                                  -๑๙-

                                แ บ บ ส ร ุ ป แ ป ล ค ว า ม แ ล ะ ค ิ ด ค ะ แ น น แ บ บ ส ำา ร ว จ
             วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้

                           การคิดคะแน น และแปลความหมาย
             ค ำ า ช ี ้ แ จ ง คะแนนมี ๒ ระดับ ขึนอยู่กับการการเครื่องหมาย
                                                 ้
       ในแต่ละข้อ คือ
                            ถ้ากา           ในช่อง         “ใช่ ”                ให้      ๑
             คะแนน ,
                         ถ้ากา      ในช่อง “ไม่ใช่ “         ให้    ๐
                   คะแนน
                   นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบเครื่องหมาย     ที่กาในแต่ละข้อ
       แล้วรวมคะแนนลักษณะ
            การเรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้แบบใด
       สูงแสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและ
            ยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูงรองลงมา แสดงว่าผู้
       เรียนมียุทธวิธีการเรียนในแบบ
            นั้น ๆ รองลงมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน
               นักวิเคราะห์           นักทฤษฎี             นักกิจกรรม              นักปฏิบัติ
ข้อที่    ได้    ข้อที่    ได้     ข้อที่    ได้     ข้อที่     ได้
         คะแน             คะแน              คะแน              คะแนน
          น                น                 น
 ๒                ๔                 ๑                 ๓
 ๖                ๗                 ๕                 ๘
๑๐               ๑๔                 ๙                ๑๑
๑๖               ๑๗                ๑๒                ๑๓
๒๑               ๑๙                ๑๕                ๒๐
๒๔               ๒๒                ๑๘                ๒๕
๓๐               ๒๖                ๒๓                ๒๘
๓๒               ๒๙                ๒๗                ๓๑
รวม              รวม               รวม               รวม
           อันดับที่ ๑… ………………………………
                                   .
           อันดับที่ ๒… ……………………………….
           อันดับที่ ๓… ……………………………….
           อันดับที่ ๔… ………………………………
                                   .




                      ภาคผนวก ข
  ข้ อ มู ล การสำ า รวจวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ ของผู ้ เ รี ย น
รายงานการ                                  วิ เ คราะห์ ผ ู ้
เรี ย นเป็ น ราย                         บุ ค คล (CAR1) :
การศึ ก ษาวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ ห รื อ ลี ล าการเรี ย นรู ้
                 (Learning Style)
ของนั ก เรี ย นชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๔ โรงเรี ย น
               ชานุ ม านวิ ท ยาคม
               ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔




               นางสาวจิ น ตหรา อ่ อ นโยน
                  ตำ า แหน่ ง ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย
โรงเรี ย นชานุ ม านวิ ท ยาคม
สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา
                     เขต ๒๙
สำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น
                        ฐาน
             กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร
                        สารบั ญ
 บทคัดย่อ
 แนวคิดและเหตุผล
  ๑
 วัตถุประสงค์
  ๑
 วิธีดำาเนินการวิจัย
  ๒
 ประโยชน์ที่เกิดจากการวิจัย
  ๘
 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
  ๘
 ข้อเสนอแนะ
 ๑๓
 บรรณานุกรม
 ๑๔
 ภาคผนวก
        ภาคผนวก ก แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ และการแปลความ
                       ๑๖
        ภาคผนวก ข ข้อมูลการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
                    ๒๐

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ MiaPrakasani Butkhot
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

What's hot (15)

วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 

Similar to การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 

Similar to การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Commm
CommmCommm
Commm
 

การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋

  • 1. ชื่อเรื่อง การศึกษาวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Style) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนชานุมานวิทยาคม ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ผูศึกษา ้ นางสาวจินตหรา อ่อนโยน บทคั ด ย่ อ วิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นปัจจัยสำาคัญที่ส่งผล ให้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูให้บรรลุเป้าหมาย เพราะวิธี การเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ในการจัดการ เรียนรู้ก็ย่อมแตกต่าง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อผู้เรียน ดังนั้นเพื่อให้ทราบ วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอนจึงต้องศึกษาวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน แล้วนำาข้อมูลที่ได้มาวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลาก หลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนใน แต่ละห้องเรียน เพื่อนำาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ หรือมอบหมายภาระงานให้ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ตามแนวทางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ๑) เพื่อวิเคราะห์วิธีการเรียน รู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ เหมาะกับลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ๓) เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอน วิชา ชีววิทยาพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จำานวน ๑๑๕ คน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิง สำารวจ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ (Learning Style) ผลการศึกษาพบว่านักเรียน มีวิธีการเรียนรู้หรือลีลา การเรียนรู้ต่างกัน โดยส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรม จำานวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๔๓ รองลงมาคือ นักวิเคราะห์ จำานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๔ นักปฏิบัติ จำานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๘๒ และนักทฤษฎีจำานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๐๔ ดังนั้นครูผู้สอนจึงจำาเป็นต้องวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้มีความหลากหลายเพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของ ผู้เรียนแต่ละคนในห้องเรียน ซึ่งจะทำาให้ผู้เรียนมีความสุข และเกิดการ เรียนรู้อย่างยั่งยืน ๑ . แนวคิ ด และเหตุ ผ ล การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น สำา คั ญ ตามพระราช บัญ ญัติ การศึ กษาแห่ งชาติพุ ทธศัก ราช ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ กล่ าวว่ า หลักการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำา คัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้ องส่งเสริ ม ให้ ผู้เ รีย นสามารถพัฒ นาตามธรรมชาติ และ เต็มตามศักยภาพ ดังนั้นครูผู้สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจในเทคนิค และ วิธีการที่สำาคัญและจำาเป็นและสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม หลัก การที่ สำา คัญ คือ กระบวนการเรี ยนรู้ จะเกิด ขึ้น ได้ดี ถ้ าผู้ เ รี ย นมี โอกาสคิ ด
  • 2. ปฏิบัติ สร้างสรรค์ โดยที่ครูช่วยจัดบรรยากาศการเรียนรู้ จัดสื่อและสรุป สาระการเรียนรู้ร่วมกันโดยคำา นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน ความสามารถ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ความพร้อมของร่างกาย จิตใจ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อ เนื่อง วิธีการเรียนรู้ (Le arning S tyle ) ของผู้เรียน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่ ง ผลให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เพราะวิธี การเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียนจะมีความหลากหลายไม่ซำ้า กัน นั ก เรี ย นบางคนชอบเรี ย นด้ ว ยการฟั ง บางคนชอบเรี ย นด้ ว ยการ เคลื่อนไหวร่างกายต้องปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้เป็นผลมาจากกระบวนการ ทำา งานร่ ว มกั น ระหว่ า งสมองกั บ ร่ า งกาย หรื อ จิ ต ใจมนุ ษ ย์ หรื อ วิ ธี ก าร เรียนรู้ที่แตกต่างกันของบุคคลจะเรียนรู้ได้ดี ถ้ากิจกรรมหรือกระบวนการ ที่จัดให้สอดคล้องกับวิธีที่เขาเรียนได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือกิจกรรม วิ ธี ส อนถู ก กั บ จริ ต ของผู้ เ รี ย น(หน่ ว ยศึ ก ษานิ เ ทศก์ กรมสามั ญ ศึ ก ษา ๒๕๔๓:๑๕) หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษาได้กล่ าวถึ งวิธีการเรี ยนรู้ของ บุ ค คล จำา แนกได้ เ ป็ น ๔ แบบคื อ นั ก เรี ย นที่ มี วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ ห รื อ ลี ล าการ เรียนรู้แบบนักกิจกรรม นักวิเคราะห์ นักทฤษฎีและนักปฏิบัติ โดยวิธีการ เรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ทั้ง ๔ แบบ จะมีวิธีการเรียนรู้ที่ต่างกัน ดังนั้น วิธีการสอนของครูก็ควรจะจัดให้มีความสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้ เรี ย นซึ่ ง จะทำา ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ค้ น พบศั ก ยภาพของตนเอง และสามารถ พัฒนาการเรียนรู้ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะของวิธีการเรียน รู้หรือลีลาการเรียนรู้ และรูปแบบการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้หรือ ลีลาการเรียนรู้ การศึกษาวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน จะช่วยให้สามารถจัดการเรียน การสอนได้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ดีและช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขใน เรียนรู้ ๒. วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่อวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒. เพื่อนำาผลการวิเคราะห์ผู้เรียนมาเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการ วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๓. เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนวิชาชีววิทยาพื้นฐาน -๒- ๓. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การวิ จ ั ย ๓.๑ กลุ่มเป้าหมาย ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนชานุมานวิทยาคม อำาเภอชานุมาน จังหวัด อำานาจเจริญ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำานวน ๑๑๕ คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำานวน ๑๑๕ คน ๓.๒ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม การวิจัยครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์ลีลาหรือวิธีการ เรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้แบบสำารวจ ตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้จำานวน ๓๒ ข้อ
  • 3. ๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ ๑) แบบสำารวจตนเองในการเรียนรู้ หมายถึง แบบสำารวจวิธี การเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ (Le arning S tyle ) ของผู้เรียน โดยแต่ละคนทำาเครื่องหมาย ย ลงในช่อง คำาตอบที่ตรงกับวิธีการเรียนของตนเองในแต่ละข้อ ปรับปรุงและพัฒนา มาจากแบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ใช้วิเคราะห์ผู้เรียน) ตามเอกสาร ประกอบการบรรยายโครงการเส้นทางสู่ครูพันธุ์ใหม่ โดยวิทยากร อ.ศรี ลักษณ์ ผลวัฒนะ จำานวน ๓๒ ข้อ ๒) แบบสรุปผลการสำารวจตนเองในการเรียนรู้ หมายถึงแบบ การคิดคะแนน และแปลความหมาย โดยคะแนนมี ๒ ระดับ ขึนอยู่กับการกาเครื่องหมาย ย ในแต่ละข้อ คือ ้ ถ้ากา า ในช่อง “ใช่ ” ให้ ๑ คะแนน , ถ้ากา า ในช่อง “ไม่ใช่ “ ให้ ๐ คะแนน ๓.๔ การวิเคราะห์ และแปลความหมาย โดยให้นักเรียนแต่ละคน ตรวจสอบเครื่องหมาย ย ที่กา ใน แต่ละข้อ แล้วรวมคะแนนลักษณะการ เรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้ในแบบใดสูง แสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูง รองลงมาแสดงว่าผู้เรียนมียุธทวิธีการเรียนรู้ในแบบนั้น ๆ รองลงมาโดย เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน ๓.๕ รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึงวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ ๔ แบบ ดังนี้ ๑) วิธีเรียนรู้แบบนักทฤษฎี ๒) วิธีเรียนรู้แบบนักวิเคราะห์ ๓) วิธีเรียนรู้แบบนักกิจกรรม ๔) วิธีเรียนรู้แบบนักปฏิบัติ -๓- ๑ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ฤ ษ ฎ ี มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี ก า ร เรี ย น ร ู ้ ด ั ง น ี ้ วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ฤ ษ ฎ ี คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำ า ห ร ั บ เร ี ย น ผู้เรียน ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ทฤษฎี ทฤษฎี  ชอบที่จะพลิกอ่านหนังสือ  สาธิตการทำางาน สร้างแบบ
  • 4. หรือวารสาร จำาลอง ทั้งเล่ม แต่จะสนใจเป็นพิเศษ  ผลงานชิ้นที่สมบูรณ์ ได้ ในส่วนที่เป็น มาตรฐานเป็น รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี ตัวอย่างให้ผู้เรียนศึกษา  เรียนรู้การทำางานต่าง ๆ  ใช้สื่อประเภทบัญชีรายการ โดยวิธีสังเกต แผนผัง การสร้างแบบจำาลองแล้ว รูปภาพ ภาพยนตร์ แผนผัง สรุปเป็นหลักการ ความคิด วัตถุจริง  ชอบดูดภาพยนตร์ หรือวิดี  เปิดโอกาสให้เขียนภาพ ทัศน์ที่เป็น แผนผัง รูปแบบ กรณีศึกษาที่สนับสนุน ของกราฟต่าง ๆ ที่เป็นตัวแทน สมมุติฐาน ของปัญหา  ชอบอ่านนิทานประกอบ ความคิดหรือมโนทัศน์ ธรรมะ เพราะ เป็นการพิสูจน์หลักธรรมนั้น  มีแบบฝึกเป็นแบบอย่าง เพื่อ ๆ ให้สามารถ  ชอบอ่านนิทานในพระ สร้างภาพรวมสถานการณ์ได้ ไตรปิฎก คัมภีร์ เพราะเป็นเรื่องที่เกิดจริงและ  เมื่อนำาเสนอมโนทัศน์ ศัพท์ เน้นถึง เทคนิคใหม่ ๆ หลักธรรมนั้น ๆ ได้ชัดเจน ต้องให้ตัวอย่างที่มีส่วน สัมพันธ์กับจินตนาการ  ชอบชมภาพวาดที่กำาหนด และการเปรียบเทียบ ยุคสมัยประกอบ ไว้ชัดเจน  จัดหนังสือ วารสารประเภท นิทาน สารคดี  ชอบอ่านบทความที่แสดง พระไตรปิฎก ฯลฯ ที่เป็นกรณี ข้อมูลหลักฐาน ศึกษาไว้ให้ เชิงทฤษฎี ก่อนค้นคว้า  ชอบสาธิตงานต่าง ๆ ใน ลักษณะงานต้นแบบ จำาลอง -๔- ๒ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี การเรียนรู้ดังนี้ วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ว ิ เ ค ร า ะ ห ์
  • 5. คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำา ห ร ั บ ผ ู ้ เ ร ี ย น ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก วิ เ ค ร า ะ ห ์ วิเคราะ ห์  เรียนรู้ข้อมูลใหม่โดยการดู  เขียนคำาชี้แจงสำาหรับงานที่ สังเกต อ่าน มอบหมาย  ชอบอ่านหนังสือ หรือ หรือในข้อสอบ วารสารทั้งเพื่อ ความเพลิดเพลินและเพื่อหา  ใช้สื่อที่มองเห็นหรืออ่านได้ ข้อมูล เช่นวิดีทัศน์  มีความสุขกับการได้ดู เอกสารประกอบการสอน บท โทรทัศน์เกี่ยวกับ สรุปบันทึก สารคดี หรือดูภาพยนตร์ที่ การบรรยาย อภิธานศัพท์ นำาเสนอข้อมูล นิยาม คำาศัพท์ ที่เป็นภาพและภาษาผสม ใหม่ แผนผัง แผนภูมิ กราฟ ผสานกันไป ที่มีคำาอธิบาย  อ่านหนังสือพิมพ์หรือ  มีกิจกรรม การอ่าน การ วารสารสมำ่าเสมอ อภิปราย  ชอบฟังการบรรยาย การ การแสดงความคิดเห็น อภิปรายและ อ่านข้อเขียนต่าง ๆ ของผู้ที่ มีความเชี่ยวชาญ ในสาขาต่าง ๆ  ชอบที่จะทำาความเข้าใจ โดยพิจารณาจาก คำาชี้แจงหรือศึกษาแผนผัง ประกอบ  รู้ สึ ก ห งุ ด ห งิ ด ห า ก ผู้ ส อ น เพียงแต่ใช้คำาพูด อธิบายเกี่ยวกับงานที่มอบ หมาย หรือ แบบทดสอบ แทนที่จะ เขียนคำาชี้แจงบน กระดาษหรือในใบงาน  เขียนบันทึกระหว่างการ บรรยายหรือการ อภิปรายในห้องเรียน สำาหรับการทบทวน  จั ด ทำา ร า ย ก า ร กิ จ ก ร ร ม ประจำาวันอย่าง สมำ่าเสมอ
  • 6. -๕- ๓ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ก ิ จ ก ร ร ม มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี การเรียนรู้ดังนี้ วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ก ิ จ ก ร ร ม คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำ า ห ร ั บ เร ี ย น ผู้เรียน ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก กิจกรรม กิ จ ก ร ร ม  เรียนรู้ข้อมูลใหม่ โดยการฟัง  ใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้ ท่องจำา หรือ โดยการบรรยาย อภิปรายกับผู้อื่น อภิปรายในชั้นเรียน ทำา กิจกรรมกลุ่มเล็ก ๆ  ชอบอยู่ในกลุ่มคน พูดคุย ดูภาพยนตร์ ฟัง อภิปราย แลก- แถบบันทึกเสียง เปลี่ยนข้อคิดเห็น  ใช้วิธีการพูดชี้แจงในการ มอบหมายภาระงาน  มีความสนุกสนานกับการ ต่าง ๆ ทำางานกับเพื่อน และกลุ่มย่อย  ใช้วิธีการพูดอธิบายสื่อ ประเภทแผนผัง  ชอบที่จะให้ผู้อื่นอธิบายวิธี แผนภูมิ กราฟ ตาราง เวลา การสร้างหรือ และรูปภาพ การใช้สิ่งต่าง ๆ มากกว่าการ  ให้ระดมพลังสมอง พูดแสดง อ่านคำาชี้แจง ความคิดเห็น คำาอธิบาย หรือการอ่าน กับเพื่อน ๆ ในห้องเรียนก่อน แผนผัง กิจกรรมการ  รู้สึกหงุดหงิดหากผู้สอนเขียน อ่านหรือการเขียน งานมอบหมาย หรือคำาชี้แจง วิธีทำาข้อสอบ  จัดอภิปรายกลุ่มย่อยและ บนกระดานหรือ กิจกรรมแก้ไขปัญหา ใบงาน โดยไม่มีการอธิบาย  ให้โอกาสในการถามและ ประกอบ แลกเปลี่ยน  อาสาที่จะตอบคำาถามใน ความคิดเห็นในระหว่างการ ห้องเรียน พูด บรรยายในชั้น เชื่อมโยงองค์ประกอบ  พูดสรุปประเด็นสำาคัญต่าง ๆ ตัวอย่างและ หลังจากการ กระบวนการที่กำาลังเรียน บรรยายหรือมอบหมายงาน อยู(พูดปากเปล่า) ่ ให้อ่าน  นิยมที่จะฟังผู้ชำานาญการ  เปิดโอกาสให้รายงานผลงาน บรรยายมากกว่า ของตนและ การอ่านจากบทความหรือ รับฟังรายงานจากเพื่อน ๆ แบบเรียน  ไม่พยายามอ่านบทเรียน เรื่องราวอย่าง
  • 7. ละเอียดลออ แต่ตั้งความหวัง ว่าจะมีการ ขยายความหรือสร้างความ ประจ่างจากการ บรรยายหรือการอภิปราย  สามารถจำาชื่อคำากลอนในบท แสดงได้ดี -๖- ๔ ) วิ ธ ี เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ป ฏ ิ บ ั ต ิ มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ย ุ ท ธ ว ิ ธ ี การเรียนรู้ดังนี้ วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ป ฏ ิ บ ั ต ิ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร ส อ น ส ำา ห ร ั บ คุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ล ุ ่ ม ผ ู ้ ผู ้ เ ร ี ย น เรี ย น ท ี ่ มี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ที ่ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ น ั ก ปฏิบัติ ปฏิบัติ  เรียนรู้ข้อมูลใหม่โดยการ  จัดกิจกรรมที่กระตุ้นการเรียน ลงมือปฏิบัติ รู้ โดยได้ลงมือ  มีความสุขกับการทำางานด้วย ปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่น มือ  ความถนัดในเชิงช่าง มีทักษะ  จัดให้มีส่วนร่วมในการแสดง ในการซ่อม บทบาทสมมุติ บำารุง ประกอบสิ่งต่าง ๆ โดย และกิจกรรมสถานการณ์ ไม่ต้องอาศัย จำาลอง คำาชี้แจง  จัดกิจกรรมการเรียนที่เกี่ยว กับการประกอบ  ใส่ใจเป็นพิเศษเมื่อได้ทำางาน สิ่งของ วัตถุ และสร้างแบบ โครงการหรือ จำาลอง กิจกรรมที่มีการฝึกปฏิบัติ  ให้มีการวาดรูป ขีดเส้นใต้ สร้างจุดเด่นบน  จะรู้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องฟัง ข้อความสำาคัญของบันทึก การบรรยาย หรือบทอ่านที่ การรายงานหรืออภิปรายนาน มอบหมาย ๆ  ชอบห้องเรียนที่มีกิจกรรม  จัดให้มีการฝึกงานในสถาน หลากหลาย ประกอบการ  มีความสุขกับการได้ร่วมมือ  จัดให้มีการฝึกงานในสถาน
  • 8. ทำางานกับเพื่อน ประกอบการ กลุ่มเล็ก  มอบหมายให้ทำางานกับเพื่อน เป็นกลุ่มเล็ก ๆ -๗- ๓ .๖ เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ท ี ่ ใ ช ้ ใ น ก า ร เ ก ็ บ ข ้ อ ม ู ล ๑. แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ ๒. แบบสรุป แปลความ และคิดคะแนนการสำารวจวิธีการเรียนรู้ ๓ .๗ ก า ร แ ป ล ค ว า ม การคิดคะแนน และแปลความหมาย คำาชี้แจง คะแนนมี ๒ ระดับ ขึ้นอยู่กับการการเครื่องหมาย ในแต่ละข้อ คือ ถ้ากา ในช่อง “ใช่ ” ให้ ๑ คะแนน , ถ้ากา ในช่อง “ไม่ใช่ “ ให้ ๐ คะแนน นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบเครื่องหมาย ที่กาในแต่ละข้อ แล้วรวมคะแนนลักษณะ การเรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้แบบใด สูงแสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและ ยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูงรองลงมา แสดงว่าผู้ เรียนมียุทธวิธีการเรียนในแบบ นั้น ๆ รองลงมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน นักวิเคราะห์ นักทฤษฎี นักกิจกรรม นักปฏิบัติ ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ คะแน คะแน คะแน คะแนน น น น ๒ ๔ ๑ ๓ ๖ ๗ ๕ ๘ ๑๐ ๑๔ ๙ ๑๑ ๑๖ ๑๗ ๑๒ ๑๓ ๒๑ ๑๙ ๑๕ ๒๐ ๒๔ ๒๒ ๑๘ ๒๕ ๓๐ ๒๖ ๒๓ ๒๘
  • 9. ๓๒ ๒๙ ๒๗ ๓๑ รวม รวม รวม รวม สรุปวิธีการเรียนรู้ของฉันคือ อันดับที่ ๑……………………… … … … …. อันดับที่ ๒…………………… … … . … … … อันดับที่ ๓……………………… … … … …. อันดับที่ ๔…………………… … … . … … … -๘- ๔ . ประโยชน์ที่เกิดจากก ารวิจัย ๑. ผู้เรียนมีความเข้าใจวิธีการเรียนรู้ (Learning Style ) ของ ตนเอง ๒. ครูสามารถจัดกิจกรรมการสอนได้สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของผู้เรียน ๓. ครูได้ทดลองจัดกิจกรรมการสอนเพื่อเร่งเร้า กระตุ้นศักยภาพ ของผู้เรียน ๔. ครูได้ศึกษาถึงพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนวิชาชีววิทยา พื้นฐาน ของนักเรียนเป็นรายบุคคล ๕. ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์เผยแพร่แก่เพื่อนครู เป็นแนวทางในการ พัฒนาพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ๕ . ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๕.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล จากการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๔ – ๔.๖ โดยใช้แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, ๒๕๕๓ ) พบว่านักเรียนมีวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ดังตารางที่ ๑-๓ ตารางที่ ๑ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๔ ราย บุคคล ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ ๑ นายภานุพงษ์ บัวป่า นักวิเคราะห์ ๒ นายวัชรพงษ์ หาเพชร นักวิเคราะห์ ๓ นายอนุชิต พรมโคตร นักปฎิบัติ ๔ นายฤทธิชัย ปลูกจิตร นักกิจกรรม นายเกียติศักดิ์ มูลนาง ๕ เดียว นักวิเคราะห์ ๖ นายณรงค์ศักดิ์ โพวันส์ นักทฤษฏี ๗ นายธีรภัทร กุลจันทร์สี นักวิเคราะห์ ๘ นายพรชัย คำาหล่อ นักกิจกรรม ๙ นายภาสุ บุญทาป นักวิเคราะห์
  • 10. ๑๐ นายวาที ทองมาก นักกิจกรรม ๑๑ นายวุฒิไกร กล่อมใจ นักวิเคราะห์ ๑๒ นายวุฒิชัย จันทร์อิน นักปฎิบัติ ๑๓ นายณัฐนันท์ สอนสั่ง นักกิจกรรม ๑๔ นายแสงสุรีย์ ผิวเหลือง นักทฤษฏี นายอธิวัฒน์ ลาหลาย ๑๕ เลิศ นักวิเคราะห์ ๑๖ นายอาวุธ ประชุมเหล็ก นักกิจกรรม -๙– ตารางที่ ๑ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๔ ราย บุคคล (ต่อ) ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ นางสาวนิฐิกุล พรม ๑๗ ประดิษฐ์ นักกิจกรรม ๑๘ นางสาววาสิฐี แก้วทอง นักทฤษฏี นางสาวนัฐกาน อินธิ ๑๙ พันธ์ นักวิเคราะห์ นางสาวพะยอม แสวง ๒๐ นาม นักกิจกรรม ๒๑ นางสาวกัลยา กุมภ์แก้ว นักปฎิบัติ นางสาวกิติยา จันทร์ ๒๒ อินทร์ นักวิเคราะห์ นางสาวกิติยา สาย ๒๓ สมุทร นักวิเคราะห์ ๒๔ นางสาวจตุพร ชาวไทย นักกิจกรรม นางสาวเจนจิรา วงศ์ ๒๕ ธรรมมา นักทฤษฏี นางสาวชรินรัตน์ โคตร ๒๖ อ่อน นักวิเคราะห์ นางสาวดวงฤทัย จันทร์ ๒๗ อินทร์ นักปฎิบัติ ๒๘ นางสาวนารี ทองแก้ว นักวิเคราะห์ นางสาวพวงแข คำา ๒๙ จำาปา นักทฤษฏี ๓๐ นางสาวมิลตรา ชินดา นักทฤษฏี ๓๑ นางสาวรุ่งนภา นามดี นักกิจกรรม นางสาวลัดดาวัลย์ บุญ ๓๒ ทาป นักทฤษฏี นางสาวสุวิมล ประชุม ๓๓ เหล็ก นักกิจกรรม นางสาวอภิญญา เบญจ ๓๔ กุล นักทฤษฏี
  • 11. ๓๕ นางสาวอมรรัตน์ ยังดี นักวิเคราะห์ นางสาวอุลัยวรรณ ๓๖ บุตรลา นักวิเคราะห์ นางสาวพัชรินทร์ยา ๓๗ บัวบาน นักวิเคราะห์ -๙– - ๑๐ – ตารางที่ ๒ สรุปวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๕ ราย บุคคล ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ ๑ นายภานุเดช ทองมาก นักกิจกรรม ๒ นายวิทยา รักษ์มณี นักวิเคราะห์ ๓ นายวุฒิชัย สายหล้า นักปฎิบัติ ๔ นายอนันท์ เสียงหวาน นักกิจกรรม ๕ นายเอกวิทย์ ลุสมบัติ นักปฎิบัติ ๖ นายธราชิต ถิ่นระหา นักปฎิบัติ นายสุทธิเชษฐ์ สุวะ ๗ มาตย์ นักกิจกรรม ๘ นายอนุชิต นาทอน นักปฎิบัติ ๙ นายอวิรุทธ์ อุทโท นักปฎิบัติ นายเกียรติศักดิ์ งาม ๑๐ แสน นักกิจกรรม ๑๑ นายเรวัฒน์ บุญทาบ นักวิเคราะห์ ๑๒ นายจินตนา มนทีสุต นักปฎิบัติ ๑๓ นายณัฐพล สีวะสา นักกิจกรรม นายปราโมทย์ แสง ๑๔ นันท์ นักปฎิบัติ ๑๕ นายพรรธวัช พวงน้อย นักวิเคราะห์ ๑๖ นายพีระพงศ์ ถาพร นักทฤษฎี นายภาณุพงศ์ พระ ๑๗ โรจน์ นักวิเคราะห์ ๑๘ นายสิทธิโชค โพธิ์เมือง นักปฎิบัติ ๑๙ นายสิทธิโชค ห่อดี นักทฤษฎี
  • 12. ๒๐ นายสิทธิชัย ลูกแก้ว นักวิเคราะห์ ๒๑ นายอภิรมย์ แสงนันท์ นักทฤษฎี ๒๒ นายอรรฐชัย บุระวงค์ นักปฎิบัติ ๒๓ นายอัสดง คำาพุฒธา นักวิเคราะห์ ๒๔ นายอิทธิศักดิ์ ส่องแก้ว นักปฎิบัติ นางสาวเฟื่องฟ้า จัน ๒๕ เชี่ยน นักกิจกรรม - ๑๑ – ตารางที่ ๒ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๕ ราย บุคคล (ต่อ) ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ นางสาวขวัญฤทัย ผิว ๒๖ ทอง นักวิเคราะห์ นางสาวณัฐธิดา นวน ๒๗ เจริญ นักกิจกรรม นางสาวนาตยา จันทร์ ๒๘ อินทร์ นักวิเคราะห์ ๒๙ นางสาวพัชรา เคนคูณ นักวิเคราะห์ นางสาวพัชรา เหนือ ๓๐ โชติ นักวิเคราะห์ ๓๑ นางสาวรุจินันท์ ดีมาก นักวิเคราะห์ ๓๒ นางสาวรัชนก ใยบัว นักกิจกรรม นางสาววิลัยพร ตระ ๓๓ ทอง นักปฎิบัติ นางสาวศุภรัตน์ เหนือ ๓๔ โชติ นักวิเคราะห์ ๓๕ นางสาวสิริมา นามดี นักกิจกรรม ๓๖ นางสาวสุดารัตน์ หลอด คำา นักกิจกรรม ๓๗ นางสาวสุภาณี เทียน ทอง นักกิจกรรม ๓๘ นางสาวหัทยา กุระ จินดา นักกิจกรรม ๓๙ นางสาวอริสา สาสี นักกิจกรรม ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย บุคคล ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ ๑ นายเสกสรรค์ สุริยัณต์ นักปฏิบัติ ๒ นายฤทธิ์ธรี ประโพธิ์ นักกิจกรรม
  • 13. นายวิลาศ อุดมดี นักวิเคราะห์ ๔ นายจิระวัฒน์ อิเพาว์ลัส นักปฏิบัติ ๕ นายชาคริต บุญทาป นักทฤษฏี ๖ นายณัชชัย บุญทาป นักทฤษฏี นายพีระพัฒน์ พิมพ์ ๗ ทอง นักกิจกรรม - ๑๒ – ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย บุคคล (ต่อ) ลำาดับ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ หมายเหตุ นายภานุเดช สอน ๘ จันทร์ นักปฏิบัติ ๙ นายภูมินทร์ บุดสุด นักวิเคราะห์ ๑๐ นายวิวัฒน์ มุสิกะพืช นักวิเคราะห์ ๑๑ นายสนธยา บุตรธิจักร นักปฏิบัติ ๑๒ นายกิติพันธ์ ก้อนสิน นักกิจกรรม ๑๓ นายณรงค์ฤทธิ์ ทวิลา นักปฏิบัติ ๑๔ นายเนติพงษ์ คงทน นักวิเคราะห์ นายเนธิพงษ์ ๑๕ พุทธรักษา นักวิเคราะห์ ๑๖ นายเมที มั่นคง นักปฏิบัติ นายธนะชัย โคตร ๑๗ อินทร์ นักปฏิบัติ ๑๘ นายประดิษฐ สักขีนาดี นักปฏิบัติ ๑๙ นายพัชระ พุทธรักษา นักกิจกรรม ๒๐ นายมาวิน หลอดคำา นักปฏิบัติ ๒๑ นายวัชร สอนนาค นักกิจกรรม ๒๒ นายวีระพันธ์ เหนือโชติ นักทฤษฏี ๒๓ นายศรราม ห่อดี นักปฏิบัติ ๒๔ นายศรัณย์พร เคนคูณ นักวิเคราะห์ ๒๕ นายสุรางค์ เคนคูณ นักปฏิบัติ นายอนุชา ประชุม ๒๖ เหล็ก นักปฏิบัติ ๒๗ นายอำาพรพล สถาวร นักกิจกรรม
  • 14. ๒๘ นายกิตติศักดิ์ ชัยเทพ นักปฏิบัติ นางสาวธัญญารัตน์ ๒๙ ลองไธสง นักกิจกรรม นางสาวกนกพร คุณะ ๓๐ ชัย นักปฏิบัติ นางสาวกมลทิพย์ ไก ๓๑ ยะวินิจ นักปฏิบัติ นางสาวกันยาณี หอม ๓๒ ห่วง นักวิเคราะห์ - ๑๓ – ตารางที่ ๓ สรุปลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔.๖ ราย บุคคล (ต่อ) ลำาดับ หมายเหตุ ที่ ชื่อ - สกุล วิธีการเรียนรู้ นางสาวขนิษฐา คุณะ ๓๓ ชัย นักปฏิบัติ ๓๔ นางสาวนฤมล แสงพรม นักกิจกรรม นางสาวสดาพร วงค์ ๓๕ เข็ม นักทฤษฏี ๓๖ นางสาวสุธิดา ศรีสมบัติ นักกิจกรรม ๓๗ นางสาวโสดาพร นาม โคตร นักปฏิบัติ ๓๘ นางสาวไอละดา พรม โคตร นักกิจกรรม ตารางที่ ๔ สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามวิธีการเรียนรู้หรือลีลาการ เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ นัก นัก นัก นักเรียนชั้น วิเคราะห์ ทฤษฏี กิจกรรม นักปฏิบัติ รวม ม. ๔.๔ ๑๕ ๘ ๑๑ ๔ ๓๘ ม. ๔.๕ ๑๑ ๓ ๑๔ ๑๑ ๓๙ ม. ๔.๖ ๗ ๔ ๑๐ ๑๗ ๓๘ รวม ๓๓ ๑๕ ๓๕ ๓๒ ๑๑๕ คิ ด เ ป ็ น ร้ อ ย ล ะ ๒ ๘ .๖ ๙ ๑ ๓ .๐ ๔ ๓ ๐ .๔ ๓ ๒ ๗ .๘ ๒ ๑ ๐ ๐ .๐ ๐ จากตารางที่ ๔ นักเรียนส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรม จำานวน ๓๕ คน เป็นร้อยละ ๓๐.๔๓ รองลงมาคือ นักวิเคราะห์ จำานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๔ นักปฏิบัติ จำานวน ๓๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๗.๘๒ และนักทฤษฎีจำานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๐๔
  • 15. -๑๔- ๕ .๒ ผ ล ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ ม ู ล ว ิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น จากข้อมูลการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ พบว่า ส่วนใหญ่มีวิธีการเรียนรู้แบบนักกิจกรรมและนักปฏิบัติ ซึ่ง เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีลักษณะคล้ายกัน โดยนักปฏิบัติจะชอบทำางานกลุ่ม เล็ก ชอบค้นหาเรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้ตัว ฝึกปฏิบัติ มีกิจกรรมหลากหลาย ใช้เวลาสั้นๆ เรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่ชอบฟังบรรยาย ส่วน นักกิจกรรม จะชอบเป็นผู้นำา ชอบเรียนรู้จากการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ชอบอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สนุกกับการทำางานกลุ่ม ชอบให้ ชี้แจงก่อนมอบหมายงาน จากผลการวิเคราะห์ผู้เรียนดังกล่าว ครูจึงควร จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ทดลองทำาปฏิบัติ การจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เช่น กิจกรรมการ ทดลอง (Lab) การทำากิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ เป็นต้น เพื่อตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนกลุ่มใหญ่ ๖ . ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ๖ .๑ ข ้ อ เ ส น อ แ น ะ ท ั ่ ว ไ ป ในการศึกษาครั้งนี้พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จำานวน ๑๑๕ คน มีวิธีการเรียนรู้ แตกต่างกัน ดังนั้นยุทธศาสตร์ในการเรียนรู้ย่อมต่างกันไป ซึ่งจะมีผลต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ กำากับควบคุมในระบบดูแลช่วย เหลือนักเรียน ดังนี้ ๑) วางแผนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของ ผู้เรียน เน้นความหลากหลายให้ผู้เรียนได้เลือกวิธีที่จะศึกษาที่เหมาะสม และสอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง จะทำาให้ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรู้ และมีความรู้ที่คงทน ๒) การที่ผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายจะเป็นผลดีต่อ การทำากิจกรรมกลุ่ม โดยครูอาจ กำาหนดสมาชิกในกลุ่มที่มีวิธีการเรียนรู้ต่างกัน ทำาให้ผู้เรียนได้มีโอกาส ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพของตนเองจากการทำากิจกรรมร่วม กัน ๓) กำาหนดกิจกรรมในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยมอบ บทบาทหน้าที่ให้สอดคล้องกับ วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน จะทำาให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง เกิดความสุขในการทำากิจกรรม และเกิดความรู้ที่คงทน ๖ .๒ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ส ำ า ห ร ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ น ค ร ั ้ ง ต ่ อ ไ ป ๑) ควรมีตัวแปรอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ความรับผิดชอบ การ ควบคุมตนเอง การมีสมาธิ ความคิดสร้างสรรค์ และนิสัยรักการอ่าน ๒) ควรวิจัยเพื่อประเมินการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และ การสอนของตน หรือศึกษา ผู้เรียนเป็นรายกรณี เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและแก้ปัญหา พฤติกรรมของผู้เรียน และวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนต่อ ไป
  • 16. -๑๕- บรรณานุกรม เพลินพิศ สุพพัตกุล. ร า ย ง า น ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ผ ู ้ เ ร ี ย น ด ้ า น วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น ช ั ้ น ม .๒ แ ล ะ ม .๔ โร ง เ ร ี ย น ป ร ะ โ ค น ช ั ย พ ิ ท ย า ค ม . จังหวัดบุรีรัมย์ : ถ่าย เอกสาร, ๒๕๕๑ สามัญศึกษา, กรม. หน่วยศึกษานิเทศก์ เขต๙. ช ุ ด ฝ ึ ก อ บ ร ม ปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษ ณ ะ ดี เก ่ ง มี ส ุ ข . จังหวัดอุดรธานี : โรงพิมพ์สมานชัย. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร บ ร ร ย า ย โ ค ร ง ก า ร เส้ น ท า ง ส ู ่ ค ร ู พ ั น ธ ุ ์ ใ ห ม ่ : ๒๕๕๓
  • 17. ภาคผนวก ก แบบสำ า รวจวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ และการแปลความ -๑๗- ชื่อ…………………… … … .ชั้น……………… … … … เลขที…………… ่ แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ ค ำ า ช ี ้ แ จ ง แบบสำารวจนี้มีจุดม่งหมายเพื่อช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนมีความ เข้าใจวิธีการเรียนรู้ Learning Style ของผู้ เ รี ย นแต่ ล ะคน กาเครื่ อ งหมาย ลงใน ช่องคำาตอบที่ตรงกับ วิธีการเรียนของตนเอง ลำา รายการ ใ ไ ม่ ดับ ช่ ใช่ ที่ ๑ การได้ เ ป็ น ผู้ นำา อภิ ป รายหรื อ ได้ จั ด ให้ มี ก ารอภิ ป รายจะทำา ให้ ฉั น เข้าใจและเรียนรู้เรื่องต่างๆได้ดีขึ้น ๒ ฉันรู้เรื่องราวข้อมูลต่าง ๆ โดยการอ่าน การฟัง การสังเกต หรือการ อภิปรายในห้องเรียน ๓ ฉันเรียนรู้ได้มากจากการไปฝึกงานตามสถานประกอบการ ๔ ฉั น เรี ย นรู้ ไ ด้ เ ร็ ว ขึ้ นในเรื่ อ งที่ มี ส มมุ ติ ฐ านและทุ ก อย่ า งเป็ น ไปตาม สมมุติฐานที่วางไว้ ๕ ฉั น ชอบเข้ าร่ ว มทำา งานกั บ กลุ่ ม ทำา งานต่ า ง ๆ ที่ น่า สนใจ เช่ น กลุ่ ม
  • 18. รณรงค์ต่อต้านต่อต้านยาเสพติด ๖ ฉั น จดบั น ทึ ก การบรรยายหรื อ การอภิ ป รายในชั้ น เรี ย นแล้ ว อ่ า น ทบทวนอย่างละเอียดหลายครั้ง ก่อนการทดสอบ ๗ ขณะที่ ฉั น ฟั ง การบรรยายในสร้ า งภาพในใจเพื่ อ ประกอบความ เข้าใจและช่วยให้ฉันให้ฉันจำาเรื่องนั้นได้ ๘ ฉั น มี ทั ก ษะในการทำา งานมากขึ้ น ถ้ า ฉั น ได้ ล งมื อ ทำา จริ ง เช่ น การ ซ่อมแซมหรือประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ๙ ฉันชอบที่จะเรียนรู้การจัดอภิปรายในห้องเรียนกับเพื่อน ๆ ๑๐ จ า ก สื่ อ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เ ช่ น ก ร า ฟ แ ผ น ภู มิ แ ผ่ น ภ า พ สถานการณ์ จำา ลองและบทบาทสมมุ ติ ช่ ว ยทำา ให้ ฉั น สามารถสรุ ป ข้อความรู้ได้ดี ๑๑ ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง ๑๒ ฉันชอบที่จะเรียนรู้จากการจัดนิทรรศการ ๑๓ ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้จาการทดลอง ๑๔ ถ้าเรื่องที่เรียนมีลักษณะเน้นกฎหรือองค์ประกอบจะทำา ให้ฉันเรียนรู้ ได้เร็วกว่าปกติ ๑๕ ถ้ า ฉั น ได้ ร่ ว มแสดงละครบทบาทสมมุ ติ ส ถานการณ์ จำา ลองฉั น จะมี ความสุขและเกิดการเรียนรู้ ได้เร็วกว่าการเป็นผู้เรียนอย่างเดียว ๑๖ ฉั น ชอบที่ จ ะเรี ย นรู้ จ ากการอ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ห รื อ วารสารมากกว่ า การฟังการบรรยายจากคนเพียงคนเดียว ๑๗ การปฏิบัติงานใด ๆ ถ้าหากมีหลักการกำาหนดไว้ชัดเจน จะทำาให้ฉัน ทำางานได้รวดเร็วกว่าปกติ ๑๘ ฉันชอบเรียนจากการไปทัศนศึกษา ๑๙ ถ้ามีหลักการหรือแนวคิด กำา หนดไว้แล้ว จะทำา ให้ฉันสามารถเลื อก ตัดสินใจได้ได้เร็วกว่าเรื่องทั่วไป ๒๐ ฉันสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นถ้าได้ศึกษาจากแหล่งข้อมูลจริง -๑๘- แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ (ต่อ) ลำา รายการ ใ ไม่ ดับ ช่ ใช่ ที่ ๒๑ ฉันจะเข้าใจคำาชี้แจงประกอบงานมอบหมาย หรือข้อทดสอบมากขึ้น หากเขียนคำาชี้แจงนั้นบนกระดานหรือเขียนกำากับบนใบงานมากกว่า การฟังคำาอธิบายของผู้สอน ๒๓ ฉันชอบที่จะเรียนรู้จากการเข้ากลุ่ม การเข้าร่วมกิจกรรมชุนนุม ๒๔ ฉันชอบและสามารถเกิดการเรียนรู้จากกรณีศึกษา ๒๕ ฉันจะเกิดการเรียนรู้ใหม่ ๆ ได้โดยการอ่าน หรือทำาเรื่องนั้น ๆ หลาย ครั้ง ๒๖ ฉันจะทำาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ดีถ้าเรื่องนั้นเป็นทฤษฎีหรือแนวคิด ๒๗ ฉั น เรี ย นรู้ ไ ด้ ดี ขึ้ น เมื่ อ ฉั น มี ส่ ว นร่ ว มในเกม หรื อ ร่ ว มแสดงใน สถานการณ์จำาลอง หรือทำาบทบาทสมมุติ ๒๘ ฉันจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี ถ้าเป็นผู้แสวงหาความรู้นั้นด้วยตนเอง ๒๙ เมื่อเกิดปัญหาขึ้นทุกครั้ง ฉันจะนำา หลักธรรมของศาสนามาใช้เป็ น แนวทางแก้ไขปัญหาเสมอ ๓๐ ทุกครั้งที่ฉันอ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือหนังสืออื่น ๆ จะทำาให้ฉัน ได้เกิดการเรียนรู้เรื่องใหม่เสมอ ๓๑ ฉั น มี ค ว า ม รู้ สึ ก ร่ ว ม แ ล ะ จ ด จำา เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ ม า ก ห า ก ฉั น มี ประสบการณ์ตรง
  • 19. ๓๒ ก่ อ นที่ จ ะสรุ ป หรื อ แสดงความคิ ด เห็ น ใด ๆ ฉั น ต้ อ งศึ ก ษาหาข้ อ มู ล เรื่องนั้น ๆ อย่างละเอียดอ่อน -๑๙- แ บ บ ส ร ุ ป แ ป ล ค ว า ม แ ล ะ ค ิ ด ค ะ แ น น แ บ บ ส ำา ร ว จ วิ ธ ี ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ การคิดคะแน น และแปลความหมาย ค ำ า ช ี ้ แ จ ง คะแนนมี ๒ ระดับ ขึนอยู่กับการการเครื่องหมาย ้ ในแต่ละข้อ คือ ถ้ากา ในช่อง “ใช่ ” ให้ ๑ คะแนน , ถ้ากา ในช่อง “ไม่ใช่ “ ให้ ๐ คะแนน นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบเครื่องหมาย ที่กาในแต่ละข้อ แล้วรวมคะแนนลักษณะ การเรียนรู้แต่ละแบบ หากผู้เรียนมีคะแนนลักษณะการเรียนรู้แบบใด สูงแสดงว่าผู้เรียนมีทักษะและ ยุทธวิธีการเรียนรู้ตามแบบนั้น ๆ และคะแนนสูงรองลงมา แสดงว่าผู้ เรียนมียุทธวิธีการเรียนในแบบ นั้น ๆ รองลงมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคะแนนที่ได้ใกล้เคียงกัน นักวิเคราะห์ นักทฤษฎี นักกิจกรรม นักปฏิบัติ
  • 20. ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ ข้อที่ ได้ คะแน คะแน คะแน คะแนน น น น ๒ ๔ ๑ ๓ ๖ ๗ ๕ ๘ ๑๐ ๑๔ ๙ ๑๑ ๑๖ ๑๗ ๑๒ ๑๓ ๒๑ ๑๙ ๑๕ ๒๐ ๒๔ ๒๒ ๑๘ ๒๕ ๓๐ ๒๖ ๒๓ ๒๘ ๓๒ ๒๙ ๒๗ ๓๑ รวม รวม รวม รวม อันดับที่ ๑… ……………………………… . อันดับที่ ๒… ………………………………. อันดับที่ ๓… ………………………………. อันดับที่ ๔… ……………………………… . ภาคผนวก ข ข้ อ มู ล การสำ า รวจวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ ของผู ้ เ รี ย น
  • 21. รายงานการ วิ เ คราะห์ ผ ู ้ เรี ย นเป็ น ราย บุ ค คล (CAR1) : การศึ ก ษาวิ ธ ี ก ารเรี ย นรู ้ ห รื อ ลี ล าการเรี ย นรู ้ (Learning Style) ของนั ก เรี ย นชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๔ โรงเรี ย น ชานุ ม านวิ ท ยาคม ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔ นางสาวจิ น ตหรา อ่ อ นโยน ตำ า แหน่ ง ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย
  • 22. โรงเรี ย นชานุ ม านวิ ท ยาคม สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต ๒๙ สำ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร สารบั ญ บทคัดย่อ แนวคิดและเหตุผล ๑ วัตถุประสงค์ ๑ วิธีดำาเนินการวิจัย ๒ ประโยชน์ที่เกิดจากการวิจัย ๘ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๘ ข้อเสนอแนะ ๑๓ บรรณานุกรม ๑๔ ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสำารวจวิธีการเรียนรู้ และการแปลความ ๑๖ ภาคผนวก ข ข้อมูลการสำารวจวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒๐