SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
พุทธปรัชญาเถรวาท
บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา
ขอบข่ายเนื้อหา
๑) พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา
๒) ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา
๓) ประวัติพระพุทธเจ้า
๔) พระพุทธเจ้าสอนอะไร
๕) สาขาของพุทธปรัชญา
สังคมอินเดียในยุคโบราณยกย่อความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์
พระเวท ศึกษาได้เฉพาะชนชั้นสูง คือ กษัตริย์และพราหมณ์
เท่านั้น
พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา
 ห้ามคนชั้นต่าคือศูทรศึกษา
พระเวท
 ถ้าเจตนาฟังการสาธยาย
พระเวท จะถูกลงโทษด้วยการ
เอาคลั่งกรอกหู
 หรือถ้าสาธยายพระเวท
จะถูกตัดลิ้น
 ถ้าจาความในคัมภีร์พระเวทได้
จะถูกผ่าร่างกายออกเป็น ๒ ซีก
พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา
ประเด็นความเชื่อที่พัฒนามาจากคัมภีร์พระเวทมีดังนี้
พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา
๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า
๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลักงความตาย
๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์
๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม ๖. ลักษณะวิถีชีวิต
๔. การยึดถือพิธีกรรม
๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า
พระพรหมเป็ นผลของการวิวัฒนาการ
จากยุคความเชื่อในคัมภีร์พระเวทมาสู่
ยุคศาสนาพราหมณ์
พระพรหมคือผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง
รวมทั้งมนุษย์
พระพรหมมีอานาจสูงสุด แม้กระทั่ง
ชะตาชีวิตของมนุษย์ก็ถูกพระพรหม
เป็ นผู้กาหนดไว้ล่วงหน้า ที่เรียกว่า
“พรหมลิขิต”
สัสสตทิฏฐิ เชื่อว่าทุกสิ่งทุก
อย่างเที่ยงแท้ ไม่มีอะไร
ดับสูญ
อุจเฉททิฏฐิ เชื่อว่าไม่มี
อะไรที่เที่ยงแท้ ทุกสิ่งไม่มี
อยู่จริง แม้กระทั่งความดี
ความชั่ว
๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลังความตาย
โลกหน้ามีจริงหรือไม่ ?
การทายลักษณะผ้า
การทายลักษณะดาบ
การทายลักษณะกุมาร
การทายลักษณะธนู
การพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ
การดูฤกษ์งามยามดี-ยามร้าย
๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์
ฯลฯ
การบูชายัญเกิดจากคติความ
เชื่อเรื่อง “พรหมสหายตา”
หมายถึงความเป็ นสหายของ
พรหม การเป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกับพรหมด้วยวิธีการใช้
สัตว์มาบูชายัญเทพเจ้า
เพื่อหวังให้เทพเจ้าดลบาล
ความสุขมาให้ทั้งในชีวิตนี้
และชีวิตหน้า
๔. การยึดถือพิธีกรรม
Animal Sacrifice
กุมภเมลา (Kembhamela)
๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม
๖. ลักษณะวิถีชีวิต
วิถีการดาเนินชีวิตของ
ชาวอินเดียยึดถือ
ตามหลัก “อาศรม ๔”
๑. พรหมจารี
๒. คฤหัสถ์
๓. วนปรัสถ์
๔. สันยาสี
อาศรม ๔ (ในคัมภีร์มนูธรรมศาสตร์)
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ได้แบ่งขั้นตอนของชีวิตออกเป็ น ๔ ขั้น
๑. พรหมจารี ขั้นตอนของชีวิตที่ยังศึกษาเล่าเรียนในสานัก
ของอาจารย์
๒. คฤหัสถ์ การครองเรือนโดยการแต่งงานและตั้งครอบครัว
๓. วนปรัสถ์ ขั้นตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติ
ธรรมในป่ า
๔. สันยาสี : เป็ นขั้นตอนสุดท้ายของชีวิต เป็ นผู้ครองเพศ
บรรพชิต สละชีวิตทางโลกโดยสิ้นเชิง อุทิศตนในการแสวงหา
ความจริงเกี่ยวกับชีวิต
ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา
นอกจากการดาเนินชีวิตตามหลักพราหมณ์แล้ว ในสมัย
พุทธกาลยังมีแนวคิดต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมอยู่มาก
ในบันทึกของศาสนาเชน มีลัทธิต่างๆ ถึง ๓๖๓ ลัทธิ
ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงเพียง ๖๒ ลัทธิ
สาหรับลัทธิสาคัญ ที่ปรากฏใน สามัญญผลสูตร มี ๖ ลัทธิ
ปรัชญา ๖ สานัก
ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ สานัก
ปกุธกัจจายนะปูรณกัสสปะ มักขลิโคศาล
เชื่อว่า บุญ บาป ไม่มี ทุก
อย่างที่ทาไปแล้วไม่ว่าดีหรือ
ชั่วเมื่อจบสิ้นแล้วย่อมแล้ว
กันไป ไม่มีผลตอบสนอง
ภายหลัง
เชื่อว่า สุข ทุกข์ ความดี
ความชั่ว เป็ นสิ่งที่เกิดเอง
โดยธรรมชาติ เหตุการณ์ที่
เ กิ ด ขึ้น ใ น ชี วิ ต ห นึ่ ง ๆ
เป็นเรื่องของการโชคดีและ
เคราะห์ร้ าย ไม่เกี่ยวกับ
ก ร ร ม ดี แ ล ะ ก ร ร ม ชั่ ว
แต่อย่างใด
สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน
กองน้า กองไฟ กองลม
สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ไม่มีใครทา
หรือเนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่
แปรปรวน ไม่มีผู้กระทาการ
ใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัด
ศีรษะกันก็ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร
เป็ นแต่เอามีดผ่านช่อง
ระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้
เท่านั้น
ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ สานัก
สัญชัยเวลัฏฐบุตรนิครนถนาฏบุตร อชิตเกสกัมพล
เชื่อว่าการทรมานกายว่าเป็น
ทางไปสู่ความพ้นทุกข์ มี
ความเป็นอยู่เข้มงวดกวดขัน
ต่อร่างกาย เช่น อดข้าว อด
น้า ตากแดด ตากลม ไม่นุ่ง
ห่มผ้า
ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของ
สัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มี
ปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่
ในวิสัยที่จะทาให้เป็ นไป
อย่างใดอย่างหนึ่งได้ แม้การ
ที่จะบรรลุถึงความพ้นทุกข์
สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ ก็
เป็ นไปเอง มิใช่ด้วยการ
กระทาใด ๆ เป็นเหตุ
มีความเชื่อไม่แน่นอน ซัดส่าย
ไหลลื่นเหมือนปลาไหล
ปฏิเสธว่า อย่างนี้ก็ไม่ใช่อย่าง
นั้นก็ไม่ใช่ ไม่ยอมรับและไม่
ยืนยันอะไรทั้งหมด
เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติเมื่อ
วันเพ็ญ ๑๕ ค่า เดือน ๖ ก่อน
พ.ศ.๘๐ ปี เป็ นพระราชโอรส
ข อ ง พ ร ะ เ จ้า สุท โ ธ ท น ะ แ ห่ง
กรุงกบิลพัสดุ์
ท่า น ท ร ง ไ ด้รับ ก า ร เ ลี ้ย ง ดู
ท นุถน อมอย่าง ดี ปร น เ ปร อ
ด้วยความสาราญอย่างเต็มที่
เพื่อหวังจะให้เป็ นพระจักรพรรดิ
ผู้ยิ่งใหญ่สืบต่อพระบิดา มิใช่
เป็ นพระศาสดาตามคาทานาย
ประวัติพระพุทธเจ้า
คราวหนึ่ง เจ้าชายได้มี
โอกาสไปชมบ้านเมืองด้าน
น อ ก ว ัง แ ล ะ ไ ด้พ บ ก ับ
ค น แ ก่ ค น เ จ็บ ค น ต า ย
จึงบังเกิดความสลดสังเวช
ก ับ ค ว า ม จ ริง ที่พ บ . . .
จึงใคร่ครวญแสวงหาความ
พ้นทุกข์ และน้อมพระทัย
ไปในการบวช
ในที่สุดท่านจึงตัดสินพระทัย
ออกผนวชเป็ นบรรพชิตที่ริม
ฝั่ งแม่น้าอโนมา เมื่อพระชน
มายุ ๒๙ พรรษา
 ท่า น ท ร ง พ ย า ย า ม ศึก ษ า
ปฏิบัติหลากหลายวิธีเพื่อการ
พ้นทุกข์ รวมทั้งการทรมาน
ตนเองด้วย ( ทุกรกิริยา )
เป็ นเวลา ๖ ปี
 ใ น ที่ส ุด ท่า น ด า ริไ ด้ว่า
การทรมานตนเองมิใช่ทาง
ตรัสรู้ เปรียบเสมือนสายพิณ
ที่ข ึง ต ึง เ ก ิน ไ ป ด ัง นั ้น
จึงควรปฏิบัติบาเพ็ญเพียร
ท า ง จ ิต ด้ว ย ค ว า ม พ อ ดี
(มัชฌิมาปฏิปทา)
 กระทั่งวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖
ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี
ท่านประทับนั่งใต้ต้นพระศรี
มหาโพธิ์ แคว้นมคธ
ป.อินเดีย และตั้ง
สัตยาธิษฐานว่า
 “ถ้ายังไม่ได้ตรัสรู้
พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ
..จักไม่เสด็จลุกขึ้นจาก
บัลลังก์...ถึงแม้ว่าเนื้อและ
เลือดในกายจักเหือดแห้งไป
ก็ตามที”
จนกระทั่งปัจฉิมยาม
ของวันนั้น พระองค์ได้เกิด
ปัญญาญาณ ตรัสรู้
พระธรรม “อริยสัจ ๔”
บรรลุถึงการดับกิเลส
และพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง...
และทรงได้พระนามว่า..
“พระสัมมาสัมพุทธเจ้า”
ขณะมีพระชนมายุได้
๓๕ พรรษา
พระพุทธเจ้าสอนอะไร?
“...โลกตั้งอยู่บนกองทุกข์.....
เรา ตถาคต แสดงแต่เรื่อง ทุกข์
และความดับทุกข์ เท่านั้น”
“...เรื่องที่เราสอน ก็คือ ทุกข์
สมุทัย นิโรธ มรรค..เพราะ
ประกอบด้วยประโยชน์ เป็ น
เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็ นไป
เพื่อความหน่ายคลายกาหนัด ดับ
สงบ รู้ยิ่ง ตรัสรู้ และนิพพาน”
พระพุทธเจ้าสอนอะไร?
 สอนให้มองโลกตามความเป็ นจริง
....สิ่งแรกที่มนุษย์ควรทา คือ การมองความจริงและทา
ความรู้จักกับสิ่งต่างๆ ตามที่มันเป็ น และเข้าไปเกี่ยวข้อง
กับสิ่งต่างๆ ด้วยความรอบรู้และเข้าใจ เพื่อให้มีทุกข์น้อย
ที่สุด หรือ ไม่มีทุกข์เลย
พระพุทธเจ้าสอนมุ่งให้คนเกิดปัญญา....และเมื่อรู้แล้วก็ควร
นาไปปฏิบัติเพื่อเกิดปร ะโยชน์แก่ชีวิต คือ ดับทุกข์ได้
พระพุทธเจ้าสอนอะไร?
สาขาของพุทธปรัชญา
หลังจากที่พระพุทธเจ้า ปรินิพพานได้ ๓ เดือน ได้มีการ
สังคายนาธรรมวินัยใหม่ และอีก ๑๐๐ ปี ต่อมาได้เกิด
ความขัดแย้งในเรื่องการแปลความหมายของธรรมวินัย
และมีภิกษุบางส่วนย่อหย่อนต่อพระวินัย จึงมีการ
สังคายนาครั้งที่ ๒ ซึ่งนาไปสู่ความขัดแย้งทางความคิด...
สาขาของพุทธปรัชญา
นิกายเถรวาท (หีนยาน)
• เป็ นนิกายดั้งเดิม ยึดถือหลักพระธรรมวินัยที่ได้สังคายนา
ไว้เมื่อพุทธปรินิพพาน ได้ ๓ เดือน เจริญอยู่ทางตอนใต้
ของอินเดีย ได้แพร่หลายไปยังประเทศเอเชียใต้ เช่น
ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว และเขมร เป็ นต้น
นิกายมหายาน
• เป็นนิกายที่แยกออกมาใหม่ ยึดถือหลักธรรมตามการตีความใหม่
และการปฏิบัติของอาจารย์ตน เจริญอยู่ตอนเหนือของอินเดีย ได้
แพร่เข้าไปสู่ประเทศธิเบต จีน เกาหลี เวียดนามและญี่ปุ่น
เถรวาท มหายาน
ประเด็น เถรวาท (หีนยาน) มหายาน (อาจาริยวาท)
เป้ ายหมายชีวิต มุ่งให้ตนเองพ้นทุกข์ก่อนและมุ่ง
ที่อรหัตตภูมิ
มุ่งช่วยสรรพสัตว์ ให้พ้นทุกข์
ก่อน จึงจะช่วยตนเอง และมุ่งที่
พุทธภูมิ
ภาวะจิต (พุทธภาวะ) ไม่ยืนยันภาวะจิตเดิม ยืนยันจิตเดิมว่ามีอยู่ในทุกคน
การมีอยู่ของพระพุทธเจ้า
(หลังปรินิพพาน)
ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธการมีอยู่
หรือการดับสูญ
ยืนยันว่าพระพุทธเจ้ามีอยู่ในรูป
สัมโภคกาย ในพุทธเกษตร
หลักธรรมวินัย ยึดถือคาสอนดั้งเดิมทั้งหมด เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงใหม่
การยกย่องสาวก ยกย่องผู้บาเพ็ญตนเป็น
อริยบุคคล
ยกย่องผู้ปฏิบัติแบบพระโพธิสัตว์
ความแตกต่างระหว่างเถรวาทและมหายาน
ประเด็น เถรวาท (หีนยาน) มหายาน (อาจาริยวาท)
เป้ ายหมายชีวิต มุ่งให้ตนเองพ้นทุกข์ก่อนและมุ่ง
ที่อรหัตตภูมิ
มุ่งช่วยสรรพสัตว์ ให้พ้นทุกข์
ก่อน จึงจะช่วยตนเอง และมุ่งที่
พุทธภูมิ
ภาวะจิต (พุทธภาวะ) ไม่ยืนยันภาวะจิตเดิม ยืนยันจิตเดิมว่ามีอยู่ในทุกคน
การมีอยู่ของพระพุทธเจ้า
(หลังปรินิพพาน)
ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธการมีอยู่
หรือการดับสูญ
ยืนยันว่าพระพุทธเจ้ามีอยู่ในรูป
สัมโภคกาย ในพุทธเกษตร
หลักธรรมวินัย ยึดถือคาสอนดั้งเดิมทั้งหมด เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงใหม่
การยกย่องสาวก ยกย่องผู้บาเพ็ญตนเป็น
อริยบุคคล
ยกย่องผู้ปฏิบัติแบบพระโพธิสัตว์
พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด ?
เถรวาทตอบอย่างไร?
มหายานตอบอย่างไร?
เมื่อนิพพานมี ที่ตั้งของนิพพานก็น่าะะมี ?
เอกสารอ้างอิง
วิโรจ นาคชาตรี. พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
รามคาแหง, ๒๕๔๗.
สุเชาวน์ พลอยชุม. พุทธปรัชญาเถรวาทในสุตตันตปิ ฎก.
กรุงเทพฯ : ม.เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๘.
เดือน คาดี. พุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๕.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 

What's hot (20)

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

Viewers also liked

จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 

Viewers also liked (10)

จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 

Similar to วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 

Similar to วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา