SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
การเปลือยกายเพื่อละกิเลส
การเปลือยกายเพื่อยั่วยวนกิเลส
อะไรคือความแตกต่างทั้งสองอย่าง ?
ศาสนาเชน
นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
“ ยุคทอง
แห่ง
ปัญญา”
โสเกรตีส พ.ศ. 73-144
เพลโต พ.ศ. 116-196
อริสโตเติล พ.ศ. 159-221
ธาเลส 81-3 ปีก่อน พ.ศ.
อินเดีย
พระพุทธเจ้า
80 ปี ก่อนพ.ศ.
จีน
ขงจื่อเหลาจื่อ
8 ปีก่อนพ.ศ.-พ.ศ.74
กรีก
มหาวีระ
แผนที่แสดงการนับถือศาสนาเชนในปัจจุบัน
ลักษณะโดยทั่วไป
ศาสนาเชน ถือกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดียเมื่อประมำณ
2500 ปีล่วงมำแล้ว หรือร่วมสมัยเดียวกันกับพระพุทธองค์
ดังปรำกฏหลักฐำนตำมพระไตรปิฎกในนำมของ “นิครณฐ
นำฏบุตร” (บุตรของนักฟ้อน) เป็น 1 ใน 6 คุรุ ของลัทธิที่มี
ชื่อเสียงในสมัยพุทธกำล
ศาสนาเชนจัดได้ว่ำเป็นศำสนำในแบบอเทวนิยม
(Atheism) ซึ่งถือกาเนิดขึ้นเพื่อปฏิเสธฐานะของ
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เช่นเดียวกันกับ
พระพุทธศาสนา แต่ในรำยละเอียดของหลักคำสอนบำง
เรื่อง เช่น เรื่องของกรรม หรือควำมเป็นอมตะของวิญญำณ
(อัตตำ) นั้น มีควำมแตกต่ำงจำกพุทธศำสนำอย่ำงสิ้นเชิง
 เกิดควบคู่กันมากับพระพุทธศาสนา
 จัดเป็นศาสนาประเภทศาสนาถิ่น/ชาติของชนชาติอินเดียทางภาคเหนือ
 บาเพ็ญตบะด้วยวิธีต่างๆ โดยเฉพาะการทรมานร่างกาย
(อัตตกิลมถานุโยค)
 ปัจจุบันมีศาสนิกชนน้อยลงเรื่อยๆ (มีประมาณ 1 ล้าน 5 แสนคน )
 คัมภีร์เรียกชื่อว่า อาคม(หมายถึงศีล)
 เป็นนักมังสวิรัติ (อาชีพพวกพระ ครูอาจารย์ ศิลปิน พ่อค้า นักธุรกิจ
นายธนาคาร)
 มีศาสดามาแล้วถึง ๒๔ องค์
 ศาสดาองค์แรก ชื่อ ฤษภะ องค์สุดท้ายชื่อ มหาวีระ (เจ้าชายวรรธ
มาน)
 ศาสดาเรียกว่า ตีรถังกร (ผู้กระทาซึ่งท่า)
เชน หรือ ชินะแปลว่าผู้ชนะ
(หมายถึงการชนะตัวเอง)
เป็นการชนะด้วยวินัยแห่งการควบคุม
ตัณหาของตนอย่างเข้มงวด
 “บุคคลผู้ชนะตนเองได้ ย่อมชนะทุก
อย่างซึ่งเป็นความชนะที่คุ้มค่า”
 “มันเป็นการยากที่จะเอาชนะตัวเองได้
แต่เมื่อใดเอาชนะได้แล้วทุกอย่างก็ถูก
เอาชนะได้ด้วย
มหาวีระ : ศาสดาศาสนาเชน
เจ้าชายวรธมานะได้พระ
นามใหม่ว่า “มหาวีระ”
แปลว่า ผู้กล้าหาญ
ออกผนวช เมื่ออายุ 30 พรรษา
อภิเษกสมรส เมื่ออายุ 19 พรรษา
กับเจ้าหญิงยโสธรา มีธิดา 1 องค์
ทรงบรรลุธรรม
สูงสุดที่ชื่อว่า
“ไกวัล”
และทรงได้พระ
นามว่า พระชินะ
คือ ผู้ชนะ (กิเลส
ในใจทั้งปวง) โดย
สิ้นเชิง
ปฐมเทศนา
ใต้ต้นอโศก
ประกาศ
ศาสนาเชน
และสั่งสอน
สาวกเป็น
เวลากว่า 30
ปี
ปัจฉิมเทศนา
ป ริ นิ พ พ า น เ มื่ อ
พ ร ะ ช น ม า ยุไ ด้ 72
พรรษา ในวันที่ศาสดา
มหาวีระปรินิ พพาน
คัมภีร์ของเชนระบุว่ามี
นักบวชราว 14,000 รูป
มาร่วมงาน
จริยศาสตร์(บัญญัติ ๕ ประการ)
๑. อหิงสา = การไม่ฆ่า ไม่เบียดเบียน ไม่ทาร้ายสัตว์
๒. สัตยะ = ซื่อสัตย์
๓. อัสตียะ =ไม่ลักขโมย หลบหนีภาษี
๔. พรหมจริยะ = เว้นจากกามสุข
๕. อปริคหะ = ไม่โลภ
ทั้งห้าข้อรวมแล้ว
เรียกว่า พรต = วัตร
การปฏิบัติของนักบวช
เรียกว่า “มหาพรต”
การปฏิบัติของคฤหัสถ์
เรียกว่า “อนุพรต”
นักบวชที่ปฏิบัติเคร่งครัด
เรียกว่า “สาธุ สาธนี”
1. สัมยัคทรรศนะ คือ ความเห็นชอบ
ติรัตนะของเชน
2. สัมยัคชฺญาน คือ ความรู้ชอบ
3. สัมยัคจาริต คือ ความประพฤติชอบ
ข้อปฏิบัติเพื่อบรรลุโมกษะ เรียกว่ำ ไตรรัตน์ หรือ ติรัตนะ
หมำยถึง แก้ว 3 ประกำร ได้แก่
วจนะและสุภาษิตของเชน
จงรู้ว่ำอะไรเป็นเหตุผูกมัดวิญญำณ และเมื่อรู้
ก็จงพยำยำมขจัดออกไป
นกติดอยู่ในกรงย่อมออกจำกกรงไม่ได้ฉันใด บุคคล
ผู้เขลำต่อควำมถูกและควำมผิดก็ย่อมออกจำกควำม
ระทมทุกข์ไม่ได้ฉันนั้น
มีทำงทำบำปอยู่ 3 ทำง คือโดยกำรกระทำของเรำ
โดยกำรสนับสนุนคนอื่น โดยกำรเห็นด้วย
ควำมนิ่งมีอำนำจเหนือคำพูด
ชีวิตทุกชีวิตย่อมเกลียดควำมเจ็บปวด
เพรำะฉะนั้นอย่ำทำร้ำยเขำหรือฆ่ำเขำ
นี่เป็นแก่นสำรแห่งปัญญำ ไม่ฆ่ำสิ่งใด
วจนะและสุภาษิตของเชน
ควำมเหย่อหยิ่งเป็นหนำมที่บำงมำก
แต่เป็นเรื่องยำกที่จะดึงออก
คนควรปฏิบัติต่อสัตว์โลกทั้งหมดในโลก
ดังเช่นตัวเองชอบที่จะให้ผู้อื่น
ปฏิบัติต่อตน ฯลฯ
 ศาสนาเชนยึดอหิงสาธรรมและชีวิตสันโดษ Non-violence
 ศาสนาเชนถือว่า “ชีวิตที่ดีจะสามารถมีขึ้นได้ก็โดยการรู้จักหัก
ห้าม ตนเองเท่านั้น เพราะตัณหาเป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง”
 วิญญาณที่หนักด้วยบาปจะจมสู่นรก...วิญญาณที่เบาบริสุทธิ์จะ
ลอย ขึ้นสวรรค์จนเข้าสู่นิรวาณ”
นิกำย
๑. ทิคัมพร – เปลือยกำย ๒. เศวตัมพร – นุ่งห่มผ้ำขำว
ภำยหลังกำรสิ้นชีวิตของศำสดำมหำวีระ ศำสนำเชน
ได้มีกำรแตกแยกออกเป็น 2 นิกำย ได้แก่
ซึ่งหลักคำสอนของนิกำยทั้ง 2 นั้น โดยเนื้อหำสำระ แล้วมีควำมแตกต่ำงกันไม่มำกนัก
จะแตกต่ำงกันก็เพียงรำยละเอียดปลีกย่อยเท่ำนั้น
 ๑. ทิคัมพร – เปลือยกำย
 มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้
 อนุรักษ์นิยม, เจริญอยู่ทำงตอนใต้ของอินเดีย
 มีอำภรณ์เป็นอำกำศอยู่ตลอดเวลำ เนื่องจำกทัศนะที่
ถือว่ำกำรเป็นนักบวชจำเป็นที่จะต้องสละทุกสิ่งทุก
อย่ำงไม่สำมำรถถือครองสิ่งใดได้
 แนวคิดของนิกำยนี้มีลักษณะแบบ “อัตตกิลมถำนุ
โยค” มีกำรทรมำนตนเองในหลำกหลำยลักษณะ
โดยถือเป็นกำรบำเพ็ญตบะขั้นอุกฤษฏ์ อันจะทำให้
กิเลสและกรรมเก่ำหมดไปจนสำมำรถเข้ำถึงโมกษะ
ได้ในที่สุด
 นิกำยนี้มีควำมเชื่อว่ำ ผู้ชำยเท่ำนั้นจึงจะสำมำรถ
บรรลุโมกษะได้ ส่วนผู้หญิงจำเป็นที่จะต้องอธิษฐำน
ให้เกิดเป็นผู้ชำยเสียก่อน จึงสำมำรถบรรลุโมกษะได้
 พุทธศำสนำ เรียกว่ำ อเจลกะ, นัคคะ, นิครนถ์
 ภำพนักบวชในนิกำยทิคัมพร
๒. เศวตัมพร–นุ่งห่มผ้ำขำว
มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้
เจริญอยู่ทำงตอนเหนือของอินเดีย
อำภรณ์สีขำว ไม่กระทำตนเป็นชีเปลือย
เหมือนพวกทิคัมพร
แนวทำงในกำรปฏิบัติของนิกำยนี้ จะ
ไม่เคร่งครัดเท่ำกับนิกำยทิคัมพร เช่น แก้
บทบัญญัติแห่งกำรเปลือยกำยไม่ให้ตึง
เกินไป
นิกำยนี้มีควำมเห็นว่ำ ผู้หญิงมี
ศักยภำพในกำรบรรลุโมกษะได้
เช่นเดียวกับผู้ชำย
พุทธศำสนำเรียกว่ำ
ปัณฑรังคะ = ผู้นุ่งขำวห่มขำว
ภำพนักบวชชำยและนักบวชหญิง (ขวำสุด) ในนิกำยเศวตำมพร
ข้อสังเกต
 ๑. กำรแบ่งแยกนิกำย นอกจำกอิทธิพลของกำลเวลาแล้ว
สภาพแวดล้อมก็มีส่วนสำคัญ
 ๒. ผู้หญิงสาเร็จเป็นสิทธาได้ ก็เพรำะบำงนิกำย
(เศวตัมพร) มีติดถังกรเป็นผู้หญิง
 ๓. นักบวชทุกท่ำนต้องถอนผมของตนด้วยทำงตำลหรือมือ
แทนกำรโกนเพื่อพิสูจน์ความอดทน
 ๔. ศำสนำเชนยกย่องกำรปฏิบัติแบบ
 อัตตกิลมถำนุโลก เช่น กำรนิยมอดอำหำร
(ถือเป็นกำรตำยที่บริสุทธิ์)
คัมภีร์ทางศาสนา
ศำสนำเชน เรียกคัมภีร์ทำงศำสนำว่ำ “อำคม” มีอยู่ประมำณ 50 เล่ม แต่งเป็น
ภำษำสันสกฤตบ้ำง ภำษำอรรธมำคธีบ้ำง ภำษำประกฤตบ้ำง ประกอบด้วยอัง
คะ (Section) ต่ำงๆ ซึ่งในบำงอังคะ สำวกของศำสดำมหำวีระได้แต่งขึ้นมำใน
ภำยหลัง ซึ่งตัวคัมภีร์โดยสำระสำคัญนั้น
มีหลักใหญ่ใจควำมอยู่ 3 ประกำร คือ
1. ชีวีตของมนุษย์ทั้งปวงเป็นทุกข์ จึงต้องปฏิบัติตำมวิถีพรต
เพื่อมุ่งเข้ำสู่ไกรวัลย์ อันเป็นกำรดับทุกข์โดยสมบูรณ์
2. สัวสำรวัฏพันธนำกำรชีวะไว้ด้วยอนุภำคแห่งกรรม
จำเป็นต้องชำระชีวะให้บริสุทธิ์เรียกว่ำ “มุกตะชีวะ”
3. กำรปฏิบัติหน้ำที่ประจำวันตำมสถำนะ
(คฤหัสถ์, บรรพชิต) ของตน
สัญลักษณ์ของศาสนาเชน
รูปแบบที่ 1 เป็นรูปฝ่ำมือนี้เป็นที่นิยมมำกที่สุดในกลุ่มศำสนิกชนชำวเชน
รูปแบบที่ 2 สร้ำงขึ้นใหม่ในโอกำสครบรอบ 2,500 ปี กำรนิพพำนของศำสดำมหำวีระ
รูปแบบที่ 3 เป็นตัวอักษรที่อ่ำนออกเสียงว่ำ “โอม” ออกแบบสร้ำงโดยศำสนิกชนชำวเชน
ในประเทศแคนำดำ
สัญลักษณ์ของศาสนาเชน(1)
 ศำสนำเชนถือเอำรูปกระบอกทรงตั้ง
ภำยในบรรจุสัญลักษณ์ 4 ประกำร
พร้อมควำมหมำย ดังนี้  1. รูปกงจักร สัญลักษณ์ของ
อหิงสำ วำงบนฝ่ำมือ
 2. รูปสวัสดิกะ สัญลักษณ์
ของสังสำระ
 3. จุด 3 จุด สัญลักษณ์แทน
ควำมเห็นชอบ รู้ชอบ
ประพฤติชอบ
 4. จุด 1 จุด ตอนบนสุด
สัญลักษณ์แทนวิญญำณแห่ง
ควำมหลุดพ้นเป็นอิสระ สถิต
อยู่บนจุดสูงสุดของเอกภพ
สัญลักษณ์ของศาสนาเชน(2)
 รูปของ มหำวีระ ผู้เป็นศำสดำองค์สุดท้ำย
ทิคัมพร – รูปติดถังกรเปลือยกำย
เศวตัมพร – รูปติดถังกรนุ่งห่มผ้ำ
ความเหมือน-ความแตกต่าง
ระหว่าง ศาสนาเชนกับพุทธ
ความเหมือนกับพระพุทธศาสนา
๑. เป็นอเทวนิยม
๒. เน้นอหิงสาธรรม – เมตตา
๓. ปฏิเสธระบบวรรณะ คัมภีร์และความศักดิ์สิทธิ์
ของพระเวท
๔. เชื่อเรื่อง “กรรม”(ความดีต้องมาจากดี)
๕. ยอมรับใน “สังสารวัฏ”และ “การหลุดพ้น”
(นิรวาณ-นิพพาน)
ความแตกต่างจากพระพุทธศาสนา
๑. คาสอนยึดถือ “อัตตา”(วิญญาณของบุคคลเป็น
นิรันดร)ส่วนพุทธศาสนาเป็น “อนัตตา
๒. เน้นหลักอหิงสาธรรมมากกว่าพระพุทธศาสนา
(เชนถือว่าอหิงสาธรรมเป็นมงกุฎของศาสนานี้)
๓. เชนปฏิบัติในหลักอัตตกิลมถานุโยค
ส่วนพุทธถือหลักมัชฌิมาปฏิปทา
“โครงสร้างพระไตรปิ ฎก”
พระวินัยปิ ฎก พระสุตตันตปิ ฎก พระอภิธรรมปิ ฎก
๑.มหาวิภังค์
๒.ภิกขุนีวิภังค์
๓.มหาวรรค
๔.จุลลวรรค
๕.ปริวาร
๑. ทีฆนิกาย
๒.มัชฌิมนิกาย
๓.สังยุตตนิกาย
๔.อังคุตรนิกาย
๕.ขุททกนิกาย
๑. ธัมมสังคณี
๒. วิภังค์
๓. ธาตุกถา
๔. ปุคคลบัญญัติ
๕. กถาวัตถุ
๖. ยมก
๗. ปัฏฐาน
โครงสร้างมัชณิมนิกาย
มูลปัณณาสก์ มัชณิมปัณณาสก์ อุปริปัณณากส์
๑.มูลปริยาวรรค
๒.สีหนาทวรรค
๓.โอปัมมวรรค
๔.มหายกวรรค
๕.จูฬยมกวรรค
๑.คหปติวรรค
๒.ภิกขุวรรค
๓.ปริพพาชกวรรค
๔.ราชวรรค
๕.พราหมณวรรค
๑. เทวทหวรรค
๒. อนุปทวรรค
๓. สุญญตวรรค
๔. วิภังควรรค
๕. สฬายตวรรค
อภยรำชกุมำร
สูตร
นิครนถนำฏบุตร ได้สอน อภยราชกุมารให้ไปถำมพระผู้มีพระภำค
เกี่ยวกับกำรกล่ำววำจำ ซึ่งนิครนถนำฏบุตรกล่ำวว่ำ
ถ้ำถำมปัญหำ ๒ เงื่อนอย่ำงนี้แล้ว พระสมณโคดมจะกลืนไม่เข้าคายไม่
ออก
พระตถาคตเคยพูด วาจาที่ไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่พอใจของคนอื่นหรือไม่
เคยพูด ไม่เคยพูด
ท่ำนกับปุถุชนจะต่ำงกันอย่ำงไรกัน
เพรำะแม้ปุถุชนก็กล่ำววำจำเช่นนั้น
จะย้อนได้ว่ำ เหตุไฉนจึงว่ำกล่ำว
พระเทวทัตอย่ำงรุนแรง จน
พระเทวทัตโกรธไม่พอใจ
พระตถาคตเคยพูด วาจาที่ไม่เป็นที่รัก
ไม่เป็นที่พอใจของคนอื่นหรือไม่
ในข้อนี้ มิใช่ปัญหำที่พึงตอบโดยแง่เดียว
( คือตรัสทั้งสองอย่ำงโดยควรแก่เหตุ)
เด็กที่อมเอำไม้หรือกระเบื้อง
เข้ำไปในปำก เพรำะควำม
พลั้งเผลอของท่ำนหรือแม่
นม ท่ำนจะทำอย่ำงไร
ถ้ำนำออกในเบื้องแรกไม่ได้
ก็ต้องประคองจับศีรษะด้วยมือ
ซ้ำย งอนิ้วนำของออกมำด้วยมือ
ขวำ แม้จะพร้อมกับโลหิตด้วย
เพรำะต้องกำรช่วยเหลือเด็ก
ตถำคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน
ทรำบว่ำวำจำใดไม่จริง
ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วย
ประโยชน์ หรือจริง แท้ แต่
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
และไม่เป็นที่รักไม่เป็น
ที่พอใจของคนอื่น
ก็ไม่กล่ำววำจำนั้น
คำใดจริง แท้ ประกอบ
ด้วยประโยชน์ แม้ไม่
เป็นที่รัก ไม่เป็นที่พอใจ
ของคนอื่น ตถำคตย่อมรู้
กำลที่จะกล่ำววำจำนั้น
จำกสูตรนี้เรำได้ทรำบว่ำสิ่งที่พระพุทธเจ้ำทรงสอนและไม่ทรงสอน มีดังนี้
ไม่จริง --ไม่มีประโยชน์
คนไม่ชอบ
คนชอบ
ไม่สอน
ไม่มีประโยชน์
คนไม่ชอบ
คนชอบ
ไม่สอน
มีประโยชน์
คนไม่ชอบ
คนชอบ
รู้เวลาสอน
จริง
ความเหมือน-ความแตกต่าง
ระหว่าง ศาสนาเชนกับพราหมณ์-ฮินดู
ความเหมือนระหว่างเชนกับพราหมณ์ - ฮินดู
เชนสอนเรื่องอาตมันคล้ายฮินดู
แต่แตกต่างที่เชนเป็น อเทวนิยม
1. เชนปฏิเสธการมีอยู่ของพระเจ้า ไม่เชื่อเรื่องพระเจ้ำสร้ำงโลก ไม่เชื่อเรื่องกำร
อ้อนวอนให้พระเจ้ำมำช่วย แต่เชื่อในกำรกระทำของตนเอง ไม่มีกำรบูชำพระเจ้ำ
แต่มีกำรบูชำกรำบไหว้ชีวะบริสุทธิ์ทั้งหลำยที่เข้ำถึงกำรหลุดพ้นสมบูรณ์ 5
ประเภท คือ (1) อรหันต์ (2) สิทธะ (3) อำจำริยะ (4) อปำธยำยะ (5) สำธุ และเชื่อ
ว่ำทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตำมอำนำจของเหตุปัจจัยในธรรมชำติ
2. เชนปฏิเสธฐานะของคัมภีร์พระเวท เนื่องจำกหำกถือกันว่ำคัมภีร์พระเวทเป็น
กำรเปิดเผยสัจจะจำกพระเจ้ำ (ศรุติ) ดังนั้นปรัชญำเชนที่ปฏิเสธถึงควำมมีอยู่ของ
พระเจ้ำ ย่อมปฏิเสธฐำนะควำมสำคัญของคัมภีร์พระเวทไปโดยปริยำย
ข้อแตกต่างระหว่างเชนกับพราหมณ์ - ฮินดู
ข้อแตกต่างระหว่างเชนกับพราหมณ์ - ฮินดู
3. เชนปฏิเสธการแบ่งชั้นวรรณะ มีกำรให้เสรีภำพ ภรำดรภำพ และควำมเสมอภำค
(แต่ก็ยังมีกำรแบ่งแยกในเรื่องของเพศอยู่) แก่ ศำสนิกชนทุกๆ คน เชนเชื่อว่ำ ควำมดี
- ควำมชั่วเป็นผลิตผลมำจำกกำรกระทำของตน ชำติตระกูลมิใช่สิ่งที่วัดควำมดี -
ควำมชั่ว มณีภัทรซึ่งเป็นอำจำรย์ที่มีชื่อเสียงมำกของเชน ได้สอนศิษย์มิให้ยกตนข่ม
ท่ำนว่ำศำสนำของตนประเสริฐที่สุด และไม่ให้ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อศำสนำอื่นๆ ซึ่งก็
นับว่ำเป็นแนวคิดที่เปิดกว้ำงพอสมควร
4. เชนเน้นประโยชน์ในชีวิตนี้ ไม่เน้นเรื่องกำรหวังผลในชำติหน้ำ แม้ในกำรปฏิบัติก็
ไม่ให้สำวกคิดหวังว่ำตำยแล้วจะได้ไปสวรรค์ กำรคิดเช่นนี้ถือว่ำเป็นบำปและต้องผิด
ศีล เพรำะใจเกิดกิเลส - ตัณหำ
สถานการณ์ในปัจจุบัน
ศำสนำเชนมีอยู่เฉพำะในอินเดียเท่ำนั้น ไม่ได้แพร่หลำยไปสู่ประเทศใกล้เคียง
อื่นๆ เหมือนอย่ำงพุทธศำสนำหรือศำสนำพรำหมณ์ - ฮินดู ซึ่งเหตุผลประกำร
สำคัญก็คงจะมำจำกกำรที่จำนวน ศำสนิกของศำสนำเชนมีจำนวนไม่มำกนัก
เมื่อเปรียบเทียบกับทั้ง 2 ศำสนำข้ำงต้น
สถานการณ์ในปัจจุบัน
นอกจำกนั้น กำรที่ศำสนำเชนสอนไปในทำงทรมำนตนเอง
ให้ลำบำก (อัตตกิลมถำนุโยค) ดังเช่น กำรกระทำตนเป็นชี
เปลือย หรือกำรกระทำบำงอย่ำงที่ผิดจำกสำมัญวิสัยของ
มนุษย์ที่อยู่รวมกันในสังคม ทำให้บุคคลโดยทั่วไปขำด
ศรัทธำที่จะมีต่อศำสนำนี้ ด้วยเหตุผลเหล่ำนี้จึงทำให้
ศำสนำเชนไม่ได้รับควำมนิยมเท่ำที่ควร
สถานการณ์ในปัจจุบัน
จำนวนศำสนิกของศำสนำเชนตำมสถิตินั้น มีไม่ถึง
10 ล้ำนคน โดยผู้ถือนิกายทิคัมพรส่วนใหญ่มีอยู่ใน
อินเดียภำคใต้ และมีอยู่บ้ำงในอินเดียภำคเหนือ ใน
จังหวัดทำงภำคตะวันตกเฉียงเหนือ ในรำชปุตตนะ
ตะวันออกและในปัญจำบ
ส่วนนิกายเศวตามพรนั้นมีอยู่ใน
แคว้นคุชรำตและแคว้นรำชปุตตนะ
ตะวันตก นอกจำกนั้นยังมีอยู่อย่ำง
กระจัดกระจำยทั่วไปในอินเดีย
ภำคเหนือและภำคกลำง
ชีวิตทุกชีวิตย่อมเกลียดควำมเจ็บปวด
เพรำะฉะนั้นอย่ำทำร้ำยเขำหรือฆ่ำเขำ
นี่เป็นแก่นสำรแห่งปัญญำ
ผู้เผยแพร่ : Dream'Es W.c.
Credit.
แหล่งข้อมูล : www.slideshare.net
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 

What's hot (20)

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 

Similar to ศาสนาเชน

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80Rose Banioki
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 

Similar to ศาสนาเชน (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

ศาสนาเชน

Editor's Notes

  1. ตราเมืองฮารัปปา อารยธรรมโมเหนโจดาโร คันธาระ
  2. อภิเษกสมรส เมื่ออายุ 19 พรรษา
  3. รูปแบบที่เป็นรูปฝ่ามือนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในกลุ่มศาสนิกชนชาวเชน
  4. สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนนั้นคือ จริง มีประโยชน์ เหมาะสมแก่กาลเทศะ