SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้ ที่ 9/1
                         เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                                  ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
          1. ความสั มพันธ์ ทกาหนดให้ เขียนเป็ นแบบแจกแจงสมาชิก วิธีการตรวจสอบสามารถทา
                            ี่
ได้โดยดูที่สมาชิกตัวหน้าว่ามีการใช้ซ้ ากันหรื อไม่
             1.1 ถ้าไม่มีการใช้ซ้ า ความสัมพันธ์น้ นจะเป็ นฟังก์ชน
                                                   ั              ั
             1.2 ถ้ามีการใช้ซ้ า ให้พิจารณาสมาชิกตัวหลังของคู่อนดับดังกล่าว ซึ่ งถ้ามีค่าเท่ากัน
                                                                    ั
                 ก็จะเป็ นฟังก์ชน แต่ถามีค่าไม่เท่ากันก็จะไม่เป็ นฟังก์ชน
                                    ั   ้                                  ั
ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                                                             ั
                     1. r1 = {(-1, 1), (3, 5), (-1, 1 ), (2, 1)}
                     2. r2 = {(2, 3), (3, 3), (5, 7), (7, 9)}
                     3. r3 = {(-3, 1), (7, 2), (-3, -1), (2, 7)}
     วิธีทา 1) r1 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่ามีคู่อนดับอยู่ 2 คู่ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน แต่
                                ั               ั
                 สมาชิกตัวหลังเท่ากันด้วย 1 = 1 จึงทาให้ r1 เป็ นฟังก์ชน          ั
             2) r2 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ไม่มีคู่อนดับตั้งแต่ 2 คู่ข้ ึนไป ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือน
                                  ั                  ั
                 กันเลย
             3) r3 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า มีคู่อนดับ 2 คู่ ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน คือ
                                      ั                ั
                 (-3, 1) และ (-3, -1) ซึ่ งสมาชิกตัวหลังต่างกัน 1  -1 ทาให้ r3 ไม่เป็ น
                 ฟังก์ชนั

       2. ความสั มพันธ์ ทกาหนดให้ เขียนแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก วิธีการตรวจสอบ ดังนี้
                          ี่
          2.1 ตรวจสอบโดยลองแทนค่าแต่ละตัวของ x ใด ๆ ที่เป็ นสมาชิกตัวหน้าของ
ความสัมพันธ์ลงในความสัมพันธ์ แล้วพิจารณา
               2.1.1 ถ้าแต่ละตัวของ x ได้ค่า y เพียงค่าเดียวสรุ ปได้วาความสัมพันธ์น้ น
                                                                       ่             ั
                     เป็ นฟังก์ชน
                                ั
               2.1.2 ถ้ามี x บางตัวที่ทาให้ได้ค่า y มากกว่า 1 ค่า สรุ ปได้วา ความสัมพันธ์
                                                                           ่
                     นั้นจะไม่เป็ นฟังก์ชน
                                         ั
ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้วาเป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                                                       ่            ั
                      1) r1 = {(x, y)  R  R | y = 2 + 3x - x2}
                      2) r2 = {(x, y)  R  R | x2 + y2 - 8x + 7 = 0}
    วิธีทา 1) r1 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า เงื่อนไขของ r1 (y = 2 + 3x - x2)
                                ั
                 เมื่อลองแทนค่า x ใด ๆ ลงไปก็จะได้ค่า y เพียงค่าเดียว สาหรับค่า x
                 เช่น x = 0 จะได้ y = 2 + 3(0) - 02 = 2
                         x = 2 จะได้ y = 2 + 3(2) - 22 = 4
            2) r2 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ถ้าลองแทนค่า x หนึ่งค่าลงในเงื่อนไขของ r2
                                  ั
                 (x2 + y2 + 8x + 7 = 0) ก็จะได้ค่า y ถึงสองค่า เช่น
                 แทนค่า x = 1 ลงในสมการ x2 + y2 + 8x + 7 = 0
                                                              - y2 + 16 = 0
                                                                    - y2 = 16
                                                                      y = 4
            นันคือ เราสามารถยกตัวอย่างคู่อนดับที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแต่สมาชิกตัวหลัง
              ่                                ั
ต่างกันได้ เช่น (1, 4), (1, -4) ดังนั้น r2 จึงไม่เป็ นฟังก์ชน
                                                            ั
ใบงานที่ 9/1
                                     เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                                              ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

คาชี้แจง            ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                         ั                                                   ั
                    แล้วเขียนคาตอบลงในตารางให้ถูกต้อง

 ข้อที่                                  ความสัมพันธ์                                                                 คาตอบ
   1             r1 =      {(3, 2), (-1, 4), (0, 2), (5, -3)}
   2             r2 =      {(1, -1), (-1, -1), (0, 1), (3, 1)}
   3             r3 =      {(4, 2), (4, 3), (5, 4), (6, 6)}
   4             r4 =      {(6, 1), (6, 1), (7, 2), (8, 3), (9, 4)}
   5             r5 =      {(2, 1), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)}
   6             r6 =     {(x, y) | y = 3x – 1}
   7             r7 =     {(x, y) | y = 3x2– x + 3}
   8             r8 =     {(x, y) | y = 2x2 + 1}
   9             r9 =     {(x, y) | y = 4x2}
  10             r10 =     {(x, y) | x2 + y2 = 4 , x  0}

ชื่อกลุ่ม .......................................................................................
1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................

            คะแนนที่ได้...................................คะแนน
เฉลยใบงานที่ 9/1
                                      เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                                               ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

คาชี้แจง             ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                          ั                                                   ั
                     แล้วเขียนคาตอบลงในตารางให้ถูกต้อง

 ข้อที่                                  ความสัมพันธ์                                                            คาตอบ
   1           r1    =   {(3, 2), (-1, 4), (0, 2), (5, -3)}                                         1) เป็ นฟังก์ชน       ั
   2           r2    =   {(1, -1), (-1, -1), (0, 1), (3, 1)}                                        2) เป็ นฟังก์ชน         ั
   3           r3    =   {(4, 2), (4, 3), (5, 4), (6, 6)}                                           3) ไม่เป็ นฟังก์ชน          ั
   4           r4    =   {(6, 1), (6, 1), (7, 2), (8, 3), (9, 4)}                                   4) เป็ นฟังก์ชน
                                                                                                                  ั
   5           r5    =   {(2, 1), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)}                                   5) ไม่เป็ นฟังก์ชน            ั
   6           r6    =   {(x, y) | y = 3x – 1}                                                      6) เป็ นฟังก์ชน ั
   7           r7    =   {(x, y) | y = 3x2– x + 3}                                                  7) เป็ นฟังก์ชน   ั
   8           r8    =   {(x, y) | y = 2x2 + 1}                                                     8) เป็ นฟังก์ชน     ั
   9           r9    =   {(x, y) | y = 4x2}                                                         9) เป็ นฟังก์ชน           ั
  10           r10   =   {(x, y) | x2 + y2 = 4 , x  0}                                             10) ไม่เป็ นฟังก์ชน             ั

ชื่อกลุ่ม .......................................................................................

1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................

             คะแนนที่ได้...................................คะแนน
ใบความรู้ ที่ 9/2
                       เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                                ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
 ถ้าเงื่อนไขของความสัมพันธ์เราทราบรู ปแบบของกราฟหรื อโจทย์กาหนดกราฟมาให้
วิธีการตรวจสอบสามารถทาได้โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน Y ตัดกราฟของความสัมพันธ์
โดยลากหลาย ๆ เส้น แล้วพิจารณาดังนี้
                  1. ถ้าเส้นตรงขนานกับแกน Y แต่ละเส้น ตัดกราฟเพียงจุดเดียวเสมอ
ความสัมพันธ์ดงกล่าวเป็ นฟังก์ชน
                ั               ั
                  2. ถ้าเส้นตรงขนานกับแกน Y มีบางเส้น ตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์
ดังกล่าวไม่เป็ นฟังก์ชนั

ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                                                          ั
                     r1 = {(x, y ) | y = 3}
                     r2 = {(x, y ) | y = 2x2}
                     r3 = {(x, y ) | y =  x และ x  0}
วิธีทา 1) จาก r1 = {(x, y ) | y = 3} เขียนกราฟได้ดงนี้  ั
                                    Y
                                     3                   y=3


                                     0                      X
                            -3                  3

            จากรู ป ไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของ r1 มากกว่า 1 จุด
             r1 เป็ นฟังก์ชนั
2)    จาก r2 = {(x, y ) | y = 2x2}
           x     0         1       2          -1    -2
           y     0         2       8           2     8
                                      Y
                                      8

                                      6
                                      4

                                      2

                                      0                  X
                              -2 -1       1 2


          จากรู ป พบว่าไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของ r2 มากกว่า 1 จุด
              r2 เป็ นฟังก์ชน  ั

3) จาก r3 = {(x, y ) | y =      x    และ x  0}
           x       0      1            4     9   16
           y       0     1           2 3 4

                         Y

                          3
                          2
                          1
                          0                                X
                         -1               4         8
                         -2


          จากรู ป พบว่ามีเส้นขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ r3 สองจุด
          แสดงว่า มี x ที่ทาให้เกิดค่า y ที่เท่ากัน
              r3 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า มี x ที่ทาให้ได้ y ที่เท่ากันสองค่า
                                  ั
ใบงานที่ 9/2
                    เ รื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                              ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

     คาชี้แจง   ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
                    ั                                                    ั
                Y                                                       Y
1.                                                     2.                       r

                                 X                                                       X
                             r


                Y                                                       Y
3.                                                     4.                            r


                                 X                                                   X




     r

5.                                                     6.               Y
                Y
                    r
                                                             r
                                                                                         X
                                 X


                Y                                                       Y
7.                                                     8.
         r                                                       r
                                 X                                                   X
เฉลยใบงานที่ 9/2
                           เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน
                                    ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9

1. เป็ นฟังก์ชน
              ั
        2. ไม่เป็ นฟังก์ชน  ั
3. เป็ นฟังก์ชน ั
4. เป็ นฟังก์ชน   ั
5. ไม่เป็ นฟังก์ชน      ั
6. เป็ นฟังก์ชน     ั
7. เป็ นฟังก์ชน       ั
8. ไม่เป็ นฟังก์ชน        ั

More Related Content

What's hot

เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์kruthanapornkodnara
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 

What's hot (20)

Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
Function
FunctionFunction
Function
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 

Similar to Function2

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]aonuma
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555Aun Wny
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์guest7695029
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชันYingying Apinya
 

Similar to Function2 (14)

Function
FunctionFunction
Function
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Domain and range
Domain and rangeDomain and range
Domain and range
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Relafuncadd1
Relafuncadd1Relafuncadd1
Relafuncadd1
 
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555
Functions สมาคมคณิตศาสตร์ 2555
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
 
monomial and polynomail
monomial and polynomailmonomial and polynomail
monomial and polynomail
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Function2

  • 1. ใบความรู้ ที่ 9/1 เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน 1. ความสั มพันธ์ ทกาหนดให้ เขียนเป็ นแบบแจกแจงสมาชิก วิธีการตรวจสอบสามารถทา ี่ ได้โดยดูที่สมาชิกตัวหน้าว่ามีการใช้ซ้ ากันหรื อไม่ 1.1 ถ้าไม่มีการใช้ซ้ า ความสัมพันธ์น้ นจะเป็ นฟังก์ชน ั ั 1.2 ถ้ามีการใช้ซ้ า ให้พิจารณาสมาชิกตัวหลังของคู่อนดับดังกล่าว ซึ่ งถ้ามีค่าเท่ากัน ั ก็จะเป็ นฟังก์ชน แต่ถามีค่าไม่เท่ากันก็จะไม่เป็ นฟังก์ชน ั ้ ั ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ั 1. r1 = {(-1, 1), (3, 5), (-1, 1 ), (2, 1)} 2. r2 = {(2, 3), (3, 3), (5, 7), (7, 9)} 3. r3 = {(-3, 1), (7, 2), (-3, -1), (2, 7)} วิธีทา 1) r1 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่ามีคู่อนดับอยู่ 2 คู่ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน แต่ ั ั สมาชิกตัวหลังเท่ากันด้วย 1 = 1 จึงทาให้ r1 เป็ นฟังก์ชน ั 2) r2 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ไม่มีคู่อนดับตั้งแต่ 2 คู่ข้ ึนไป ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือน ั ั กันเลย 3) r3 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า มีคู่อนดับ 2 คู่ ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน คือ ั ั (-3, 1) และ (-3, -1) ซึ่ งสมาชิกตัวหลังต่างกัน 1  -1 ทาให้ r3 ไม่เป็ น ฟังก์ชนั 2. ความสั มพันธ์ ทกาหนดให้ เขียนแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก วิธีการตรวจสอบ ดังนี้ ี่ 2.1 ตรวจสอบโดยลองแทนค่าแต่ละตัวของ x ใด ๆ ที่เป็ นสมาชิกตัวหน้าของ ความสัมพันธ์ลงในความสัมพันธ์ แล้วพิจารณา 2.1.1 ถ้าแต่ละตัวของ x ได้ค่า y เพียงค่าเดียวสรุ ปได้วาความสัมพันธ์น้ น ่ ั เป็ นฟังก์ชน ั 2.1.2 ถ้ามี x บางตัวที่ทาให้ได้ค่า y มากกว่า 1 ค่า สรุ ปได้วา ความสัมพันธ์ ่ นั้นจะไม่เป็ นฟังก์ชน ั
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้วาเป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ่ ั 1) r1 = {(x, y)  R  R | y = 2 + 3x - x2} 2) r2 = {(x, y)  R  R | x2 + y2 - 8x + 7 = 0} วิธีทา 1) r1 เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า เงื่อนไขของ r1 (y = 2 + 3x - x2) ั เมื่อลองแทนค่า x ใด ๆ ลงไปก็จะได้ค่า y เพียงค่าเดียว สาหรับค่า x เช่น x = 0 จะได้ y = 2 + 3(0) - 02 = 2 x = 2 จะได้ y = 2 + 3(2) - 22 = 4 2) r2 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ถ้าลองแทนค่า x หนึ่งค่าลงในเงื่อนไขของ r2 ั (x2 + y2 + 8x + 7 = 0) ก็จะได้ค่า y ถึงสองค่า เช่น แทนค่า x = 1 ลงในสมการ x2 + y2 + 8x + 7 = 0 - y2 + 16 = 0 - y2 = 16 y = 4 นันคือ เราสามารถยกตัวอย่างคู่อนดับที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแต่สมาชิกตัวหลัง ่ ั ต่างกันได้ เช่น (1, 4), (1, -4) ดังนั้น r2 จึงไม่เป็ นฟังก์ชน ั
  • 3. ใบงานที่ 9/1 เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ั ั แล้วเขียนคาตอบลงในตารางให้ถูกต้อง ข้อที่ ความสัมพันธ์ คาตอบ 1 r1 = {(3, 2), (-1, 4), (0, 2), (5, -3)} 2 r2 = {(1, -1), (-1, -1), (0, 1), (3, 1)} 3 r3 = {(4, 2), (4, 3), (5, 4), (6, 6)} 4 r4 = {(6, 1), (6, 1), (7, 2), (8, 3), (9, 4)} 5 r5 = {(2, 1), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)} 6 r6 = {(x, y) | y = 3x – 1} 7 r7 = {(x, y) | y = 3x2– x + 3} 8 r8 = {(x, y) | y = 2x2 + 1} 9 r9 = {(x, y) | y = 4x2} 10 r10 = {(x, y) | x2 + y2 = 4 , x  0} ชื่อกลุ่ม ....................................................................................... 1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... คะแนนที่ได้...................................คะแนน
  • 4. เฉลยใบงานที่ 9/1 เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ั ั แล้วเขียนคาตอบลงในตารางให้ถูกต้อง ข้อที่ ความสัมพันธ์ คาตอบ 1 r1 = {(3, 2), (-1, 4), (0, 2), (5, -3)} 1) เป็ นฟังก์ชน ั 2 r2 = {(1, -1), (-1, -1), (0, 1), (3, 1)} 2) เป็ นฟังก์ชน ั 3 r3 = {(4, 2), (4, 3), (5, 4), (6, 6)} 3) ไม่เป็ นฟังก์ชน ั 4 r4 = {(6, 1), (6, 1), (7, 2), (8, 3), (9, 4)} 4) เป็ นฟังก์ชน ั 5 r5 = {(2, 1), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)} 5) ไม่เป็ นฟังก์ชน ั 6 r6 = {(x, y) | y = 3x – 1} 6) เป็ นฟังก์ชน ั 7 r7 = {(x, y) | y = 3x2– x + 3} 7) เป็ นฟังก์ชน ั 8 r8 = {(x, y) | y = 2x2 + 1} 8) เป็ นฟังก์ชน ั 9 r9 = {(x, y) | y = 4x2} 9) เป็ นฟังก์ชน ั 10 r10 = {(x, y) | x2 + y2 = 4 , x  0} 10) ไม่เป็ นฟังก์ชน ั ชื่อกลุ่ม ....................................................................................... 1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... คะแนนที่ได้...................................คะแนน
  • 5. ใบความรู้ ที่ 9/2 เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ถ้าเงื่อนไขของความสัมพันธ์เราทราบรู ปแบบของกราฟหรื อโจทย์กาหนดกราฟมาให้ วิธีการตรวจสอบสามารถทาได้โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน Y ตัดกราฟของความสัมพันธ์ โดยลากหลาย ๆ เส้น แล้วพิจารณาดังนี้ 1. ถ้าเส้นตรงขนานกับแกน Y แต่ละเส้น ตัดกราฟเพียงจุดเดียวเสมอ ความสัมพันธ์ดงกล่าวเป็ นฟังก์ชน ั ั 2. ถ้าเส้นตรงขนานกับแกน Y มีบางเส้น ตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์ ดังกล่าวไม่เป็ นฟังก์ชนั ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ั r1 = {(x, y ) | y = 3} r2 = {(x, y ) | y = 2x2} r3 = {(x, y ) | y =  x และ x  0} วิธีทา 1) จาก r1 = {(x, y ) | y = 3} เขียนกราฟได้ดงนี้ ั Y 3 y=3 0 X -3 3 จากรู ป ไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของ r1 มากกว่า 1 จุด  r1 เป็ นฟังก์ชนั
  • 6. 2) จาก r2 = {(x, y ) | y = 2x2} x 0 1 2 -1 -2 y 0 2 8 2 8 Y 8 6 4 2 0 X -2 -1 1 2 จากรู ป พบว่าไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของ r2 มากกว่า 1 จุด  r2 เป็ นฟังก์ชน ั 3) จาก r3 = {(x, y ) | y =  x และ x  0} x 0 1 4 9 16 y 0 1 2 3 4 Y 3 2 1 0 X -1 4 8 -2 จากรู ป พบว่ามีเส้นขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ r3 สองจุด แสดงว่า มี x ที่ทาให้เกิดค่า y ที่เท่ากัน  r3 ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า มี x ที่ทาให้ได้ y ที่เท่ากันสองค่า ั
  • 7. ใบงานที่ 9/2 เ รื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนตรวจสอบความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ ั ั Y Y 1. 2. r X X r Y Y 3. 4. r X X r 5. 6. Y Y r r X X Y Y 7. 8. r r X X
  • 8. เฉลยใบงานที่ 9/2 เรื่อง วิธีการตรวจสอบความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ชัน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 1. เป็ นฟังก์ชน ั 2. ไม่เป็ นฟังก์ชน ั 3. เป็ นฟังก์ชน ั 4. เป็ นฟังก์ชน ั 5. ไม่เป็ นฟังก์ชน ั 6. เป็ นฟังก์ชน ั 7. เป็ นฟังก์ชน ั 8. ไม่เป็ นฟังก์ชน ั