SlideShare a Scribd company logo
Nuclear force
แรงนิวเคลียร์
โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส
ได้อย่างไร ?
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ
1. แรงโน้มถ่วง (Gravitational force)
- เป็นแรงที่กระทําระหว่างมวล
- เป็นแรงที่มีค่าน้อยที่สุดในแรงทั้ง 4
- แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะ
ทางยกกําลังสอง
- แรงโน้มถ่วงไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใด ๆ ทําให้
แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สําคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน
- อนุภาคพาหะส่งถ่ายแรงโน้มถ่วง เรียกว่า “แกรวิตอน (Graviton)”
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ)
2. แรงแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic force )
- เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
- เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคพาหะที่เรียกว่า "โฟตอน" (Photon)
- ความเข้มของแรงนี้จะลดลงเมื่อระยะห่างระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
เพิ่มขึ้น
- อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเหมือนกันจะเกิดแรงที่ผลักกัน แต่ถ้าประจุต่าง
กันจะดูดกัน
- แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีความเข้มเป็นอันดับสองรองจากแรงนิวเคลียร์
อย่างเข้ม
- แรงที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวันของเราส่วนใหญ่เป็นแรงแม่เหล็ก
ไฟฟ้า
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ)
3. แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน (Weak nuclear force )
แรงนิวเคลียร์แบบอ่อนนี้มีความสําคัญมากในการสังเคราะห์
ธาตุหนักชนิดต่าง ๆ ในดาวฤกษ์ เนื่องจากแรงนิวเคลียร์แบบอ่อน
สามารถเปลี่ยนโปรตอนให้เป็นนิวตรอน และในทางกลับกันแรงดัง
กล่าวสามารถเปลี่ยนนิวตรอนกลับไปเป็นโปรตอนได้อีกด้วย
แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนเกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคพาหะส่งถ่าย
แรง ที่เรียกว่า "เวกเตอร์โบซอน" (Vector bosons) ซึ่งได้แก่ อนุภาค
W โบซอน และอนุภาค Z โบซอน
และแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนนี้เกี่ยวข้องกับการสลายให้กัมมันตรังสี
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ)
3. แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน (Weak nuclear force )
การเปลี่ยนนิวตรอนเป็นโปรตอนจะมีการสลายให้อนุภาคบีตาออกมา
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ)
4. แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม (Strong nuclear force )
- แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่เกิดขึ้นในระยะทางที่สั้นมาก ๆ
(10-15
เมตร)
- แข็งแรงมากที่สุดในบรรดาแรงพื้นฐานทั้ง 4 แรง
- แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่ยึดเหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนใน
นิวเคลียส โดยการแลกเปลี่ยนอนุภาคชนิดหนึ่ง ไป-มา ระหว่าง
โปรตอนและนิวตรอน ซึ่งอนุภาคนั้นมีชื่อว่า เมซอน (Meson)
- ตัวอย่างเมซอน เช่น ไพออน ซึ่งประกอบด้วย ควาร์กขึ้น หรือ ค
วาร์กลง และปฏิอนุภาคอีก 1 ตัว ตัวอย่างเช่น ไพออนบวก จะ
ประกอบ ด้วยควาร์กขึ้น 1 ตัว และแอนติควาร์กลง อีก 1 ตัว รวมกัน
แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ)
4. แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม (Strong nuclear force )
อนุภาคมูลฐาน
ภาพรวมของครอบครัวต่าง ๆ ของอนุภาคมูลฐานและอนุภาคผสม และ
ทฤษฎีที่อธิบายปฏิสัมพันธ์ของพวกมัน
หน่วย atomic mass unit (u)
มวลโปรตอน (mp
) = 1.672622 x 10-27
kg = 1.007276u
มวลนิวตรอน (mn
) = 1.674927 x 10-27
kg = 1.008665u
มวลอิเล็กตรอน (me
) = 9.11 x 10-31
kg = 0.0005486u
มวลพร่อง (Mass defect : ∆m)
มวลส่วนหนึ่งที่หายไป โดยเมื่อนิวคลีออนอิสระมารวมกันเป็น
นิวเคลียส มวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่จะมีมวลน้อยกว่า ผลรวม
ของมวลนิวคลีออนอิสระก่อนรวม
เช่น นิวเคลียสของดิวเทอรอน
มวลพร่อง (Mass defect : ∆m) (ต่อ)
เช่น นิวเคลียสของฮีเลียม
มวลพร่อง (Mass defect : ∆m) (ต่อ)
ทฤษฎีสัมพัทธภาพของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding energy : BE)
นิวคลีออนในนิวเคลียสนั้น ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งทําให้
เกิดพลังงานที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว้ เรียกว่า พลังงานยึดเหนี่ยว โดย
พลังงานนี้เกิดจากมวลพร่องเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานมายึดนิวคลีออนไว้ใน
นิวเคลียสนั่นเอง
พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding energy : BE) (ต่อ)
เช่น พลังงานยึดเหนี่ยวของดิวเทอรอน
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของดิวเทอรอน
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของดิวเทอรอน เป็นค่าที่บ่งบอก
ถึงเสถียรภาพของนิวเคลียส นิวเคลียสใดมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ
นิวคลีออนสูงก็จะมีเสถียรภาพสูง
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน : BE/A
8.80 MeV
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน : BE/A
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
 
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

แรงนิวเคลียร์

  • 3. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ 1. แรงโน้มถ่วง (Gravitational force) - เป็นแรงที่กระทําระหว่างมวล - เป็นแรงที่มีค่าน้อยที่สุดในแรงทั้ง 4 - แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะ ทางยกกําลังสอง - แรงโน้มถ่วงไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใด ๆ ทําให้ แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สําคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน - อนุภาคพาหะส่งถ่ายแรงโน้มถ่วง เรียกว่า “แกรวิตอน (Graviton)”
  • 4. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ) 2. แรงแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic force ) - เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า - เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคพาหะที่เรียกว่า "โฟตอน" (Photon) - ความเข้มของแรงนี้จะลดลงเมื่อระยะห่างระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เพิ่มขึ้น - อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเหมือนกันจะเกิดแรงที่ผลักกัน แต่ถ้าประจุต่าง กันจะดูดกัน - แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีความเข้มเป็นอันดับสองรองจากแรงนิวเคลียร์ อย่างเข้ม - แรงที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวันของเราส่วนใหญ่เป็นแรงแม่เหล็ก ไฟฟ้า
  • 5. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ) 3. แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน (Weak nuclear force ) แรงนิวเคลียร์แบบอ่อนนี้มีความสําคัญมากในการสังเคราะห์ ธาตุหนักชนิดต่าง ๆ ในดาวฤกษ์ เนื่องจากแรงนิวเคลียร์แบบอ่อน สามารถเปลี่ยนโปรตอนให้เป็นนิวตรอน และในทางกลับกันแรงดัง กล่าวสามารถเปลี่ยนนิวตรอนกลับไปเป็นโปรตอนได้อีกด้วย แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนเกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคพาหะส่งถ่าย แรง ที่เรียกว่า "เวกเตอร์โบซอน" (Vector bosons) ซึ่งได้แก่ อนุภาค W โบซอน และอนุภาค Z โบซอน และแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนนี้เกี่ยวข้องกับการสลายให้กัมมันตรังสี
  • 6. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ) 3. แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน (Weak nuclear force ) การเปลี่ยนนิวตรอนเป็นโปรตอนจะมีการสลายให้อนุภาคบีตาออกมา
  • 7. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ) 4. แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม (Strong nuclear force ) - แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่เกิดขึ้นในระยะทางที่สั้นมาก ๆ (10-15 เมตร) - แข็งแรงมากที่สุดในบรรดาแรงพื้นฐานทั้ง 4 แรง - แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่ยึดเหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนใน นิวเคลียส โดยการแลกเปลี่ยนอนุภาคชนิดหนึ่ง ไป-มา ระหว่าง โปรตอนและนิวตรอน ซึ่งอนุภาคนั้นมีชื่อว่า เมซอน (Meson) - ตัวอย่างเมซอน เช่น ไพออน ซึ่งประกอบด้วย ควาร์กขึ้น หรือ ค วาร์กลง และปฏิอนุภาคอีก 1 ตัว ตัวอย่างเช่น ไพออนบวก จะ ประกอบ ด้วยควาร์กขึ้น 1 ตัว และแอนติควาร์กลง อีก 1 ตัว รวมกัน
  • 8. แรงพื้นฐาน 4 แรง ในธรรมชาติ (ต่อ) 4. แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม (Strong nuclear force )
  • 10. ภาพรวมของครอบครัวต่าง ๆ ของอนุภาคมูลฐานและอนุภาคผสม และ ทฤษฎีที่อธิบายปฏิสัมพันธ์ของพวกมัน
  • 11. หน่วย atomic mass unit (u) มวลโปรตอน (mp ) = 1.672622 x 10-27 kg = 1.007276u มวลนิวตรอน (mn ) = 1.674927 x 10-27 kg = 1.008665u มวลอิเล็กตรอน (me ) = 9.11 x 10-31 kg = 0.0005486u
  • 12. มวลพร่อง (Mass defect : ∆m) มวลส่วนหนึ่งที่หายไป โดยเมื่อนิวคลีออนอิสระมารวมกันเป็น นิวเคลียส มวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่จะมีมวลน้อยกว่า ผลรวม ของมวลนิวคลีออนอิสระก่อนรวม เช่น นิวเคลียสของดิวเทอรอน
  • 13. มวลพร่อง (Mass defect : ∆m) (ต่อ) เช่น นิวเคลียสของฮีเลียม
  • 16. พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding energy : BE) นิวคลีออนในนิวเคลียสนั้น ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งทําให้ เกิดพลังงานที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว้ เรียกว่า พลังงานยึดเหนี่ยว โดย พลังงานนี้เกิดจากมวลพร่องเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานมายึดนิวคลีออนไว้ใน นิวเคลียสนั่นเอง
  • 17. พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding energy : BE) (ต่อ) เช่น พลังงานยึดเหนี่ยวของดิวเทอรอน พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของดิวเทอรอน พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของดิวเทอรอน เป็นค่าที่บ่งบอก ถึงเสถียรภาพของนิวเคลียส นิวเคลียสใดมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออนสูงก็จะมีเสถียรภาพสูง
  • 20.
  • 21.
  • 22.