SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพือนบ้าน
โดย ครูเพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
รายวิชาพระพุทธศาสนา 3 ส22103 ชันมัธยมศึกษาปีที 2
ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศลาว
พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศลาวเมือรัชสมัยของพระเจ้าฟ้ าพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศลาวเมือรัชสมัยของพระเจ้าฟ้ า
งุ้ม(พ.ศ. ๑๘๙๖-๑๙๑๔)แห่งอาณา จักรล้านช้าง ซึงมีพระบรมเดชานุภาพ
มาก ชาวลาวยกย่องว่าพระองค์ทรงเป็นมหาราชองค์แรกของลาว
มูลเหตุของพระพุทธศาสนาแผ่ขยายเข้าสู่ประเทศลาวในรัชสมัยของ
พระเจ้าฟ้ างุ้ม เนืองจาก มเหสีของพระองค์ คือ พระนางแก้วยอดฟ้ า เป็น
พระธิดาของพระเจ้าศรีจุลราชแห่งเมืองอินทปัตถ์ในอาณาจักกัมพูชาซึงพระ
พระเจ้าฟ้ างุ้ม เนืองจาก มเหสีของพระองค์ คือ พระนางแก้วยอดฟ้ า เป็น
พระธิดาของพระเจ้าศรีจุลราชแห่งเมืองอินทปัตถ์ในอาณาจักกัมพูชาซึงพระ
นางเคยเคารพนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมาก่อน ตังแต่มาอยู่เมือง
อินทปัตถ์แล้ว เมือพระนางเสด็จมาประทับทีอาณาจักรล้านช้าง พบเห็น
ชาวเมืองยังคงเคารพนับถือลัทธิบูชาผีสางเทวดาจึงทรงไม่สบายพระทัย จึง
ได้กราบทูลให้พระเจ้าฟ้ างุ้มแต่งคณะราชทูตไปทูลขอพระสงฆ์เพือมาช่วย
ประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากพระเจ้าศรีจุลราช ซึงพระเจ้าฟ้ างุ้มทรงทํา
ตามคําแนะนําของพระนางแก้วยอดฟ้ า
เมือพระเจ้าศรีจุลราชทรงทราบพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟ้ างุ้มเมือพระเจ้าศรีจุลราชทรงทราบพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟ้ างุ้ม
ซึงเป็นพระ ราชบุตรเขยก็ตอบสนองด้วยดี โดยโปรดเกล้าฯให้อาราธนา
ให้พระมหาปาสมันตเถระกับพระมหาเทพลังกานําพระสงฆ์อีก ๒๐ รูป
เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีอาณาจักรล้านช้าง นอกจากนี
พระราชทานพระพุทธรูป ปัญจโลหะองค์หนึงพระนามว่า “พระบาง”
พร้อมด้วยพระไตรปิฎก และหน่อพระศรีมาโพธิมาถวายแก่เจ้าฟ้ างุ้ม
ด้วย นับตังแต่นันเป็นต้นมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็ด้วย นับตังแต่นันเป็นต้นมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็
เจริญรุ่งเรืองในประเทศลาว และได้กลายเป็นศาสนาประจําชาติไปใน
ทีสุด
• เมือพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาถ โอรสของพระเจ้าฟ้ างุ้มขึน• เมือพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาถ โอรสของพระเจ้าฟ้ างุ้มขึน
ครองราชย์ (พ.ศ.๑๙๑๖-๑๙๕๘) ก็ทรงเอาพระทัยใส่ทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนาอย่างดียิง ทังนีเพราะพระองค์มีพระทัยใฝ่สันติชอบ
บําเพ็ญบุญสร้างกุศล ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างวัดมโนรมย์ วัดอุโบสถ
หอสมุดสําหรับเป็นทีศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกและโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรมหลาย แห่งพระพุทธศาสนาได้วางรากฐานให้มันคงยิงขึน ในรัช
สมัยของพระเจ้าโพธิสาร(พ.ศ.๒๐๖๓-๒๐๙๐) พระองค์ทรงได้มีพระ
ธรรมหลาย แห่งพระพุทธศาสนาได้วางรากฐานให้มันคงยิงขึน ในรัช
สมัยของพระเจ้าโพธิสาร(พ.ศ.๒๐๖๓-๒๐๙๐) พระองค์ทรงได้มีพระ
บรมราชโองการห้ามประกอบพิธีกรรมทรงเจ้าเข้าผีทัวพระราช
อาณาจักร และให้ชาวลาวเลิกนับถือลัทธิผีสางเทวดาให้หันมานับถือ
พระพุทธศาสนาแทน
ในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ส. ๒๐๙๑-๒๑๑๔) ซึงในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ส. ๒๐๙๑-๒๑๑๔) ซึง
ได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาราชองค์ที ๒ ของลาว พระพุทธศาสนาก็
เจริญถึงขีดสุด ทังนีเพราะพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงเอาพระทัยใส่
ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา อย่างดียิง เช่น โปรดเกล้าฯให้สร้างพระธาตุ
บังพวน พระธาตุโคตรบูร พระธาตุหลวง พระธาตุอิงรัง ทรงสร้าง
พระพุทธรูปทีสําคัญ คือ พระองค์ตือ พระเสริม พระสุก พระใส พระ
อินทร์แปง พระองค์แสน นอกจากนียังโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดต่าง ๆ ขึน
พระพุทธรูปทีสําคัญ คือ พระองค์ตือ พระเสริม พระสุก พระใส พระ
อินทร์แปง พระองค์แสน นอกจากนียังโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดต่าง ๆ ขึน
เป็นจํานวนมาก เช่น วัดป่ารือสิงขร วัดป่ากันทอง วัดศรีเมือง วัดพระ
แก้ว กล่าวได้ว่าพุทธสถานทีสําคัญ ๆ ของประเทศลาวส่วนใหญ่ถูก
สร้างขึนในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแทบทัง สิน
หลังจากรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระพุทธศาสนาในหลังจากรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระพุทธศาสนาใน
ประเทศลาวก็ไม่ค่อยเจริญรุ่งเรืองนัก แต่ด้วยเหตุทีลาวมีเขตติดต่อกับ
ไทย และประเทศทังสองมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้ น ดังนัน
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากไทยจึงได้เผยแผ่เข้าไปเจริญอยู่ใน
ประเทศ ลาวด้วย ซึงช่วยคําชูให้พระพุทธ ศาสนาในประเทศลาว
สามารถดํารงอยู่ได้ เมือลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรังเศสใน พ.ศ.
๒๔๓๖ พระพุทธศาสนาก็เสือมโทรมลง เพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ถึง๒๔๓๖ พระพุทธศาสนาก็เสือมโทรมลง เพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ถึง
กระนันก็ยังมีความสําคัญอยู่ในฐานะเป็นศาสนาประจําชาติลาวสืบมา
ถึงแม้ในช่วงสงครามอินโดจีน พระพุทธศาสนาในลาวจะได้รับความ
กระทบกระเทือนมากเพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ชาวลาวส่วนใหญ่
ยังคงมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู่อย่างแนบแน่นช่วยกัน
ประคับประคองพระพุทธศาสนาให้ตังมันอยู่ได้
แบบฝึกหัดครังที
1. “พระบาง” คือพระพุทธรูปปัญจโลหะ เป็นพระพุทธรูปทีหล่อขึนจาก1. “พระบาง” คือพระพุทธรูปปัญจโลหะ เป็นพระพุทธรูปทีหล่อขึนจาก
โลหะทัง 5 ชนิด ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ ประกอบด้วย
2. บอกชือพระพุทธรูปทีสร้างในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช2. บอกชือพระพุทธรูปทีสร้างในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช
ตอบ
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกัมพูชา
แรกเดิมชาวกัมพูชานับถือศาสนาพราหมณ์และฮินดู และแรกเดิมชาวกัมพูชานับถือศาสนาพราหมณ์และฮินดู และ
มานับถือพระพุทธศาสนาทีหลัง พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามาสู่
ประเทศกัมพูชา ราวพุทธศตวรรษที 8 ในช่วงอาณาจักรฟูนันกําลัง
รุ่งเรือง โดยได้รับเอานิกาย มหายานมานับถือ เพราะในสมัยนันได้มีการรุ่งเรือง โดยได้รับเอานิกาย มหายานมานับถือ เพราะในสมัยนันได้มีการ
ติดต่อค้าขายกับประเทศจีนและอินเดีย จึงได้รับอิทธิพลศาสนา
มหายานมาด้วย หลังจากอาณาจักรฟูนันสินอํานาจลง อาณาจักรเจน
ละ ได้เข้ามามีอํานาจและรุ่งเรือง แต่ว่ายังนับถือศาสนาฮินดูอยู่
• พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่อาณาจักรกัมพูชาในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน (• พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่อาณาจักรกัมพูชาในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน (
พ.ศ. 1021 - 1057) เป็นครังแรกแต่ว่าไม่รับการนับถือเต็มที เพราะยังมี
การนับถือศาสนาพราหมณ์อยู่ พระพุทธศาสนาและศาสนาพรามหณ์
ได้รับการนับถือคู่กันมีความเจริญและความเสือม ไม่คงที อยู่ทีกษัตริย์
ในสมัยนันอยู่จะทรงนับถือศาสนาใด พระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรือง
อีกครังหนึงในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที 5 ( พ.ศ. 1511 - 1544) โดยมีการ
ส่งเสริมการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาและได้นําคัมภีร์จากต่าง
อีกครังหนึงในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที 5 ( พ.ศ. 1511 - 1544) โดยมีการ
ส่งเสริมการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาและได้นําคัมภีร์จากต่าง
ประเทศมาสู่อาณาจักรเป็นจํานวนมาก ฯ
• ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที 1 (พ.ศ. 1545 - 1593) ทรงนับถือ• ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที 1 (พ.ศ. 1545 - 1593) ทรงนับถือ
พระพุทธศาสนาแบบมหายานทีได้รับอิทธิพลจากนครศรีธรรมราชอย่างเคร่ง
ครัด จนถึงในสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที 7 ( พ.ศ. 1724 - 1761) ประมาณ
พุทธศตวรรษที 18 พระพุทธศาสนาแบบมหายานได้เจริญรุ่งเรืองเต็มที ให้
สร้างวัดมหายาน ทรงตังลัทธิพุทธราชแทนลัทธิเทวราช ให้สร้างนครธม เป็น
ราชธานี ให้สร้างวิหาร "ปราสาทบายน" ให้สร้างพระพุทธรูปชือว่า "พระชัย
พุทธมหานาถ" ประดิษฐานไว้ตามเมืองต่าง ๆ ทัวราชอาณาจักรทรงนิมนต์
พระสงฆ์เข้าไปบิณฑบาตในพระราชวังทุกวัน ๆ ละ 400 รูป เมือสินยุคยุคพระสงฆ์เข้าไปบิณฑบาตในพระราชวังทุกวัน ๆ ละ 400 รูป เมือสินยุคยุค
พระเจ้าชัยวรมันที 7 แล้ว พระพุทธศาสนามหายานได้เสือมลง และ
พระพุทธศาสนาหีนยาน ได้เจริญเข้ามาแทนที พ.ศ. 2384
ในสมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ได้นํานิกายธรรมยุติจากในสมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ได้นํานิกายธรรมยุติจาก
เมืองไทยไปประดิษฐาน ได้จักตังโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมชันสูงใน
กรุงพนมเปญ ทีชือว่า "ศาลาบาลีชันสูง"
พ.ศ. 2410 กัมพูชา ตกเป็นเมืองขึนของฝรังเศส พระพุทธศาสนา
ได้เสือมลง พ.ศ. 2497 กัมพูชา ได้รับเอกราชในสมัยพระเจ้านโรดมสีหนุ
พระพุทธศาสนาได้เริมต้นขึนอีก และได้ประกาศเป็นศาสนาประจําชาติพระพุทธศาสนาได้เริมต้นขึนอีก และได้ประกาศเป็นศาสนาประจําชาติ
หลังจากนันกัมพูชาได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองกองทัพคอมมิวนิสต์
พระพุทธศาสนาจึงได้ถึงภาวะวิกฤตอีก ด้วยเหตุการณ์บ้านเมืองไม่มี
ความสงบสุข พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา จึงไม่ได้รับการเอาใจ
ใส่อย่างเต็มที ฯ
ประวัติพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย
พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศอินโดนีเซียในพุทธศตวรรษที 3 คราวทีพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศอินโดนีเซียในพุทธศตวรรษที 3 คราวที
พระเจ้าอโศกมหาราช ส่งพระโสณะ และพระอุตตระเดินทางมาเผยแผ่พุทธ
ธรรม{[บริเวณใด]} ต่อมาในพุทธศตวรรษที 12 ได้เกิดรัฐมหาอํานาจทาง
ทะเลชือว่า อาณาจักรศรีวิชัย (Srivijaya) ซึงมีอิทธิพลตังแต่อินโดนีเซีย
จนถึงคาบสมุทรมลายู รวมไปถึงทางใต้ของประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยนีจนถึงคาบสมุทรมลายู รวมไปถึงทางใต้ของประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยนี
ศาสนิกชนส่วนใหญ่จะเป็นนิกายมหายาน และแพร่หลายมาก และได้พบ
หลักฐานทางโบราณคดีมากมาย ได้แก่ พระพิมพ์ดินดิบ และพระโพธิสัตว์
เป็นต้น
กลางพุทธศตวรรษที 13 บนเกาะชวาทางภาคกลาง ได้เกิดราชวงศ์กลางพุทธศตวรรษที 13 บนเกาะชวาทางภาคกลาง ได้เกิดราชวงศ์
ทียิงใหญ่ นามว่า ราชวงศ์ไศเลนทร์ ซึงในเวลาต่อมา ราชวงศ์ไศ
เลนทร์ก็มีอํานาจปกครองอาณาจักรศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที 15 และ
ได้มีการติดต่อราชวงศ์ปาละ แห่งเบงกอล และได้มีการแลกเปลียน
วัฒนธรรมกัน โดยอาณาจักรศรีวิชัยได้ส่งพระภิกษุไปศึกษาที
มหาวิทยาลัยนาลันทา ซึงกษัตริย์แห่งเบงกอลก็ให้การต้อนรับอย่างดี
และทางเบงกอลก็ได้ส่งพระภิกษุ และช่างฝีมือดี มาเผยแผ่พุทธศาสนาและทางเบงกอลก็ได้ส่งพระภิกษุ และช่างฝีมือดี มาเผยแผ่พุทธศาสนา
และสอนศิลปะสมัยปาละ แก่ชาวนครศรีวิชัยด้ว
• พระพุทธศาสนาเสือมมาก ในสมัยพุทธศตวรรษที 19 เมืออาณาจักรศรี• พระพุทธศาสนาเสือมมาก ในสมัยพุทธศตวรรษที 19 เมืออาณาจักรศรี
วิชัยเสือมลง และทําให้อาณาจักรมัชปาหิตเข้ามามีอํานาจแทน ซึง
อาณาจักรนีเป็นฮินดู แต่ต่อมากษัตริย์มัชปาหิตพระองค์หนึง นามว่า
"ระเด่นปาทา" ทรงเกิดความเลือมใสในศาสนาอิสลาม ทรงยกย่องให้
ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจําชาติ และห้ามเผยแผ่พุทธศาสนา
• ชาวพุทธในอินโดนีเซียช่วงนี ไม่ได้มีบทบาทเด่น ๆ ใด ๆ เลย และ• ชาวพุทธในอินโดนีเซียช่วงนี ไม่ได้มีบทบาทเด่น ๆ ใด ๆ เลย และ
กลายเป็นชนกลุ่มน้อย ภายใต้ชาวมุสลิม ซึงเป็นชนกลุ่มใหญ่ และเป็น
เช่นนีเรือย ๆ จนถึงยุคฮอลันดาปกครอง และได้รับเอกราช ชาว
อินโดนีเซียพุทธนันส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันตกของเกาะชวา เกาะบาหลี
เกาะบังกา-เกาะเบลิตุง และบางส่วนของเกาะสุมาตรา
• ปัจจุบัน• ปัจจุบัน
ชาวอินโดนีเซียทีนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานอยู่นันจะมีอยู่บนเกาะ
ชวาได้แก่ ชาวชวา (นับถือพุทธศาสนาร้อยละ 1) และชาวซุนดา และจะมีชาวบาหลี
บนเกาะบาหลี ซึงบางคนก็นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดูแบบ พืนเมืองควบคู่กันไป
และมีชาวซาซะก์บางคนทีนับถือศาสนาพุทธ และลัทธิวตูตลู ซึงเป็นศาสนาอิสลาม ที
รวมกับความเชือแบบฮินดู-พุทธ อยู่บ้างบนเกาะลอมบอก รวมไปถึงชาวจีนโพ้นทะเล
ทีอาศัยบนเกาะชวา ทุกๆปี ศาสนิกชนเหล่านีจะมาประกอบพิธีในวันวิสาขบูชาทีบุโร
พุทโธ ทีเมืองมุนตีลาน ทีอินโดนีเซียนีได้จัดตังสมาคมเพือสอนพระพุทธศาสนาแก่
เยาวชน มีการบรรยายธรรม ปฏิบัติสมาธิ ออกวารสาร เช่น วารสารวิปัสสนา และ
วารสารธรรมจารณี ซึงการปกครองดูแลศาสนิกชนในอินโดนีเซียจะขึนกับพุทธ
เยาวชน มีการบรรยายธรรม ปฏิบัติสมาธิ ออกวารสาร เช่น วารสารวิปัสสนา และ
วารสารธรรมจารณี ซึงการปกครองดูแลศาสนิกชนในอินโดนีเซียจะขึนกับพุทธ
สมาคมในอินโดนีเซีย มีสํานักงานใหญ่ในกรุงจาการ์ตา มีสาขาย่อย 6 แห่ง
• ปัจจุบันประเทศอินโดนีเซีนได้เริมมีการฟืนฟูพระพุทธศาสนา โดยการริเริมจาก
พระสงฆ์ชาวศรีลังกา และชาวพืนเมือง ทีได้รับการอุปสมบทจากประเทศพม่า และที
ประเทศไทย ในวัดบวรนิเวศวิหาร และวัดเบญจมบพิตร ปัจจุบันศาสนาพุทธนันมีศา
สนิกชนอยู่ประมาณ 150,000 คน หรือประมาณร้อยละ 1 ของประชากรชาว
อินโดนีเซียทังหมด
• ศาสนสถาน• ศาสนสถาน
• ประเทศอินโดนีเซียปัจจุบันมีวัดพระพุทธศาสนาอยู่ประมาณ 150 วัด
ในจํานวนนี 100 วัด เป็นวัดฝ่ายมหายาน อีก 50 วัดเป็นวัดฝ่ายหีนยาน
(เถรวาท) ซึงเป็นวัดไทย 4 แห่ง ได้แก่ วัดพุทธเมตตา วัดวิปัสสนาครา
หะ วัดเมนดุตพุทธศาสนวงศ์ และวัดธรรมทีปาราม วัดเหล่านีส่วนใหญ่
อยู่ในความดูแลของฝ่ายฆราวาส เพราะพระภิกษุมีจํานวนน้อย การ
ปกครองดูแลพุทธศาสนิกชนขึนอยู่กับพุทธสมาคม ซึงมีสํานักงานใหญ่ปกครองดูแลพุทธศาสนิกชนขึนอยู่กับพุทธสมาคม ซึงมีสํานักงานใหญ่
ตังอยู่ในเมืองจาการ์ตา นครหลวงของอินโดนีเซีย และมีสมาชิก 6 แห่ง
ตังอยู่ตามเมืองต่างๆ รวมมีสมาชิกทังสินประมาณ 150,000 คน
• มีคัมภีร์ทางพุทธศาสนาแบบชวาทีสําคัญ 2 เล่ม ได้แก่ คัมภีร์สังหยัง
กามาหานิกัน (Sang hyang Kamahaanikan) และคัมภีร์
กามาหายานันมันตรานายา (Kamahayanan Mantranaya)
• การฟืนฟูพระพุทธศาสนา
การฟืนฟูพระพุทธศาสนาได้เริมขึนใหม่อีกครังเมือประมาณ 10
กว่าปีมานี เป็นการริเริมโดยพระสงฆ์ชาวลังกาและพระสงฆ์ชาว
พืนเมืองทีได้รับการอุปสมบทไปจาก วัดบวรนิเวศวิหารและวัดเบญจม
บพิตรในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2512 คณะสงฆ์ไทยได้ส่งพระธรรมทูต
จากประเทศไทยไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซียทังจากประเทศไทยไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซียทัง
ชวาภาคกลาง ภาคตะวันออก และตะวันตก ขณะนียังมิได้สร้างวัดไทย
ขึนแต่ก็ได้เตรียมการทีจะสร้างวัดไทยขึนในสถาน ทีไม่ห่างไกลจากมหา
สถูปโบโรบุดูร์ไว้แล้ว ปัจจุบันพระธรรมทูตจากประเทศไทยมีสํานักงาน
เผยแผ่เป็นศูนย์กลางอยู่ทีสํานักงานพุทธเมตตา ตังอยู่เลขที 59 ถนน
เตอรูซานเล็มบังดี กรุงจาการ์ตา
พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย
• อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมา• อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมา
ตังแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย แต่ต่อมาเมือศาสนาอิสลามได้เข้ามา
แพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตังแต่พุทธศตวรรษที 20 ในรัชสมัยของ
พระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทําให้พุทธศาสนาหมดความสําคัญไป ในพระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทําให้พุทธศาสนาหมดความสําคัญไป ใน
ระยะเวลาหนึง
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เชือกันว่าพระพุทธศาสนาได้แผ่สู่จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เชือกันว่าพระพุทธศาสนาได้แผ่สู่
มาเลเซียตังแต่พุทธศตวรรษที 3 โดยนิกายเถรวาทซึงไม่แพร่หลาย
เท่าใดนัก ต่อมาในพุทธศตวรรษที 12 อิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัย จึง
ได้มีพุทธศาสนาแบบมหายาน แผ่ขยายมาถึงมาเลเซีย พ.ศ. 1837
ภายใต้การปกครองของอาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคําแหง
มหาราช ซึงแผ่อํานาจลงทางคาบสมุทรมลายู และได้นครศรีธรรมราช
เป็นศูนย์กลางอํานาจหัวเมืองมลายูทังหลาย แต่เนืองจากประชาชนใน
มหาราช ซึงแผ่อํานาจลงทางคาบสมุทรมลายู และได้นครศรีธรรมราช
เป็นศูนย์กลางอํานาจหัวเมืองมลายูทังหลาย แต่เนืองจากประชาชนใน
แถบนี นับถือพุทธศาสนาแบบมหายานมาหลายร้อยปีแล้ว พุทธศาสนา
แบบเถรวาทจึงไม่ค่อยมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเชือของคนบริเวณนี
มากนัก
• ซึงจะปรากฏแต่รูปพระโพธิสัตว์ หรือรูปเคารพตามแบบมหายาน• ซึงจะปรากฏแต่รูปพระโพธิสัตว์ หรือรูปเคารพตามแบบมหายาน
โดยมากความรุ่งเรืองของพุทธศาสนาในมาเลเซียเริมขึนได้ไม่นาน พระ
เจ้าปรเมศวร แห่งอาณาจักรมะละกา ทรงอภิเษกกับ เจ้าหญิงแห่งปาไซ
ทีเป็นมุสลิม พระองค์จึงละทิงศาสนาฮินดู-พุทธ และเข้ารีตศาสนา
อิสลาม ในขณะทีประชาชนเลือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู่ ต่อมา
ในรัชกาลของสุลต่านมัลโซร์ชาห์ ซึงทรงมีความเลือมใสในศาสนา
อิสลาม ทําให้ราษฎรเข้ารีตศาสนาอิสลามตามพระองค์ (ในประเทศอิสลาม ทําให้ราษฎรเข้ารีตศาสนาอิสลามตามพระองค์ (ในประเทศ
มาเลเซีย)
• แต่เนืองจากมีชาวไทยทีอาศัยอยู่ในสามรัฐทางภาคเหนือของมาเลเซีย• แต่เนืองจากมีชาวไทยทีอาศัยอยู่ในสามรัฐทางภาคเหนือของมาเลเซีย
ได้แก่ รัฐเกดะห์ รัฐกลันตัน และรัฐปะลิส เป็นเวลายาวนาน จนได้
รับรองสถานะเทียบเท่าชาวมาเลย์ แต่ชนชาวไทย จะแสดงถึงความเป็น
ไทย คือ ความเป็นพุทธเถรวาท ซึงมีพิธีกรรม และสถาปัตยกรรมทาง
ศาสนาเหมือนกันกับชาวพุทธในประเทศไทย โดยมีชาวจีนให้ ความ
อุปถัมภ์วัดทางการเงิน และช่วยเหลืองานต่างๆ ช่วงเทศกาลงานบุญ แต่
ชาวไทยพุทธมีบทบาทในการดูแลศาสนามากกว่า เช่น การบวชของชาวชาวไทยพุทธมีบทบาทในการดูแลศาสนามากกว่า เช่น การบวชของชาว
ไทยจะยาวนานกว่าชาวจีน จนสามารถแยกได้ว่า กลุ่มใดเป็นกลุ่มชาว
ไทย และชาวจีนในมาเลเซีย ส่วนวัดวาอารามของชาวสยามจะ อยู่แถบ
ชนบท มีสถาปัตยกรรมเป็นแบบไทย พิธีกรรมเป็นแบบชาวไทย คือเน้น
การทําบุญเป็นหลัก ซึงผู้ทีจะบริจาคให้วัดจะเป็นชาวจีนโดยมาก
• ดังนันวัดไทยหลายๆวัดทีมีชาวจีนอุปถัมภ์จะมีรูปเคารพเจ้าแม่กวนอิม• ดังนันวัดไทยหลายๆวัดทีมีชาวจีนอุปถัมภ์จะมีรูปเคารพเจ้าแม่กวนอิม
หรือเทพเจ้าจีน ไว้เพือยึดเหนียวศรัทธาของชาวจีน ในแต่ละชุมชน จะมี
สํานักสงฆ์ไว้ เพือให้เป็นทีพํานักของพระสงฆ์ ทีหมุนเวียนกันมาจํา
พรรษาโปรดญาติโยม แต่ทีวัดใหญ่จะมีพระสงฆ์ไม่ตํากว่า 5 รูป โดย
พระสงฆ์ทีบวชนานๆ และพระสงฆ์ทีบวชระยะสันๆอยู่จําพรรษาในวัด
นันๆ ชาวจีนส่วนมาก จะให้ความนับถือพระทีเก่งทางไสยศาสตร์ และ
สมุนไพร บางครังก็นิมนต์ไปประกอบพิธีทางศาสนาทีบ้านของตนสมุนไพร บางครังก็นิมนต์ไปประกอบพิธีทางศาสนาทีบ้านของตน
• การตราพระราชบัญญัติฉบับนีเกิดจากความต้องการของรัฐบาลในสมัยนัน ซึงมีจอม• การตราพระราชบัญญัติฉบับนีเกิดจากความต้องการของรัฐบาลในสมัยนัน ซึงมีจอม
พลสฤษดิ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีทีมุ่ง ปรับเปลียนรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ให้
สอดคล้องกับนโยบายการปกครองประเทศของ จอมพลสฤษดิ ทีนิยมการรวบอํานาจ การ
ตัดสินใจเด็ดขาดไว้กับผู้นําทีเข้มแข็ง จอมพลสฤษดิเห็นว่าการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยทีกําหนดให้มีการถ่วงดุลอํานาจ กันนันนํามาซึง ความล่าช้าและความขาด
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนัน จึงเห็นว่าการแยกอํานาจบัญชาการคณะสงฆ์ออก
เป็น ๓ ทาง คือ สังฆสภาคณะสังฆมนตรี และคณะวินัยธร ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็นระบบทีมีผลบัน ทอนประสิทธิภาพในการดําเนินกิจการคณะสงฆ์ให้ต้อง
ประสบอุปสรรคและล่าช้า ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะรัฐมนตรีจึงได้ลงมติแต่งตัง
คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับ ใหม่ขึนใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เมือ
คณะกรรมการทํางานสําเร็จ รัฐบาลจึงได้ตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ โดย
คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับ ใหม่ขึนใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เมือ
คณะกรรมการทํางานสําเร็จ รัฐบาลจึงได้ตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ โดย
คําแนะนําและยิน ยอมของสภาร่างรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา เหตุผลในการประกาศใช้
พระราชบัญญัติฉบับนีคือ “โดยทีการจัดดําเนินกิจการคณะสงฆ์ มิใช่เป็นกิจการอัน
แบ่งแยกอํานาจดําเนินการด้วยวัตถุประสงค์เพือการถ่วงดุลอํา นาจเช่นที เป็นอยู่ตาม
กฎหมายในปัจจุบัน และโดยระบบเช่นว่านันเป็นผลบันทอนประสิทธิภาพแห่งการดําเนิน
กิจการจึงสมควร แก้ไขปรับปรุงเสียใหม่ ให้สมเด็จพระสังฆราช องค์สกลมหาสังฆปริณายก
ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ทางมหาเถรสมาคมตาม อํานาจกฎหมายและพระธรรมวินัย ทังนี
เพือความเจริญรุ่งเรืองแห่งพระพุทธศาสนา”
การเผยแผ่พระศาสนา
• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็มีอุปสรรคอยู่ เพราะมีสภาการศาสนาชาวมุสลิม• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็มีอุปสรรคอยู่ เพราะมีสภาการศาสนาชาวมุสลิม
(Muslim Religious Council) คอยบริหาร และดูแลผลประโยชน์ของชาว
มุสลิม ฉะนันการชักจูงชาวมาเลย์ทีไม่ใช่ชาวจีนให้มานับถือพระพุทธศาสนา จะทําให้
เกิดปฏิกิริยาตอบโต้ทางลบจากอํานาจรัฐซึงเป็นมุสลิม มีความพยายามเรียกร้องให้
แต่ละศาสนามีอํานาจปกครองบริหารตนเองเหมือนในประเทศ ไทยอยู่หลายครัง แต่
ก็ถูกปฏิเสธจากทางภาครัฐ พระสงฆ์ในประเทศมาเลเซียไม่สามารถออกบิณฑบาตได้ก็ถูกปฏิเสธจากทางภาครัฐ พระสงฆ์ในประเทศมาเลเซียไม่สามารถออกบิณฑบาตได้
เนืองจากรัฐบาลมาเลเซียได้ ประกาศกฎอัยการศึกเฉพาะกาลไว้ ทําให้เกิดการ
ต่อต้านรัฐบาลอย่างรุนแรงจากศาสนิกชนอืนๆทีไม่ใช่อิสลาม ปัจจุบันนี คณะสงฆ์
มาเลย์ยังขาดบุคลากรทีต้องการบวชนาน ๆ ทําให้บางวัดต้องปิดตัวลง เพราะไม่มี
พระจําพรรษา และจะเปิดอีกครังเมือมีพระจําพรรษาเพียงพอ แต่ก็ได้พยายาม
แก้ปัญหาด้วยการแบ่งพระไปจําพรรษาสามเดือน ตามคําขอของชาวบ้านทีมีพระ
จํานวนน้อย
• ในปัจจุบัน การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ทีรับเชือสายมาจาก• ในปัจจุบัน การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ทีรับเชือสายมาจาก
ชาวจีน ลังกา พม่า และชาวไทยและมีวัดและสํานักสงฆ์ตังอยู่ในบางแห่ง เช่น ทีเมือง
กัวลาลัมเปอร์และรัฐปีนัง มีวัดไทยตังอยู่และมีพระสงฆ์ไทยไปจําพรรษาอยู่ทีนัน วัดไทยที
กัวลาลัมเปอร์สร้างขึนเมือ พ.ศ. 2503 ด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล
มาเลเซีย เรียกชือว่า วัดเชตวัน สร้างเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยสวยงาม วัดไทยทีปีนัง ชือ
วัดไชยมังคลาราม เป็นวัดไทยทีเก่าแก่ ยังไม่ทราบปีทีสร้างแน่นอน วัดนีมีปูชนียสถาน
สําคัญ เช่น พระพุทธไสยาสน์ และวิหารพระพุทธเจดีย์ ซึงถือว่าใหญ่ทีสุดในเกาะปีนัง และ
วัดบุปผาราม เป็นวัดไทย เบืองต้นวัดนีถูกชาวบ้านยึดครองนานถึง 11 ปี 6 เดือน มีพระเถระ
สู้คดีจนได้กลับเป็นวัดไทยทุกวันนี วัดพม่าเป็นวัดเก่าแก่ทีสุดของเถรวาท คือสร้างมานาน
กว่า 120 ปี มีพระพม่าอยู่ประจํา มีวัดศรีลังกาอยู่ตรงข้าม เดิมเป็นวัดเดียวกัน ภายหลังถนน
ตัดแบ่งกลาง และวัดเกะก์ โละก์ ชี บนเขาอาเยร์ ฮิตัม เป็นวัดจีนแบบมหายาน ไม่ห่างจาก
กว่า 120 ปี มีพระพม่าอยู่ประจํา มีวัดศรีลังกาอยู่ตรงข้าม เดิมเป็นวัดเดียวกัน ภายหลังถนน
ตัดแบ่งกลาง และวัดเกะก์ โละก์ ชี บนเขาอาเยร์ ฮิตัม เป็นวัดจีนแบบมหายาน ไม่ห่างจาก
เขาปีนังมาก มีธรรมชาติสวยงาม และเป็นทีท่องเทียวทีนิยมมากในปีนัง ส่วนพระพุทธรูป
ปางไสยาสน์ทียาวทีสุดในประเทศมาเลเซียอยู่ที วัดโพธิวิหาร ในกลันตัน และยังมีวัดพุทธ
ไทยอีกจํานวนมากระหว่างตุมปัตกับปาสิรมัส และบางหมู่บ้านก็จัดงานฉลองเทศกาลต่างๆ
ของไทย เช่น วันสงกรานต์ และในรัฐกลันตันนี ชาวมาเลย์มุสลิม และชาวไทยพุทธก็อยู่
ด้วยกันอย่างสงบสุข แม้จะมีข่าวภาพการทําลายวัดพุทธซึงเป็นทีวิพากษ์วิจารย์กันอย่าง
แพร่หลาย ตามอินเทอร์เน็ตในแง่ของความเหมาะสม[
แบบฝึกหัดครังที
• เพราะเหตุใด ประชากรส่วนของมาเลเซียจึงนับถือศาสนาอิสลาม ทังที• เพราะเหตุใด ประชากรส่วนของมาเลเซียจึงนับถือศาสนาอิสลาม ทังที
ในอดีตพระพุทธศาสนานิกายมหายานเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากใน
ดินแดนบริเวณนี
ตอบตอบ
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร์
• พระพุทธศาสนาเริมต้นในประเทศสิงคโปร์ ตังแต่สมัยศรีวิชัย แต่• พระพุทธศาสนาเริมต้นในประเทศสิงคโปร์ ตังแต่สมัยศรีวิชัย แต่
ต่อมาชาวมาเลย์มุสลิมได้มาตังรกรากอยู่ และต่อมาก็มีชาวจีนโพ้น
ทะเลได้มาตังรกรากอยู่ทีสิงคโปร์ ได้นําพระพุทธศาสนาแบบมหายาน
มาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาทีแพร่หลายมากในประเทศนีมาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาทีแพร่หลายมากในประเทศนี
ประวัติ
ในอดีตประเทศสิงคโปร์ถือว่าเป็นส่วนหนึงของประเทศมาเลเซีย
การแผ่ขยายของพุทธศาสนาจึงจะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับประเทศ
มาเลเซีย และส่วนใหญ่ชาวสิงคโปร์จะเป็นชาวจีนโพ้นทะเล พุทธ
ศาสนาแบบมหายานจึงเจริญรุ่งเรือง และได้รับการประดิษฐานอย่าง
มันคงมันคง
สถานภาพของพุทธศาสนา แบบมหายานในสิงคโปร์ถือว่าดีมาก มีสถานภาพของพุทธศาสนา แบบมหายานในสิงคโปร์ถือว่าดีมาก มี
การปฏิบัติศาสนกิจ และการเผยแผ่อย่างจริงจัง โดยการแปลตํารา และ
คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาต่างๆ จัดตังโรงเรียนอบรมศาสนา
จารย์ และมีโรงเรียนสอนพุทธศาสนาว่า "มหาโพธิ" เพือจัดการเรียนการ
สอนพุทธศาสนาทุกระดับชันมีการก่อตังองค์กรยุวพุทธแห่งสิงคโปร์ขึน
เพือจัดกิจกรรมบรรยายธรรมภาษาต่างๆ จัดกิจกรรมการสวดมนต์ การ
สมาธิ การสนทนาธรรม และกิจกรรมอืนๆ อันแสดงถึงความ
เพือจัดกิจกรรมบรรยายธรรมภาษาต่างๆ จัดกิจกรรมการสวดมนต์ การ
สมาธิ การสนทนาธรรม และกิจกรรมอืนๆ อันแสดงถึงความ
เจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนา และความศรัทธาทางศาสนาของชาว
สิงคโปร์
ในประเทศสิงคโปร์มีวัดมหายานอยู่หลายแห่ง รวมทังสมาคมทางในประเทศสิงคโปร์มีวัดมหายานอยู่หลายแห่ง รวมทังสมาคมทาง
ศาสนา ซึงทําหน้าทีเผยแผ่ศาสนา ตังโรงเรียนสอนหนังสือ และ
ดําเนินงานสถานรับเลียงเด็กกําพร้า นอกจากวัดพระพุทธศาสนาแบบ
มหายานแล้ว ในสิงคโปร์มีวัดพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ซึงได้แก่ วัด
ไทย และวัดลังกา รวมอยู่ด้วย วัดไทยทีสําคัญมี 2 วัดคือ
วัดอนันทเมตยาราม สร้างเมือ พ.ศ. 2479 และทําการปฏิสังขรณ์ใหม่
เมือ พ.ศ. 2502 อีกวัดหนึง ชือ วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ สร้างเมือ พ.ศ.เมือ พ.ศ. 2502 อีกวัดหนึง ชือ วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ สร้างเมือ พ.ศ.
2506
• ประชาชนชาวสิงคโปร์มีหลายเชือชาติ ส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม คริสต์ และฮินดู• ประชาชนชาวสิงคโปร์มีหลายเชือชาติ ส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม คริสต์ และฮินดู
ทีนับถือพระพุทธศาสนามีจํานวนไม่มากนัก ชาวพุทธในสิงคโปร์ส่วนใหญ่เป็นชาวจีน
นิกายทีมีคนนับถือมากทีสุดในประเทศนี คือ พระพุทธศาสนานิกามหายาน
• การนับถือพระพุทธศาสนาของชาวสิงคโปร์ในปัจจุบันสรุปได้ ดังนี
• 1. มีกิจกรรมการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา เช่น ตังโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนา
ในวัน อาทิตย์ มีสอนทุกระดับชัน มีการบรรยาย อภิปราย แสดงปาฐกถา ซึงจัด
บรรยายให้ความรู้แก่ประชาชนตามสถาบันการศึกษาต่างๆ และในวัด
• 2. มีองค์กรเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีจัดตังขึนเป็นหลักฐาน อาทิ สหพันธ์• 2. มีองค์กรเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีจัดตังขึนเป็นหลักฐาน อาทิ สหพันธ์
พุทธศาสนิกชนชาวสิงคโปร์ สถาบันสตรีชาวพุทธสิงคโปร์ และองค์การพุทธยานแห่ง
สิงคโปร์ เป็นต้น
• 3.มีการสังคมสงเคราะห์ ซึงดําเนินการโดยพุทธสมาคมแห่งสิงคโปร์ สมาคมเหล่านี
จะจัดการสังคมสงเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ เช่น การบริจาคอาหาร เครืองนุ่งห่ม ยา
รักษาโรคแก่ผู้ยากไร้ มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนยากจน จักทีพักสําหรับชาวพุทธ
เป็นต้น
• 4. มีวัดสําหรับบําเพ็ญกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สิงคโปร์มีวัด• 4. มีวัดสําหรับบําเพ็ญกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สิงคโปร์มีวัด
พระพุทธศาสนาอยู่เป็นจํานวนมาก ส่วนมากเป็นวัดฝ่ายมหายาน และ
มีวัดไทยอยู่ ๑๘ วัด ชาวพุทธในสิงคโปร์ได้อาศัยวัดเป็นสถานทีสวด
มนต์ ทําสมาธิวิปัสสนา สนทนาธรรม ตลอดจนจัดกิจกรรมด้านสังคม
และวัฒนธรรมอืนๆ การปฏิบัติตนของชาวพุทธในสิงคโปร์ ส่วนใหญ่จะ
สะท้อนออกมาในรูปของสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือเกือกูลเพือนมนุษย์
ไม่เฉพาะในหมู่ชาวพุทธเท่านัน หากยังเผือแผ่ไปยังศาสนิกชนทีนับถือ
สะท้อนออกมาในรูปของสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือเกือกูลเพือนมนุษย์
ไม่เฉพาะในหมู่ชาวพุทธเท่านัน หากยังเผือแผ่ไปยังศาสนิกชนทีนับถือ
ศาสนาอืนๆ ด้วย ทังนีแสดงให้เห็นว่าชาวสิงคโปร์มิได้นับถือ
พระพุทธศาสนาตามธรรมเนียมประเพณีเท่านัน หากได้นําเอา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะหลัดเมตตากรุณา เป็นต้น มา
ปฏิบัติในชีวิตจริงอีกด้วย
แบบฝึกหัดครังที
• ญาญ่าเป็นนักท่องเทียวไทย เดินทางไปเทียวประเทศหนึงในเอเชีย• ญาญ่าเป็นนักท่องเทียวไทย เดินทางไปเทียวประเทศหนึงในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนีมีประชากรหลากหลายเชือชาติ ภาษา
ศาสนาและวัฒนธรรม แต่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเป็นชาวจีน
นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ญาญ่าไปเทียวประเทศอะไรนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ญาญ่าไปเทียวประเทศอะไร
ก. มาเลเซีย ข. เวียดนาม
ค. สิงคโปร์ ง. อินโดนีเซีย

More Related Content

What's hot

คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 

What's hot (20)

คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 

Similar to การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pageทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารPRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารzubasa_potato
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 

Similar to การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน (20)

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
 
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
 
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pageทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ (6)

ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 
Social M.2 term1
Social M.2 term1Social M.2 term1
Social M.2 term1
 

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน

  • 1. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพือนบ้าน โดย ครูเพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ รายวิชาพระพุทธศาสนา 3 ส22103 ชันมัธยมศึกษาปีที 2 ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
  • 2. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศลาว พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศลาวเมือรัชสมัยของพระเจ้าฟ้ าพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศลาวเมือรัชสมัยของพระเจ้าฟ้ า งุ้ม(พ.ศ. ๑๘๙๖-๑๙๑๔)แห่งอาณา จักรล้านช้าง ซึงมีพระบรมเดชานุภาพ มาก ชาวลาวยกย่องว่าพระองค์ทรงเป็นมหาราชองค์แรกของลาว มูลเหตุของพระพุทธศาสนาแผ่ขยายเข้าสู่ประเทศลาวในรัชสมัยของ พระเจ้าฟ้ างุ้ม เนืองจาก มเหสีของพระองค์ คือ พระนางแก้วยอดฟ้ า เป็น พระธิดาของพระเจ้าศรีจุลราชแห่งเมืองอินทปัตถ์ในอาณาจักกัมพูชาซึงพระ พระเจ้าฟ้ างุ้ม เนืองจาก มเหสีของพระองค์ คือ พระนางแก้วยอดฟ้ า เป็น พระธิดาของพระเจ้าศรีจุลราชแห่งเมืองอินทปัตถ์ในอาณาจักกัมพูชาซึงพระ นางเคยเคารพนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมาก่อน ตังแต่มาอยู่เมือง อินทปัตถ์แล้ว เมือพระนางเสด็จมาประทับทีอาณาจักรล้านช้าง พบเห็น ชาวเมืองยังคงเคารพนับถือลัทธิบูชาผีสางเทวดาจึงทรงไม่สบายพระทัย จึง ได้กราบทูลให้พระเจ้าฟ้ างุ้มแต่งคณะราชทูตไปทูลขอพระสงฆ์เพือมาช่วย ประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากพระเจ้าศรีจุลราช ซึงพระเจ้าฟ้ างุ้มทรงทํา ตามคําแนะนําของพระนางแก้วยอดฟ้ า
  • 3. เมือพระเจ้าศรีจุลราชทรงทราบพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟ้ างุ้มเมือพระเจ้าศรีจุลราชทรงทราบพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟ้ างุ้ม ซึงเป็นพระ ราชบุตรเขยก็ตอบสนองด้วยดี โดยโปรดเกล้าฯให้อาราธนา ให้พระมหาปาสมันตเถระกับพระมหาเทพลังกานําพระสงฆ์อีก ๒๐ รูป เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีอาณาจักรล้านช้าง นอกจากนี พระราชทานพระพุทธรูป ปัญจโลหะองค์หนึงพระนามว่า “พระบาง” พร้อมด้วยพระไตรปิฎก และหน่อพระศรีมาโพธิมาถวายแก่เจ้าฟ้ างุ้ม ด้วย นับตังแต่นันเป็นต้นมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็ด้วย นับตังแต่นันเป็นต้นมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็ เจริญรุ่งเรืองในประเทศลาว และได้กลายเป็นศาสนาประจําชาติไปใน ทีสุด
  • 4. • เมือพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาถ โอรสของพระเจ้าฟ้ างุ้มขึน• เมือพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาถ โอรสของพระเจ้าฟ้ างุ้มขึน ครองราชย์ (พ.ศ.๑๙๑๖-๑๙๕๘) ก็ทรงเอาพระทัยใส่ทํานุบํารุง พระพุทธศาสนาอย่างดียิง ทังนีเพราะพระองค์มีพระทัยใฝ่สันติชอบ บําเพ็ญบุญสร้างกุศล ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างวัดมโนรมย์ วัดอุโบสถ หอสมุดสําหรับเป็นทีศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกและโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมหลาย แห่งพระพุทธศาสนาได้วางรากฐานให้มันคงยิงขึน ในรัช สมัยของพระเจ้าโพธิสาร(พ.ศ.๒๐๖๓-๒๐๙๐) พระองค์ทรงได้มีพระ ธรรมหลาย แห่งพระพุทธศาสนาได้วางรากฐานให้มันคงยิงขึน ในรัช สมัยของพระเจ้าโพธิสาร(พ.ศ.๒๐๖๓-๒๐๙๐) พระองค์ทรงได้มีพระ บรมราชโองการห้ามประกอบพิธีกรรมทรงเจ้าเข้าผีทัวพระราช อาณาจักร และให้ชาวลาวเลิกนับถือลัทธิผีสางเทวดาให้หันมานับถือ พระพุทธศาสนาแทน
  • 5. ในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ส. ๒๐๙๑-๒๑๑๔) ซึงในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ส. ๒๐๙๑-๒๑๑๔) ซึง ได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาราชองค์ที ๒ ของลาว พระพุทธศาสนาก็ เจริญถึงขีดสุด ทังนีเพราะพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงเอาพระทัยใส่ ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา อย่างดียิง เช่น โปรดเกล้าฯให้สร้างพระธาตุ บังพวน พระธาตุโคตรบูร พระธาตุหลวง พระธาตุอิงรัง ทรงสร้าง พระพุทธรูปทีสําคัญ คือ พระองค์ตือ พระเสริม พระสุก พระใส พระ อินทร์แปง พระองค์แสน นอกจากนียังโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดต่าง ๆ ขึน พระพุทธรูปทีสําคัญ คือ พระองค์ตือ พระเสริม พระสุก พระใส พระ อินทร์แปง พระองค์แสน นอกจากนียังโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดต่าง ๆ ขึน เป็นจํานวนมาก เช่น วัดป่ารือสิงขร วัดป่ากันทอง วัดศรีเมือง วัดพระ แก้ว กล่าวได้ว่าพุทธสถานทีสําคัญ ๆ ของประเทศลาวส่วนใหญ่ถูก สร้างขึนในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแทบทัง สิน
  • 6.
  • 7.
  • 8. หลังจากรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระพุทธศาสนาในหลังจากรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระพุทธศาสนาใน ประเทศลาวก็ไม่ค่อยเจริญรุ่งเรืองนัก แต่ด้วยเหตุทีลาวมีเขตติดต่อกับ ไทย และประเทศทังสองมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้ น ดังนัน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากไทยจึงได้เผยแผ่เข้าไปเจริญอยู่ใน ประเทศ ลาวด้วย ซึงช่วยคําชูให้พระพุทธ ศาสนาในประเทศลาว สามารถดํารงอยู่ได้ เมือลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรังเศสใน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระพุทธศาสนาก็เสือมโทรมลง เพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ถึง๒๔๓๖ พระพุทธศาสนาก็เสือมโทรมลง เพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ถึง กระนันก็ยังมีความสําคัญอยู่ในฐานะเป็นศาสนาประจําชาติลาวสืบมา ถึงแม้ในช่วงสงครามอินโดจีน พระพุทธศาสนาในลาวจะได้รับความ กระทบกระเทือนมากเพราะขาดการทํานุบํารุง แต่ชาวลาวส่วนใหญ่ ยังคงมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู่อย่างแนบแน่นช่วยกัน ประคับประคองพระพุทธศาสนาให้ตังมันอยู่ได้
  • 9. แบบฝึกหัดครังที 1. “พระบาง” คือพระพุทธรูปปัญจโลหะ เป็นพระพุทธรูปทีหล่อขึนจาก1. “พระบาง” คือพระพุทธรูปปัญจโลหะ เป็นพระพุทธรูปทีหล่อขึนจาก โลหะทัง 5 ชนิด ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ประกอบด้วย 2. บอกชือพระพุทธรูปทีสร้างในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช2. บอกชือพระพุทธรูปทีสร้างในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ตอบ
  • 10. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกัมพูชา แรกเดิมชาวกัมพูชานับถือศาสนาพราหมณ์และฮินดู และแรกเดิมชาวกัมพูชานับถือศาสนาพราหมณ์และฮินดู และ มานับถือพระพุทธศาสนาทีหลัง พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามาสู่ ประเทศกัมพูชา ราวพุทธศตวรรษที 8 ในช่วงอาณาจักรฟูนันกําลัง รุ่งเรือง โดยได้รับเอานิกาย มหายานมานับถือ เพราะในสมัยนันได้มีการรุ่งเรือง โดยได้รับเอานิกาย มหายานมานับถือ เพราะในสมัยนันได้มีการ ติดต่อค้าขายกับประเทศจีนและอินเดีย จึงได้รับอิทธิพลศาสนา มหายานมาด้วย หลังจากอาณาจักรฟูนันสินอํานาจลง อาณาจักรเจน ละ ได้เข้ามามีอํานาจและรุ่งเรือง แต่ว่ายังนับถือศาสนาฮินดูอยู่
  • 11. • พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่อาณาจักรกัมพูชาในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน (• พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่อาณาจักรกัมพูชาในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน ( พ.ศ. 1021 - 1057) เป็นครังแรกแต่ว่าไม่รับการนับถือเต็มที เพราะยังมี การนับถือศาสนาพราหมณ์อยู่ พระพุทธศาสนาและศาสนาพรามหณ์ ได้รับการนับถือคู่กันมีความเจริญและความเสือม ไม่คงที อยู่ทีกษัตริย์ ในสมัยนันอยู่จะทรงนับถือศาสนาใด พระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรือง อีกครังหนึงในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที 5 ( พ.ศ. 1511 - 1544) โดยมีการ ส่งเสริมการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาและได้นําคัมภีร์จากต่าง อีกครังหนึงในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที 5 ( พ.ศ. 1511 - 1544) โดยมีการ ส่งเสริมการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาและได้นําคัมภีร์จากต่าง ประเทศมาสู่อาณาจักรเป็นจํานวนมาก ฯ
  • 12. • ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที 1 (พ.ศ. 1545 - 1593) ทรงนับถือ• ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที 1 (พ.ศ. 1545 - 1593) ทรงนับถือ พระพุทธศาสนาแบบมหายานทีได้รับอิทธิพลจากนครศรีธรรมราชอย่างเคร่ง ครัด จนถึงในสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที 7 ( พ.ศ. 1724 - 1761) ประมาณ พุทธศตวรรษที 18 พระพุทธศาสนาแบบมหายานได้เจริญรุ่งเรืองเต็มที ให้ สร้างวัดมหายาน ทรงตังลัทธิพุทธราชแทนลัทธิเทวราช ให้สร้างนครธม เป็น ราชธานี ให้สร้างวิหาร "ปราสาทบายน" ให้สร้างพระพุทธรูปชือว่า "พระชัย พุทธมหานาถ" ประดิษฐานไว้ตามเมืองต่าง ๆ ทัวราชอาณาจักรทรงนิมนต์ พระสงฆ์เข้าไปบิณฑบาตในพระราชวังทุกวัน ๆ ละ 400 รูป เมือสินยุคยุคพระสงฆ์เข้าไปบิณฑบาตในพระราชวังทุกวัน ๆ ละ 400 รูป เมือสินยุคยุค พระเจ้าชัยวรมันที 7 แล้ว พระพุทธศาสนามหายานได้เสือมลง และ พระพุทธศาสนาหีนยาน ได้เจริญเข้ามาแทนที พ.ศ. 2384
  • 13. ในสมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ได้นํานิกายธรรมยุติจากในสมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ได้นํานิกายธรรมยุติจาก เมืองไทยไปประดิษฐาน ได้จักตังโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมชันสูงใน กรุงพนมเปญ ทีชือว่า "ศาลาบาลีชันสูง" พ.ศ. 2410 กัมพูชา ตกเป็นเมืองขึนของฝรังเศส พระพุทธศาสนา ได้เสือมลง พ.ศ. 2497 กัมพูชา ได้รับเอกราชในสมัยพระเจ้านโรดมสีหนุ พระพุทธศาสนาได้เริมต้นขึนอีก และได้ประกาศเป็นศาสนาประจําชาติพระพุทธศาสนาได้เริมต้นขึนอีก และได้ประกาศเป็นศาสนาประจําชาติ หลังจากนันกัมพูชาได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองกองทัพคอมมิวนิสต์ พระพุทธศาสนาจึงได้ถึงภาวะวิกฤตอีก ด้วยเหตุการณ์บ้านเมืองไม่มี ความสงบสุข พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา จึงไม่ได้รับการเอาใจ ใส่อย่างเต็มที ฯ
  • 14. ประวัติพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศอินโดนีเซียในพุทธศตวรรษที 3 คราวทีพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศอินโดนีเซียในพุทธศตวรรษที 3 คราวที พระเจ้าอโศกมหาราช ส่งพระโสณะ และพระอุตตระเดินทางมาเผยแผ่พุทธ ธรรม{[บริเวณใด]} ต่อมาในพุทธศตวรรษที 12 ได้เกิดรัฐมหาอํานาจทาง ทะเลชือว่า อาณาจักรศรีวิชัย (Srivijaya) ซึงมีอิทธิพลตังแต่อินโดนีเซีย จนถึงคาบสมุทรมลายู รวมไปถึงทางใต้ของประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยนีจนถึงคาบสมุทรมลายู รวมไปถึงทางใต้ของประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยนี ศาสนิกชนส่วนใหญ่จะเป็นนิกายมหายาน และแพร่หลายมาก และได้พบ หลักฐานทางโบราณคดีมากมาย ได้แก่ พระพิมพ์ดินดิบ และพระโพธิสัตว์ เป็นต้น
  • 15. กลางพุทธศตวรรษที 13 บนเกาะชวาทางภาคกลาง ได้เกิดราชวงศ์กลางพุทธศตวรรษที 13 บนเกาะชวาทางภาคกลาง ได้เกิดราชวงศ์ ทียิงใหญ่ นามว่า ราชวงศ์ไศเลนทร์ ซึงในเวลาต่อมา ราชวงศ์ไศ เลนทร์ก็มีอํานาจปกครองอาณาจักรศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที 15 และ ได้มีการติดต่อราชวงศ์ปาละ แห่งเบงกอล และได้มีการแลกเปลียน วัฒนธรรมกัน โดยอาณาจักรศรีวิชัยได้ส่งพระภิกษุไปศึกษาที มหาวิทยาลัยนาลันทา ซึงกษัตริย์แห่งเบงกอลก็ให้การต้อนรับอย่างดี และทางเบงกอลก็ได้ส่งพระภิกษุ และช่างฝีมือดี มาเผยแผ่พุทธศาสนาและทางเบงกอลก็ได้ส่งพระภิกษุ และช่างฝีมือดี มาเผยแผ่พุทธศาสนา และสอนศิลปะสมัยปาละ แก่ชาวนครศรีวิชัยด้ว
  • 16. • พระพุทธศาสนาเสือมมาก ในสมัยพุทธศตวรรษที 19 เมืออาณาจักรศรี• พระพุทธศาสนาเสือมมาก ในสมัยพุทธศตวรรษที 19 เมืออาณาจักรศรี วิชัยเสือมลง และทําให้อาณาจักรมัชปาหิตเข้ามามีอํานาจแทน ซึง อาณาจักรนีเป็นฮินดู แต่ต่อมากษัตริย์มัชปาหิตพระองค์หนึง นามว่า "ระเด่นปาทา" ทรงเกิดความเลือมใสในศาสนาอิสลาม ทรงยกย่องให้ ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจําชาติ และห้ามเผยแผ่พุทธศาสนา
  • 17. • ชาวพุทธในอินโดนีเซียช่วงนี ไม่ได้มีบทบาทเด่น ๆ ใด ๆ เลย และ• ชาวพุทธในอินโดนีเซียช่วงนี ไม่ได้มีบทบาทเด่น ๆ ใด ๆ เลย และ กลายเป็นชนกลุ่มน้อย ภายใต้ชาวมุสลิม ซึงเป็นชนกลุ่มใหญ่ และเป็น เช่นนีเรือย ๆ จนถึงยุคฮอลันดาปกครอง และได้รับเอกราช ชาว อินโดนีเซียพุทธนันส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันตกของเกาะชวา เกาะบาหลี เกาะบังกา-เกาะเบลิตุง และบางส่วนของเกาะสุมาตรา
  • 18. • ปัจจุบัน• ปัจจุบัน ชาวอินโดนีเซียทีนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานอยู่นันจะมีอยู่บนเกาะ ชวาได้แก่ ชาวชวา (นับถือพุทธศาสนาร้อยละ 1) และชาวซุนดา และจะมีชาวบาหลี บนเกาะบาหลี ซึงบางคนก็นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดูแบบ พืนเมืองควบคู่กันไป และมีชาวซาซะก์บางคนทีนับถือศาสนาพุทธ และลัทธิวตูตลู ซึงเป็นศาสนาอิสลาม ที รวมกับความเชือแบบฮินดู-พุทธ อยู่บ้างบนเกาะลอมบอก รวมไปถึงชาวจีนโพ้นทะเล ทีอาศัยบนเกาะชวา ทุกๆปี ศาสนิกชนเหล่านีจะมาประกอบพิธีในวันวิสาขบูชาทีบุโร พุทโธ ทีเมืองมุนตีลาน ทีอินโดนีเซียนีได้จัดตังสมาคมเพือสอนพระพุทธศาสนาแก่ เยาวชน มีการบรรยายธรรม ปฏิบัติสมาธิ ออกวารสาร เช่น วารสารวิปัสสนา และ วารสารธรรมจารณี ซึงการปกครองดูแลศาสนิกชนในอินโดนีเซียจะขึนกับพุทธ เยาวชน มีการบรรยายธรรม ปฏิบัติสมาธิ ออกวารสาร เช่น วารสารวิปัสสนา และ วารสารธรรมจารณี ซึงการปกครองดูแลศาสนิกชนในอินโดนีเซียจะขึนกับพุทธ สมาคมในอินโดนีเซีย มีสํานักงานใหญ่ในกรุงจาการ์ตา มีสาขาย่อย 6 แห่ง • ปัจจุบันประเทศอินโดนีเซีนได้เริมมีการฟืนฟูพระพุทธศาสนา โดยการริเริมจาก พระสงฆ์ชาวศรีลังกา และชาวพืนเมือง ทีได้รับการอุปสมบทจากประเทศพม่า และที ประเทศไทย ในวัดบวรนิเวศวิหาร และวัดเบญจมบพิตร ปัจจุบันศาสนาพุทธนันมีศา สนิกชนอยู่ประมาณ 150,000 คน หรือประมาณร้อยละ 1 ของประชากรชาว อินโดนีเซียทังหมด
  • 19. • ศาสนสถาน• ศาสนสถาน • ประเทศอินโดนีเซียปัจจุบันมีวัดพระพุทธศาสนาอยู่ประมาณ 150 วัด ในจํานวนนี 100 วัด เป็นวัดฝ่ายมหายาน อีก 50 วัดเป็นวัดฝ่ายหีนยาน (เถรวาท) ซึงเป็นวัดไทย 4 แห่ง ได้แก่ วัดพุทธเมตตา วัดวิปัสสนาครา หะ วัดเมนดุตพุทธศาสนวงศ์ และวัดธรรมทีปาราม วัดเหล่านีส่วนใหญ่ อยู่ในความดูแลของฝ่ายฆราวาส เพราะพระภิกษุมีจํานวนน้อย การ ปกครองดูแลพุทธศาสนิกชนขึนอยู่กับพุทธสมาคม ซึงมีสํานักงานใหญ่ปกครองดูแลพุทธศาสนิกชนขึนอยู่กับพุทธสมาคม ซึงมีสํานักงานใหญ่ ตังอยู่ในเมืองจาการ์ตา นครหลวงของอินโดนีเซีย และมีสมาชิก 6 แห่ง ตังอยู่ตามเมืองต่างๆ รวมมีสมาชิกทังสินประมาณ 150,000 คน • มีคัมภีร์ทางพุทธศาสนาแบบชวาทีสําคัญ 2 เล่ม ได้แก่ คัมภีร์สังหยัง กามาหานิกัน (Sang hyang Kamahaanikan) และคัมภีร์ กามาหายานันมันตรานายา (Kamahayanan Mantranaya)
  • 20. • การฟืนฟูพระพุทธศาสนา การฟืนฟูพระพุทธศาสนาได้เริมขึนใหม่อีกครังเมือประมาณ 10 กว่าปีมานี เป็นการริเริมโดยพระสงฆ์ชาวลังกาและพระสงฆ์ชาว พืนเมืองทีได้รับการอุปสมบทไปจาก วัดบวรนิเวศวิหารและวัดเบญจม บพิตรในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2512 คณะสงฆ์ไทยได้ส่งพระธรรมทูต จากประเทศไทยไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซียทังจากประเทศไทยไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซียทัง ชวาภาคกลาง ภาคตะวันออก และตะวันตก ขณะนียังมิได้สร้างวัดไทย ขึนแต่ก็ได้เตรียมการทีจะสร้างวัดไทยขึนในสถาน ทีไม่ห่างไกลจากมหา สถูปโบโรบุดูร์ไว้แล้ว ปัจจุบันพระธรรมทูตจากประเทศไทยมีสํานักงาน เผยแผ่เป็นศูนย์กลางอยู่ทีสํานักงานพุทธเมตตา ตังอยู่เลขที 59 ถนน เตอรูซานเล็มบังดี กรุงจาการ์ตา
  • 21. พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย • อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมา• อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมา ตังแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย แต่ต่อมาเมือศาสนาอิสลามได้เข้ามา แพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตังแต่พุทธศตวรรษที 20 ในรัชสมัยของ พระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทําให้พุทธศาสนาหมดความสําคัญไป ในพระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทําให้พุทธศาสนาหมดความสําคัญไป ใน ระยะเวลาหนึง
  • 22. จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เชือกันว่าพระพุทธศาสนาได้แผ่สู่จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เชือกันว่าพระพุทธศาสนาได้แผ่สู่ มาเลเซียตังแต่พุทธศตวรรษที 3 โดยนิกายเถรวาทซึงไม่แพร่หลาย เท่าใดนัก ต่อมาในพุทธศตวรรษที 12 อิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัย จึง ได้มีพุทธศาสนาแบบมหายาน แผ่ขยายมาถึงมาเลเซีย พ.ศ. 1837 ภายใต้การปกครองของอาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคําแหง มหาราช ซึงแผ่อํานาจลงทางคาบสมุทรมลายู และได้นครศรีธรรมราช เป็นศูนย์กลางอํานาจหัวเมืองมลายูทังหลาย แต่เนืองจากประชาชนใน มหาราช ซึงแผ่อํานาจลงทางคาบสมุทรมลายู และได้นครศรีธรรมราช เป็นศูนย์กลางอํานาจหัวเมืองมลายูทังหลาย แต่เนืองจากประชาชนใน แถบนี นับถือพุทธศาสนาแบบมหายานมาหลายร้อยปีแล้ว พุทธศาสนา แบบเถรวาทจึงไม่ค่อยมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเชือของคนบริเวณนี มากนัก
  • 23. • ซึงจะปรากฏแต่รูปพระโพธิสัตว์ หรือรูปเคารพตามแบบมหายาน• ซึงจะปรากฏแต่รูปพระโพธิสัตว์ หรือรูปเคารพตามแบบมหายาน โดยมากความรุ่งเรืองของพุทธศาสนาในมาเลเซียเริมขึนได้ไม่นาน พระ เจ้าปรเมศวร แห่งอาณาจักรมะละกา ทรงอภิเษกกับ เจ้าหญิงแห่งปาไซ ทีเป็นมุสลิม พระองค์จึงละทิงศาสนาฮินดู-พุทธ และเข้ารีตศาสนา อิสลาม ในขณะทีประชาชนเลือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู่ ต่อมา ในรัชกาลของสุลต่านมัลโซร์ชาห์ ซึงทรงมีความเลือมใสในศาสนา อิสลาม ทําให้ราษฎรเข้ารีตศาสนาอิสลามตามพระองค์ (ในประเทศอิสลาม ทําให้ราษฎรเข้ารีตศาสนาอิสลามตามพระองค์ (ในประเทศ มาเลเซีย)
  • 24. • แต่เนืองจากมีชาวไทยทีอาศัยอยู่ในสามรัฐทางภาคเหนือของมาเลเซีย• แต่เนืองจากมีชาวไทยทีอาศัยอยู่ในสามรัฐทางภาคเหนือของมาเลเซีย ได้แก่ รัฐเกดะห์ รัฐกลันตัน และรัฐปะลิส เป็นเวลายาวนาน จนได้ รับรองสถานะเทียบเท่าชาวมาเลย์ แต่ชนชาวไทย จะแสดงถึงความเป็น ไทย คือ ความเป็นพุทธเถรวาท ซึงมีพิธีกรรม และสถาปัตยกรรมทาง ศาสนาเหมือนกันกับชาวพุทธในประเทศไทย โดยมีชาวจีนให้ ความ อุปถัมภ์วัดทางการเงิน และช่วยเหลืองานต่างๆ ช่วงเทศกาลงานบุญ แต่ ชาวไทยพุทธมีบทบาทในการดูแลศาสนามากกว่า เช่น การบวชของชาวชาวไทยพุทธมีบทบาทในการดูแลศาสนามากกว่า เช่น การบวชของชาว ไทยจะยาวนานกว่าชาวจีน จนสามารถแยกได้ว่า กลุ่มใดเป็นกลุ่มชาว ไทย และชาวจีนในมาเลเซีย ส่วนวัดวาอารามของชาวสยามจะ อยู่แถบ ชนบท มีสถาปัตยกรรมเป็นแบบไทย พิธีกรรมเป็นแบบชาวไทย คือเน้น การทําบุญเป็นหลัก ซึงผู้ทีจะบริจาคให้วัดจะเป็นชาวจีนโดยมาก
  • 25. • ดังนันวัดไทยหลายๆวัดทีมีชาวจีนอุปถัมภ์จะมีรูปเคารพเจ้าแม่กวนอิม• ดังนันวัดไทยหลายๆวัดทีมีชาวจีนอุปถัมภ์จะมีรูปเคารพเจ้าแม่กวนอิม หรือเทพเจ้าจีน ไว้เพือยึดเหนียวศรัทธาของชาวจีน ในแต่ละชุมชน จะมี สํานักสงฆ์ไว้ เพือให้เป็นทีพํานักของพระสงฆ์ ทีหมุนเวียนกันมาจํา พรรษาโปรดญาติโยม แต่ทีวัดใหญ่จะมีพระสงฆ์ไม่ตํากว่า 5 รูป โดย พระสงฆ์ทีบวชนานๆ และพระสงฆ์ทีบวชระยะสันๆอยู่จําพรรษาในวัด นันๆ ชาวจีนส่วนมาก จะให้ความนับถือพระทีเก่งทางไสยศาสตร์ และ สมุนไพร บางครังก็นิมนต์ไปประกอบพิธีทางศาสนาทีบ้านของตนสมุนไพร บางครังก็นิมนต์ไปประกอบพิธีทางศาสนาทีบ้านของตน
  • 26. • การตราพระราชบัญญัติฉบับนีเกิดจากความต้องการของรัฐบาลในสมัยนัน ซึงมีจอม• การตราพระราชบัญญัติฉบับนีเกิดจากความต้องการของรัฐบาลในสมัยนัน ซึงมีจอม พลสฤษดิ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีทีมุ่ง ปรับเปลียนรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ให้ สอดคล้องกับนโยบายการปกครองประเทศของ จอมพลสฤษดิ ทีนิยมการรวบอํานาจ การ ตัดสินใจเด็ดขาดไว้กับผู้นําทีเข้มแข็ง จอมพลสฤษดิเห็นว่าการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยทีกําหนดให้มีการถ่วงดุลอํานาจ กันนันนํามาซึง ความล่าช้าและความขาด ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนัน จึงเห็นว่าการแยกอํานาจบัญชาการคณะสงฆ์ออก เป็น ๓ ทาง คือ สังฆสภาคณะสังฆมนตรี และคณะวินัยธร ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็นระบบทีมีผลบัน ทอนประสิทธิภาพในการดําเนินกิจการคณะสงฆ์ให้ต้อง ประสบอุปสรรคและล่าช้า ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะรัฐมนตรีจึงได้ลงมติแต่งตัง คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับ ใหม่ขึนใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เมือ คณะกรรมการทํางานสําเร็จ รัฐบาลจึงได้ตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ โดย คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับ ใหม่ขึนใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เมือ คณะกรรมการทํางานสําเร็จ รัฐบาลจึงได้ตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ โดย คําแนะนําและยิน ยอมของสภาร่างรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนีคือ “โดยทีการจัดดําเนินกิจการคณะสงฆ์ มิใช่เป็นกิจการอัน แบ่งแยกอํานาจดําเนินการด้วยวัตถุประสงค์เพือการถ่วงดุลอํา นาจเช่นที เป็นอยู่ตาม กฎหมายในปัจจุบัน และโดยระบบเช่นว่านันเป็นผลบันทอนประสิทธิภาพแห่งการดําเนิน กิจการจึงสมควร แก้ไขปรับปรุงเสียใหม่ ให้สมเด็จพระสังฆราช องค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ทางมหาเถรสมาคมตาม อํานาจกฎหมายและพระธรรมวินัย ทังนี เพือความเจริญรุ่งเรืองแห่งพระพุทธศาสนา”
  • 27. การเผยแผ่พระศาสนา • การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็มีอุปสรรคอยู่ เพราะมีสภาการศาสนาชาวมุสลิม• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็มีอุปสรรคอยู่ เพราะมีสภาการศาสนาชาวมุสลิม (Muslim Religious Council) คอยบริหาร และดูแลผลประโยชน์ของชาว มุสลิม ฉะนันการชักจูงชาวมาเลย์ทีไม่ใช่ชาวจีนให้มานับถือพระพุทธศาสนา จะทําให้ เกิดปฏิกิริยาตอบโต้ทางลบจากอํานาจรัฐซึงเป็นมุสลิม มีความพยายามเรียกร้องให้ แต่ละศาสนามีอํานาจปกครองบริหารตนเองเหมือนในประเทศ ไทยอยู่หลายครัง แต่ ก็ถูกปฏิเสธจากทางภาครัฐ พระสงฆ์ในประเทศมาเลเซียไม่สามารถออกบิณฑบาตได้ก็ถูกปฏิเสธจากทางภาครัฐ พระสงฆ์ในประเทศมาเลเซียไม่สามารถออกบิณฑบาตได้ เนืองจากรัฐบาลมาเลเซียได้ ประกาศกฎอัยการศึกเฉพาะกาลไว้ ทําให้เกิดการ ต่อต้านรัฐบาลอย่างรุนแรงจากศาสนิกชนอืนๆทีไม่ใช่อิสลาม ปัจจุบันนี คณะสงฆ์ มาเลย์ยังขาดบุคลากรทีต้องการบวชนาน ๆ ทําให้บางวัดต้องปิดตัวลง เพราะไม่มี พระจําพรรษา และจะเปิดอีกครังเมือมีพระจําพรรษาเพียงพอ แต่ก็ได้พยายาม แก้ปัญหาด้วยการแบ่งพระไปจําพรรษาสามเดือน ตามคําขอของชาวบ้านทีมีพระ จํานวนน้อย
  • 28. • ในปัจจุบัน การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ทีรับเชือสายมาจาก• ในปัจจุบัน การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ทีรับเชือสายมาจาก ชาวจีน ลังกา พม่า และชาวไทยและมีวัดและสํานักสงฆ์ตังอยู่ในบางแห่ง เช่น ทีเมือง กัวลาลัมเปอร์และรัฐปีนัง มีวัดไทยตังอยู่และมีพระสงฆ์ไทยไปจําพรรษาอยู่ทีนัน วัดไทยที กัวลาลัมเปอร์สร้างขึนเมือ พ.ศ. 2503 ด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล มาเลเซีย เรียกชือว่า วัดเชตวัน สร้างเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยสวยงาม วัดไทยทีปีนัง ชือ วัดไชยมังคลาราม เป็นวัดไทยทีเก่าแก่ ยังไม่ทราบปีทีสร้างแน่นอน วัดนีมีปูชนียสถาน สําคัญ เช่น พระพุทธไสยาสน์ และวิหารพระพุทธเจดีย์ ซึงถือว่าใหญ่ทีสุดในเกาะปีนัง และ วัดบุปผาราม เป็นวัดไทย เบืองต้นวัดนีถูกชาวบ้านยึดครองนานถึง 11 ปี 6 เดือน มีพระเถระ สู้คดีจนได้กลับเป็นวัดไทยทุกวันนี วัดพม่าเป็นวัดเก่าแก่ทีสุดของเถรวาท คือสร้างมานาน กว่า 120 ปี มีพระพม่าอยู่ประจํา มีวัดศรีลังกาอยู่ตรงข้าม เดิมเป็นวัดเดียวกัน ภายหลังถนน ตัดแบ่งกลาง และวัดเกะก์ โละก์ ชี บนเขาอาเยร์ ฮิตัม เป็นวัดจีนแบบมหายาน ไม่ห่างจาก กว่า 120 ปี มีพระพม่าอยู่ประจํา มีวัดศรีลังกาอยู่ตรงข้าม เดิมเป็นวัดเดียวกัน ภายหลังถนน ตัดแบ่งกลาง และวัดเกะก์ โละก์ ชี บนเขาอาเยร์ ฮิตัม เป็นวัดจีนแบบมหายาน ไม่ห่างจาก เขาปีนังมาก มีธรรมชาติสวยงาม และเป็นทีท่องเทียวทีนิยมมากในปีนัง ส่วนพระพุทธรูป ปางไสยาสน์ทียาวทีสุดในประเทศมาเลเซียอยู่ที วัดโพธิวิหาร ในกลันตัน และยังมีวัดพุทธ ไทยอีกจํานวนมากระหว่างตุมปัตกับปาสิรมัส และบางหมู่บ้านก็จัดงานฉลองเทศกาลต่างๆ ของไทย เช่น วันสงกรานต์ และในรัฐกลันตันนี ชาวมาเลย์มุสลิม และชาวไทยพุทธก็อยู่ ด้วยกันอย่างสงบสุข แม้จะมีข่าวภาพการทําลายวัดพุทธซึงเป็นทีวิพากษ์วิจารย์กันอย่าง แพร่หลาย ตามอินเทอร์เน็ตในแง่ของความเหมาะสม[
  • 29. แบบฝึกหัดครังที • เพราะเหตุใด ประชากรส่วนของมาเลเซียจึงนับถือศาสนาอิสลาม ทังที• เพราะเหตุใด ประชากรส่วนของมาเลเซียจึงนับถือศาสนาอิสลาม ทังที ในอดีตพระพุทธศาสนานิกายมหายานเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากใน ดินแดนบริเวณนี ตอบตอบ
  • 30. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร์ • พระพุทธศาสนาเริมต้นในประเทศสิงคโปร์ ตังแต่สมัยศรีวิชัย แต่• พระพุทธศาสนาเริมต้นในประเทศสิงคโปร์ ตังแต่สมัยศรีวิชัย แต่ ต่อมาชาวมาเลย์มุสลิมได้มาตังรกรากอยู่ และต่อมาก็มีชาวจีนโพ้น ทะเลได้มาตังรกรากอยู่ทีสิงคโปร์ ได้นําพระพุทธศาสนาแบบมหายาน มาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาทีแพร่หลายมากในประเทศนีมาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาทีแพร่หลายมากในประเทศนี
  • 32. สถานภาพของพุทธศาสนา แบบมหายานในสิงคโปร์ถือว่าดีมาก มีสถานภาพของพุทธศาสนา แบบมหายานในสิงคโปร์ถือว่าดีมาก มี การปฏิบัติศาสนกิจ และการเผยแผ่อย่างจริงจัง โดยการแปลตํารา และ คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาต่างๆ จัดตังโรงเรียนอบรมศาสนา จารย์ และมีโรงเรียนสอนพุทธศาสนาว่า "มหาโพธิ" เพือจัดการเรียนการ สอนพุทธศาสนาทุกระดับชันมีการก่อตังองค์กรยุวพุทธแห่งสิงคโปร์ขึน เพือจัดกิจกรรมบรรยายธรรมภาษาต่างๆ จัดกิจกรรมการสวดมนต์ การ สมาธิ การสนทนาธรรม และกิจกรรมอืนๆ อันแสดงถึงความ เพือจัดกิจกรรมบรรยายธรรมภาษาต่างๆ จัดกิจกรรมการสวดมนต์ การ สมาธิ การสนทนาธรรม และกิจกรรมอืนๆ อันแสดงถึงความ เจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนา และความศรัทธาทางศาสนาของชาว สิงคโปร์
  • 33. ในประเทศสิงคโปร์มีวัดมหายานอยู่หลายแห่ง รวมทังสมาคมทางในประเทศสิงคโปร์มีวัดมหายานอยู่หลายแห่ง รวมทังสมาคมทาง ศาสนา ซึงทําหน้าทีเผยแผ่ศาสนา ตังโรงเรียนสอนหนังสือ และ ดําเนินงานสถานรับเลียงเด็กกําพร้า นอกจากวัดพระพุทธศาสนาแบบ มหายานแล้ว ในสิงคโปร์มีวัดพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ซึงได้แก่ วัด ไทย และวัดลังกา รวมอยู่ด้วย วัดไทยทีสําคัญมี 2 วัดคือ วัดอนันทเมตยาราม สร้างเมือ พ.ศ. 2479 และทําการปฏิสังขรณ์ใหม่ เมือ พ.ศ. 2502 อีกวัดหนึง ชือ วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ สร้างเมือ พ.ศ.เมือ พ.ศ. 2502 อีกวัดหนึง ชือ วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ สร้างเมือ พ.ศ. 2506
  • 34. • ประชาชนชาวสิงคโปร์มีหลายเชือชาติ ส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม คริสต์ และฮินดู• ประชาชนชาวสิงคโปร์มีหลายเชือชาติ ส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม คริสต์ และฮินดู ทีนับถือพระพุทธศาสนามีจํานวนไม่มากนัก ชาวพุทธในสิงคโปร์ส่วนใหญ่เป็นชาวจีน นิกายทีมีคนนับถือมากทีสุดในประเทศนี คือ พระพุทธศาสนานิกามหายาน • การนับถือพระพุทธศาสนาของชาวสิงคโปร์ในปัจจุบันสรุปได้ ดังนี • 1. มีกิจกรรมการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา เช่น ตังโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนา ในวัน อาทิตย์ มีสอนทุกระดับชัน มีการบรรยาย อภิปราย แสดงปาฐกถา ซึงจัด บรรยายให้ความรู้แก่ประชาชนตามสถาบันการศึกษาต่างๆ และในวัด • 2. มีองค์กรเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีจัดตังขึนเป็นหลักฐาน อาทิ สหพันธ์• 2. มีองค์กรเผยแผ่พระพุทธศาสนาทีจัดตังขึนเป็นหลักฐาน อาทิ สหพันธ์ พุทธศาสนิกชนชาวสิงคโปร์ สถาบันสตรีชาวพุทธสิงคโปร์ และองค์การพุทธยานแห่ง สิงคโปร์ เป็นต้น • 3.มีการสังคมสงเคราะห์ ซึงดําเนินการโดยพุทธสมาคมแห่งสิงคโปร์ สมาคมเหล่านี จะจัดการสังคมสงเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ เช่น การบริจาคอาหาร เครืองนุ่งห่ม ยา รักษาโรคแก่ผู้ยากไร้ มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนยากจน จักทีพักสําหรับชาวพุทธ เป็นต้น
  • 35. • 4. มีวัดสําหรับบําเพ็ญกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สิงคโปร์มีวัด• 4. มีวัดสําหรับบําเพ็ญกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สิงคโปร์มีวัด พระพุทธศาสนาอยู่เป็นจํานวนมาก ส่วนมากเป็นวัดฝ่ายมหายาน และ มีวัดไทยอยู่ ๑๘ วัด ชาวพุทธในสิงคโปร์ได้อาศัยวัดเป็นสถานทีสวด มนต์ ทําสมาธิวิปัสสนา สนทนาธรรม ตลอดจนจัดกิจกรรมด้านสังคม และวัฒนธรรมอืนๆ การปฏิบัติตนของชาวพุทธในสิงคโปร์ ส่วนใหญ่จะ สะท้อนออกมาในรูปของสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือเกือกูลเพือนมนุษย์ ไม่เฉพาะในหมู่ชาวพุทธเท่านัน หากยังเผือแผ่ไปยังศาสนิกชนทีนับถือ สะท้อนออกมาในรูปของสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือเกือกูลเพือนมนุษย์ ไม่เฉพาะในหมู่ชาวพุทธเท่านัน หากยังเผือแผ่ไปยังศาสนิกชนทีนับถือ ศาสนาอืนๆ ด้วย ทังนีแสดงให้เห็นว่าชาวสิงคโปร์มิได้นับถือ พระพุทธศาสนาตามธรรมเนียมประเพณีเท่านัน หากได้นําเอา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะหลัดเมตตากรุณา เป็นต้น มา ปฏิบัติในชีวิตจริงอีกด้วย
  • 36. แบบฝึกหัดครังที • ญาญ่าเป็นนักท่องเทียวไทย เดินทางไปเทียวประเทศหนึงในเอเชีย• ญาญ่าเป็นนักท่องเทียวไทย เดินทางไปเทียวประเทศหนึงในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนีมีประชากรหลากหลายเชือชาติ ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม แต่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเป็นชาวจีน นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ญาญ่าไปเทียวประเทศอะไรนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ญาญ่าไปเทียวประเทศอะไร ก. มาเลเซีย ข. เวียดนาม ค. สิงคโปร์ ง. อินโดนีเซีย