SlideShare a Scribd company logo
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๒
บรรยายโดย
พระมหาธานิน ทร์ อาทิต วโร ,ดร.
น.ธ.เอก,ป.ธ.๘,พธ.บ.(อัง กฤษ),พธ.ม.
(บาลี),พธ.ด.(พระพุท ธศาสนา)
ประเภทของการแปล
๑. การแปลยกศัพท์
 การแปลที่ส ำา คัญ ที่

๓ ประเภท คือ
 ๑. การแปลยกศัพ ท์
 ๒. การแปลโดยพยัญ ชนะ
 ๓. การแปลโดยอรรถ
 ตัว อย่า งการแปลยกศัพ ท์
 - สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ
 สามิโ ก อ.เจ้า นาย สูท ำ ยัง พ่อ ครัว ปาจา
เปติ ให้ห ุง อยู่ โอทนำ ซึ่ง ข้า วสุก ฯ
สตฺถ า ธมฺม ำ เทเสติ ฯ
 - สตฺถ า อ.พระศาสดา เทเสติ ย่อ มทรง
แสดง ธมฺม ำ ซึ่ง ธรรม ฯ
-

 ตัว อย่า งการแปลโดยพยัญ ชนะ

สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ
- อ.เจ้า นาย ยัง พ่อ ครัว ให้ห ุง อยู่ ซึ่ง
ข้า วสุก ฯ

-
 ตัว อย่า งการแปลโดยอรรถ

สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ
 - นายใช้พ ่อ ครัว ให้ห ุง ข้า ว ฯ
 - สตฺถ า ธมฺม ำ เทเสติ ฯ
 พระศาสดาทรงแสดงธรรม ฯ เป็น ต้น
-
หลักการแปลและลำาดับการแปล
ลำา ดับ การแปล มี ๑๑ ขั้น ดัง นี้
 ๑. อาลปนะ
 ๒. นิบ าตต้น ข้อ ความ
 ๓. บทกาลสัต ตมี
 ๔. บทประธาน
 ๕. บทขยายประธาน/บทที่เ นื่อ งด้ว ยตัว
ประธาน
 ๖. บทกิร ิย าในระหว่า ง

 ๗.

บทขยายกิร ิย าในระหว่า ง
 ๘. ประโยคแทรก

๑) ประโยคอนาทร
๒) ประโยคลัก ขณะ
 ๙. บทขยายประโยคแทรก
 ๑๐. บทกิร ิย าคุม พากย์
 ๑๑. บทขยายกิร ิย าคุม พากย์
๑. บทอาลปนะ
 บทอาลปนะ

คือ คำา ที่ใ ช้ส ำา หรับ ร้อ ง
เรีย ก ทัก ทายกัน มี ๒ ประเภท คือ
 ๑) อาลปนะนาม เช่น สามิ, ตาต, อมฺม ,
อุป าสก, ภิก ฺข ุ, ภิก ฺข เว เป็น ต้น
 ๒) อาลปนะนิบ าต เช่น ภนฺเ ต , อาวุโ ส,
อมฺโ ภ, ภเณ, เร เป็น ต้น
 ตัว อย่า งบทอาลปนะนาม
-

สามิ เอโก ปุต ฺโ ต ชาโต ฯ
กึ กเถสิ ภาติก ฯ
 ข้า แต่พ ี่ช าย อ.ท่า น ย่อ มกล่า ว ซึง คำา
่
อะไร ฯ
 - กุห ึ ยาสิ อุป าสก ฯ
 ดูก ่อ นอุบ าสก อ.ท่า น จะไป ณ ที่ไ หน ฯ
 อหำ ธมฺม ำ โว ภิก ฺข เว เทเสสฺส ามิ ฯ
 ดูก ่อ นภิก ษุ ท. อ.เรา จัก แสดง ซึ่ง ธรรม
แก่เ ธอ ท. ฯ
-
- อานนฺท ตฺว ำ เอวำ มา วเทหิ ฯ
 ดูก ่อ นอานนท์ อ.เธอ จงอย่า งกล่า ว
อย่า งนี้ ฯ

 ตัว อย่า งอาลปนะนิบ าต
 อาลปนะนิบ าต

มี ๑๐ ตัว คือ ยคฺเ ฆ
(ขอเดชะ), ภนฺเ ต, ภทนฺเ ต (ข้า แต่ท ่า นผู้
เจริญ ), อมฺโ ภ (แนะท่า นผูเ จริญ ),
้
อาวุโ ส (ดูก ่อ นท่า นผูม อ ายุ), ภเณ (แนะ
้ ี
พนาย), เร, อเร (เว้ย , โว้ย ), เห (เฮ้ย ),
เช (แนะแม่)
กนิฏ ฺฐ ภาตา เม อตฺถ ิ ภนฺเ ต ฯ
 ข้า แต่พ ระองค์ผ เ จริญ อ.น้อ งชายผู้
ู้
น้อ ยที่ส ด ของข้า พระองค์ มีอ ยู่ ฯ
ุ
 - ยาหิ อาวุโ ส ฯ
 ดูก ่อ นท่า นผูม อ ายุ อ.ท่า น จงไปเถิด ฯ
้ ี
-
-

เตนหิ ภเณ เสว (ตฺว ํ) (ภาติก ํ) โภเชหิ

ฯ
 แนะพนาย ถ้า อย่า งนั้น อ .ท่า น ยัง พี่
ชาย จงให้บ ริโ ภค ในวัน พรุ่ง เถิด ฯ
 - อมฺโ ภ ตฺว ํ เอวํ มา วเทหิ ฯ
 แนะท่า นผูเ จริญ อ.ท่า น จงอย่า กล่า ว
้
อย่า งนี้ ฯ
 - ตฺว ํ ติฏ ฺฐ เร ฯ
 เฮ้ย /เว้ย อ.ท่า น จงหยุด ฯ
ลําดับที่ ๒ นิบาตต้นข้อความ

 นิบาตต้นข้อความ

คือ นิบาตที่วางไว้เพื่อ
บอกข้อความต่างๆ ในประโยค เช่น บอก
เงื่อนไข บอกปฏิเสธ บอกความยอมรับ
เป็นต้น เช่น กิร ได้ยินว่า, เจ, สเจ, ยทิ
หากว่า, ผิว่า, ถ้าว่า, หนฺท เชิญเถิด, อโห โอ
เป็นต้น ในประโยคใดมีนิบาตต้นข้อความ
ศัพท์ใดศัพท์หนึ่งอยู่ด้วยให้แปลหลังบท
อาลปนะ แต่ถ้าในประโยคใดไม่มีบท
อาลปนะให้แปลนิบาตต้นข้อความก่อนได้
สเจ เม อกฺขีนิ ปากติกานิ กาตุ สกฺขิสฺสสิ ฯ
 ถ้าว่า อ.ท่าน จักอาจ เพื่ออันกระทํา ซึ่ง
นัยน์ตา ของฉัน ให้เป็นปกติไซร้ ฯ
 - อโห มหาคุโณ อายสฺมา อานนฺโท ฯ
 โอหนอ อ.พระอานนท์ ผู้มีอายุ ผูมีคุณมาก ฯ
้
 - หนฺท อิมํ กหาปณํ คเหตฺวา เทหิ ฯ
 เชิญเถิด อ.ท่าน ถือเอาแล้ว ซึ่งกหาปณะนี้
จงให้เถิด ฯ
-
ลําดับที่ ๓ บทกาลสัตตมี
 บทกาลสัตตมี

คือ บทที่บอกกาลเวลา มีทั้งที่
เป็นบทนาม บทสัพพนาม และบทนิบาต เช่น
สมเย, สมยํ ในสมัย, ทิวเส, ทิวสํ ในวัน, อชฺช
วันนี้, อิทานิ ในกาลนี้, ปาโต แต่เช้า, หิยฺโย
วันวาน, เสว พรุ่งนี้, อถ ครั้งนั้น เป็นต้น ใน
ประโยคใดมีบทหรือศัพท์ที่เป็นสัตตมีวิภัตติที่
บอกกาลเวลาอยู่ด้วย ให้แปลก่อนบท
ประธาน หรืออาจจะแปลเป็นลําดับสุดท้าย
ของประโยคก็ได้ เช่น
- ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปริสมชฺเฌ ธมฺมํ เทเสสิ ฯ
 ในสมัยนั้น อ.พระศาสดา ทรงแสดงแล้ว ซึ่ง
ธรรม ในท่ามกลางแห่งบริษัท ฯ
 - ภนฺเต เสว อมฺหากํ ภิกฺขํ คณฺหถ ฯ
 ข้าแต่ท่านผูเจริญ พรุ่งนี้ อ.ท่าน ท. จงรับ
้
ซึ่งภิกษา ของข้าพเจ้า ท. เถิด ฯ
 - อถ สพฺเพ ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ ฯ
 ครั้งนั้น อ.ชน ท. ทั้งปวง ทูลขอแล้ว ซึ่งการ
บวช ฯ


ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ ฯ
 ในกาลนั้น อ. โกฏิแห่งมนุษย์ ท. ๗ ย่อมอยู่
ในเมืองชือว่าสาวัตถี ฯ
่
 - อชฺช ภนฺเต โอกาโส นตฺถิ ฯ
 ข้าแต่ท่านผูเจริย ในวันนี้ อ.โอกาส ย่อมไม่มี
้
ฯ
-
ลําดับที่ ๔ บทประธาน
 บทประธาน

คือบทที่เป็นเจ้าของกิริยาใน
ประโยค ประกอบรูปศัพท์มาจากปฐมาวิภัตติ
สิ, โย วิภัตติ ออกสําเนียงอายตนิบาตว่า
“อันว่า” มี ๒ ประเภท คือ
 ๑) บทประธานทั่วไป เช่น ปุริโส บุรุษ,
กญฺญา นางสาวน้อย, กุลํ ตระกูล เป็นต้น
 ๒) บทประธานพิเศษ เช่น เอวํ อ.อย่างนั้น,
ตถา อ.เหมือนอย่างนัน, อลํ อ.พอละ เป็นต้น
้
บทประธานนิยมแปลถัดจากบทอาลปนะ

นิบาตต้นข้อความ บทกาลสัตตมี
(ยกเว้นในประโยคนั้นไม่มีบทเหล่านี้อยู่
ด้วย ให้แปลบทประธานได้ทนที) เช่น
ั

อมฺม อหํ เภสชฺชํ น ชานามิ ฯ
 ข้าแต่แม่ อ. เรา ย่อมไม่รู้ ซึ่งเภสัช (ยา) ฯ
 - ตุมฺเห ปน สามิ ฯ
 ข้าแต่นาย ก็ อ.ท่าน ท. เล่า ฯ
-
อาจริย มยฺหํ โทโส นตฺถิ ฯ
 ข้าแต่อาจารย์ อ.โทษ ของผม ย่อมไม่มี ฯ
 - เอวํ กิร ภิกฺขเว ฯ
 ดูก่อนภิกษุ ท. ได้ยินว่า อ. อย่างนั้น หรือ ฯ
-
ลําดับที ๕ บทขยายประธาน
 บทขยายประธาน

คือบทที่ทําหน้าที่ขยาย
ประธานของประโยค บางทีเรียกว่า บทวิเส
สนะ หรือบทคุณนาม ในบางประโยคอาจมี
หรือไม่มีก็ได้ เช่น ปณฺฑิโต ภิกฺขุ อ.ภิกษุผู้
เป็นบัณฑิต, ปญฺจสตา ภิกฺขู อ.ภิกษุ ท. มี
ร้อยห้าเป็นประมาณ, โส ทารโก อ.เด็กคน
นั้น เป็นต้น
 บทขยายประธานโดยทั่วไปต้องมีลิงค์

(เพศ)
วจนะ และวิภัตติเสมอกับบทประธานเสมอ
ในประโยคใด มีบทขยายประธานให้แปล
หลังแปลบทประธานแล้ว เช่น
 - อญฺญตโร ภิกฺขุ ปิณฺฑาย คามํ ปาวิสิ ฯ
 อ. ภิกษุ รูปใดรูปหนึ่ง เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อ
บิณฑบาต ฯ
 บทขยายประธานอีกประเภทหนึ่ง

ที่มิใช่ปฐม
าวิภัตติ แต่มีลักษณะที่แสดงความเกี่ยวเนื่อง
กับบทประธาน ส่วนมากประกอบด้วยฉัฏฐี
วิภัตติ สัตตมีวิภัตติ เช่น
 - อิมสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ปพฺพชิโต ฯ
 อ.บุตร ของบุรุษนี้ บวชแล้ว ฯ
 - มยา สตฺถริ อาฆาโต กโต ฯ
 อ. ความอาฆาต ในพระศาสดา อันเรา
กระทําแล้ว ฯ
ลําดับที่ ๖ บทกิริยาในระหว่าง
 บทกิริยาในระหว่าง

คือ บทกิริยาที่อยู่ใน
ระหว่างประโยคต่างๆ โดยส่วนมากประกอบ
มาจากปัจจัยในกิริยากิตก์ มี ๒ ประเภทคือ
กิริยาที่แจกได้ เช่น ต อนฺต มาน ตวนฺตุ ตาวี
และแจกไม่ได้ เช่น ตูน ตฺวา ตฺวาน
 ถ้าเป็นกิริยาที่แจกได้ก็ต้องแจกด้วยวิภัตติให้
เสมอกับบทที่มันขยาย ถ้าเป็นกิริยาที่แจกไม่
ได้ก็ไม่ต้องแจกวิภัตติแปลได้ทันที ให้แปล
ไปตามลําดับก่อน-หลังในประโยคนั้นๆ เช่น
โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา อตฺตนา สหคามิโน
ภิกฺขู ปริเยสนฺโต สฏฺฐี ภิกฺขู ลภิตฺวา เตหิ
ลทฺธึ นิกฺขมิตฺวา... ฯ
 อ. (พระเถระ) นั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระ
ศาสดา แสวงหาอยู่ ซึ่งภิกษุ ท. ผู้มีปกติเที่ยว
ไปกับ ด้วยตน ได้แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ๖๐ ออก
ไปแล้ว กับด้วยภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ
-
สาปิ (จุลฺลสุภทฺทา) ตเถว กโรนฺตี โสตาปนฺ
นา หุตฺวา ปติกุลํ คตา ฯ
 (อ.นางจุลลสุภัททา) นั้น กระทําอยู่ อย่างนั้น
นั่นเทียว เป็นโสดาบัน เป็น ไปแล้ว สูตระกูล
่
แห่งผัว ฯ
-
ลําดับที่ ๗ บทขยายกิริยาในระหว่าง
 บทขยายกิริยาในระหว่าง

คือ บรรดาบทนาม
บทใดบทหนึงที่อยู่หน้ากิริยาในระหว่าง ส่วน
่
มากประกอบด้วยวิภัตตินามทั้ง ๗ วิภัตติ ทํา
หน้าที่ขยายความของกิริยาในระหว่างให้
ชัดเจนขึ้น ให้แปลหลังจากแปลกิริยาใน
ระหว่างแล้ว เช่น
 - โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺ
ขู ปริเยสนฺโต สฏฺฐี ภิกฺขู ลภิตฺวา เตหิ ลทฺธึ นิกฺ
ขมิตวา... ฯ
ฺ
 อ. (พระเถระ) นั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระ
ลำำดับที่ ๘ ประโยคแทรก
 ประโยคแทรก

คือ ประโยคที่แทรกเข้ำมำระ
หว่ำงประโยคหลัก เนื้อควำมแตกต่ำงไปจำก
ประโยคหลัก มีประธำนและกิริยำเฉพำะตน
มี ๒ ประเภท คือ
 ๑) ประโยคอนำทร คือ ประโยคที่แทรกเข้ำ
มำในระหว่ำงประโยคหลัก หรือประโยคท้อง
เรื่อง ประกอบรูปมำจำกฉัฏฐีวิภัตติ ทั้งบท
นำมและบทกิริยำ ออกสำำเนียงกำรแปลว่ำ
“เมื่อ” ประโยคอนำทรนี้ แทรกเข้ำมำตอน
เสฏฺฐสฺส อิทญฺจิทญฺจ กโรนฺตสฺเสว ทำรโก
ิ
วุฑฺฒิโต ฯ
 เมื่อเศรษฐีกระทำำอยู่ (ซึ่งกรรม) นี้ด้วย นีด้วย
้
นั่นเทียว อ.เด็ก เจริญแล้ว ฯ
-
 ๒)

ประโยคลักขณะ คือ ประโยคที่แทรกเข้ำ
มำในระหว่ำงประโยคหลัก หรือประโยคท้อง
เรื่อง ประกอบรูปมำจำกสัตตมีวิภัตติ ทั้งบท
นำมและบทกิริยำ ออกสำำเนียงกำรแปลว่ำ
“ครั้นเมื่อ” ประโยคลักขณะนี้ แทรกเข้ำมำ
ตอนไหนให้แปลในตอนนั้นได้ทันที เช่น
 - ทุติยมฺปิ คพฺเภ ปติฏฺฐิเต ตสฺสำ อำโรเจสิ ฯ
 แม้ในวำระที่ ๒ ครั้นเมื่อสัตว์ผู้เกิดในครรภ์
ลำำดับที่ ๙ บทขยำยประโยคแทรก
 บทขยำยประโยคแทรก

คือ บทที่เนื่องด้วย
ประโยคแทรก ทำำหน้ำที่ขยำยควำมของ
ประโยคแทรกที่กล่ำวมำแล้วให้มีควำมหมำยก
ว้ำงขวำงยิ่งขึนไปอีก ในประโยคแทรกใดๆ มี
้
บทขยำยประโยคแทรกอยู่ด้วยให้แปลถัดจำก
แปลประโยคแทรกได้ทันที เช่น
 - เถรสฺส สำมเณเรหิ สทฺธึ อำรำมำ
อำคจฺฉนฺตสฺส, อชฺช สตฺตโม ทิวโส ฯ
 เมื่อพระเถระ มำอยู่ สู่อำรำม กับด้วยสำมเณร
มยิ เอเตหิ (ภิกฺขูหิ) สทฺธึ คจฺฉนฺเต
 ครั้นเมื่อเรำ ไปอยู่ กับด้วยภิกษุ ท. เหล่ำนั้น
-
ลำำดับที่ ๑๐ บทกิริยำคุมพำกย์
 บทกิริยำคุมพำกย์

คือ กิริยำหลักของ
ประโยคซึ่งจะขำดเสียมิได้ ประโยคใดๆ หำก
ไม่มีกิริยำคุมพำกย์ตำมหลักไวยำกรณ์บำลี
ไม่จัดเป็นประโยค เป็นเพียงแต่พำกยำงค์
หรือกลุ่มคำำเท่ำนั้น บทกิริยำคุมพำกย์สร้ำง
มำจำก ธำตุ ปัจจัย และวิภัตติในอำขยำต
เป็นหลัก หรือไม่ก็สร้ำงมำจำก ธำตุ ปัจจัย
ในกิริยำกิตก์บำงตัว และวิภัตตินำม เป็น
กิริยำที่สดของประโยค หรือกิริยำที่บอก
ุ
สตฺถำ ปริโภคมกำสิ (ปริโภคำ อกำสิ) ฯ ฃ
 อ.พระศำสดำ ได้ทรงกระทำำแล้ว ซึ่งกำร
เสวย ฯ
 - สูโท โอทนำ ปจติ ฯ
 อ.พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้ำวสุก ฯ
 - ภิกฺขุ คำมำ ปิณฺฑำย ปวิฏฺโฐ ฯ
 อ. ภิกษุ เข้ำไปแล้ว สูบ้ำน เพื่อบิณฑะ ฯ
่

-
ลำำดับที่ ๑๐ บทขยำยกิริยำคุมพำกย์
 บทขยำยกิริยำคุมพำกย์

คือ บทที่เรียงอยู่
หน้ำกิริยำคุมพำกย์บ้ำง เรียงไว้หลังกิริยำคุม
พำกย์บ้ำง มีควำมสัมพันธ์กับบทกิริยำคุม
พำกย์ ในฐำนะเป็นบทขยำยกิริยำอำกำร
ของกิริยำคุมพำกย์ให้ชดเจนกว้ำงขวำงออก
ั
ไป ต้องแปลเข้ำกับกิริยำคุมพำกย์เท่ำนัน
้
หลักกำรแปลเหมือนกับหลักกำรแปลบท
ขยำยกิริยำในระหว่ำงที่กล่ำวแล้ว เช่น
เถโร สตฺถำรำ วนฺทิตฺวำ เอกมนฺตำ นิสีทิ ฯ
 อ.พระเถระ ถวำยบังคมแล้ว ซึ่งพระศำสดำ
นังแล้ว ณ ที่ควรส่วนข้ำงหนึ่ง ฯ
่
 - สตฺถำ ภตฺตคฺคำ ปวิสิตฺวำ ปญฺญตฺตำสเน นิ
สีทิ ฯ
 อ. พระศำสดำ เสด็จเข้ำไปแล้ว สูโรงเป็นที่
่
ฉัน ประทับนั่งแล้ว บนอำสนะอันบุคคลปูลำด
แล้ว ฯ
-

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะหลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
 
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติหลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตาหลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 

Similar to แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี

3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Wataustin Austin
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80Rose Banioki
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Tongsamut vorasan
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
บาลี 26 80
บาลี 26 80บาลี 26 80
บาลี 26 80Rose Banioki
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
บาลี 24 80
บาลี 24 80บาลี 24 80
บาลี 24 80Rose Banioki
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒Tongsamut vorasan
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Wataustin Austin
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 

Similar to แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี (20)

3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
ภาค 2
ภาค 2ภาค 2
ภาค 2
 
Bali 2-10
Bali 2-10Bali 2-10
Bali 2-10
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
บาลี 26 80
บาลี 26 80บาลี 26 80
บาลี 26 80
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
บาลี 24 80
บาลี 24 80บาลี 24 80
บาลี 24 80
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (19)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 

แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี

  • 1. แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๒ บรรยายโดย พระมหาธานิน ทร์ อาทิต วโร ,ดร. น.ธ.เอก,ป.ธ.๘,พธ.บ.(อัง กฤษ),พธ.ม. (บาลี),พธ.ด.(พระพุท ธศาสนา)
  • 2. ประเภทของการแปล ๑. การแปลยกศัพท์  การแปลที่ส ำา คัญ ที่ ๓ ประเภท คือ  ๑. การแปลยกศัพ ท์  ๒. การแปลโดยพยัญ ชนะ  ๓. การแปลโดยอรรถ  ตัว อย่า งการแปลยกศัพ ท์  - สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ  สามิโ ก อ.เจ้า นาย สูท ำ ยัง พ่อ ครัว ปาจา เปติ ให้ห ุง อยู่ โอทนำ ซึ่ง ข้า วสุก ฯ
  • 3. สตฺถ า ธมฺม ำ เทเสติ ฯ  - สตฺถ า อ.พระศาสดา เทเสติ ย่อ มทรง แสดง ธมฺม ำ ซึ่ง ธรรม ฯ -  ตัว อย่า งการแปลโดยพยัญ ชนะ สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ - อ.เจ้า นาย ยัง พ่อ ครัว ให้ห ุง อยู่ ซึ่ง ข้า วสุก ฯ -
  • 4.  ตัว อย่า งการแปลโดยอรรถ สามิโ ก สูท ำ โอทนำ ปาจาเปติ ฯ  - นายใช้พ ่อ ครัว ให้ห ุง ข้า ว ฯ  - สตฺถ า ธมฺม ำ เทเสติ ฯ  พระศาสดาทรงแสดงธรรม ฯ เป็น ต้น -
  • 5. หลักการแปลและลำาดับการแปล ลำา ดับ การแปล มี ๑๑ ขั้น ดัง นี้  ๑. อาลปนะ  ๒. นิบ าตต้น ข้อ ความ  ๓. บทกาลสัต ตมี  ๔. บทประธาน  ๕. บทขยายประธาน/บทที่เ นื่อ งด้ว ยตัว ประธาน  ๖. บทกิร ิย าในระหว่า ง 
  • 6.  ๗. บทขยายกิร ิย าในระหว่า ง  ๘. ประโยคแทรก  ๑) ประโยคอนาทร ๒) ประโยคลัก ขณะ  ๙. บทขยายประโยคแทรก  ๑๐. บทกิร ิย าคุม พากย์  ๑๑. บทขยายกิร ิย าคุม พากย์
  • 7. ๑. บทอาลปนะ  บทอาลปนะ คือ คำา ที่ใ ช้ส ำา หรับ ร้อ ง เรีย ก ทัก ทายกัน มี ๒ ประเภท คือ  ๑) อาลปนะนาม เช่น สามิ, ตาต, อมฺม , อุป าสก, ภิก ฺข ุ, ภิก ฺข เว เป็น ต้น  ๒) อาลปนะนิบ าต เช่น ภนฺเ ต , อาวุโ ส, อมฺโ ภ, ภเณ, เร เป็น ต้น  ตัว อย่า งบทอาลปนะนาม - สามิ เอโก ปุต ฺโ ต ชาโต ฯ
  • 8. กึ กเถสิ ภาติก ฯ  ข้า แต่พ ี่ช าย อ.ท่า น ย่อ มกล่า ว ซึง คำา ่ อะไร ฯ  - กุห ึ ยาสิ อุป าสก ฯ  ดูก ่อ นอุบ าสก อ.ท่า น จะไป ณ ที่ไ หน ฯ  อหำ ธมฺม ำ โว ภิก ฺข เว เทเสสฺส ามิ ฯ  ดูก ่อ นภิก ษุ ท. อ.เรา จัก แสดง ซึ่ง ธรรม แก่เ ธอ ท. ฯ -
  • 9. - อานนฺท ตฺว ำ เอวำ มา วเทหิ ฯ  ดูก ่อ นอานนท์ อ.เธอ จงอย่า งกล่า ว อย่า งนี้ ฯ 
  • 10.  ตัว อย่า งอาลปนะนิบ าต  อาลปนะนิบ าต มี ๑๐ ตัว คือ ยคฺเ ฆ (ขอเดชะ), ภนฺเ ต, ภทนฺเ ต (ข้า แต่ท ่า นผู้ เจริญ ), อมฺโ ภ (แนะท่า นผูเ จริญ ), ้ อาวุโ ส (ดูก ่อ นท่า นผูม อ ายุ), ภเณ (แนะ ้ ี พนาย), เร, อเร (เว้ย , โว้ย ), เห (เฮ้ย ), เช (แนะแม่)
  • 11. กนิฏ ฺฐ ภาตา เม อตฺถ ิ ภนฺเ ต ฯ  ข้า แต่พ ระองค์ผ เ จริญ อ.น้อ งชายผู้ ู้ น้อ ยที่ส ด ของข้า พระองค์ มีอ ยู่ ฯ ุ  - ยาหิ อาวุโ ส ฯ  ดูก ่อ นท่า นผูม อ ายุ อ.ท่า น จงไปเถิด ฯ ้ ี -
  • 12. - เตนหิ ภเณ เสว (ตฺว ํ) (ภาติก ํ) โภเชหิ ฯ  แนะพนาย ถ้า อย่า งนั้น อ .ท่า น ยัง พี่ ชาย จงให้บ ริโ ภค ในวัน พรุ่ง เถิด ฯ  - อมฺโ ภ ตฺว ํ เอวํ มา วเทหิ ฯ  แนะท่า นผูเ จริญ อ.ท่า น จงอย่า กล่า ว ้ อย่า งนี้ ฯ  - ตฺว ํ ติฏ ฺฐ เร ฯ  เฮ้ย /เว้ย อ.ท่า น จงหยุด ฯ
  • 13. ลําดับที่ ๒ นิบาตต้นข้อความ  นิบาตต้นข้อความ คือ นิบาตที่วางไว้เพื่อ บอกข้อความต่างๆ ในประโยค เช่น บอก เงื่อนไข บอกปฏิเสธ บอกความยอมรับ เป็นต้น เช่น กิร ได้ยินว่า, เจ, สเจ, ยทิ หากว่า, ผิว่า, ถ้าว่า, หนฺท เชิญเถิด, อโห โอ เป็นต้น ในประโยคใดมีนิบาตต้นข้อความ ศัพท์ใดศัพท์หนึ่งอยู่ด้วยให้แปลหลังบท อาลปนะ แต่ถ้าในประโยคใดไม่มีบท อาลปนะให้แปลนิบาตต้นข้อความก่อนได้
  • 14. สเจ เม อกฺขีนิ ปากติกานิ กาตุ สกฺขิสฺสสิ ฯ  ถ้าว่า อ.ท่าน จักอาจ เพื่ออันกระทํา ซึ่ง นัยน์ตา ของฉัน ให้เป็นปกติไซร้ ฯ  - อโห มหาคุโณ อายสฺมา อานนฺโท ฯ  โอหนอ อ.พระอานนท์ ผู้มีอายุ ผูมีคุณมาก ฯ ้  - หนฺท อิมํ กหาปณํ คเหตฺวา เทหิ ฯ  เชิญเถิด อ.ท่าน ถือเอาแล้ว ซึ่งกหาปณะนี้ จงให้เถิด ฯ -
  • 15. ลําดับที่ ๓ บทกาลสัตตมี  บทกาลสัตตมี คือ บทที่บอกกาลเวลา มีทั้งที่ เป็นบทนาม บทสัพพนาม และบทนิบาต เช่น สมเย, สมยํ ในสมัย, ทิวเส, ทิวสํ ในวัน, อชฺช วันนี้, อิทานิ ในกาลนี้, ปาโต แต่เช้า, หิยฺโย วันวาน, เสว พรุ่งนี้, อถ ครั้งนั้น เป็นต้น ใน ประโยคใดมีบทหรือศัพท์ที่เป็นสัตตมีวิภัตติที่ บอกกาลเวลาอยู่ด้วย ให้แปลก่อนบท ประธาน หรืออาจจะแปลเป็นลําดับสุดท้าย ของประโยคก็ได้ เช่น
  • 16. - ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปริสมชฺเฌ ธมฺมํ เทเสสิ ฯ  ในสมัยนั้น อ.พระศาสดา ทรงแสดงแล้ว ซึ่ง ธรรม ในท่ามกลางแห่งบริษัท ฯ  - ภนฺเต เสว อมฺหากํ ภิกฺขํ คณฺหถ ฯ  ข้าแต่ท่านผูเจริญ พรุ่งนี้ อ.ท่าน ท. จงรับ ้ ซึ่งภิกษา ของข้าพเจ้า ท. เถิด ฯ  - อถ สพฺเพ ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ ฯ  ครั้งนั้น อ.ชน ท. ทั้งปวง ทูลขอแล้ว ซึ่งการ บวช ฯ 
  • 17. ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ ฯ  ในกาลนั้น อ. โกฏิแห่งมนุษย์ ท. ๗ ย่อมอยู่ ในเมืองชือว่าสาวัตถี ฯ ่  - อชฺช ภนฺเต โอกาโส นตฺถิ ฯ  ข้าแต่ท่านผูเจริย ในวันนี้ อ.โอกาส ย่อมไม่มี ้ ฯ -
  • 18. ลําดับที่ ๔ บทประธาน  บทประธาน คือบทที่เป็นเจ้าของกิริยาใน ประโยค ประกอบรูปศัพท์มาจากปฐมาวิภัตติ สิ, โย วิภัตติ ออกสําเนียงอายตนิบาตว่า “อันว่า” มี ๒ ประเภท คือ  ๑) บทประธานทั่วไป เช่น ปุริโส บุรุษ, กญฺญา นางสาวน้อย, กุลํ ตระกูล เป็นต้น  ๒) บทประธานพิเศษ เช่น เอวํ อ.อย่างนั้น, ตถา อ.เหมือนอย่างนัน, อลํ อ.พอละ เป็นต้น ้
  • 19. บทประธานนิยมแปลถัดจากบทอาลปนะ นิบาตต้นข้อความ บทกาลสัตตมี (ยกเว้นในประโยคนั้นไม่มีบทเหล่านี้อยู่ ด้วย ให้แปลบทประธานได้ทนที) เช่น ั อมฺม อหํ เภสชฺชํ น ชานามิ ฯ  ข้าแต่แม่ อ. เรา ย่อมไม่รู้ ซึ่งเภสัช (ยา) ฯ  - ตุมฺเห ปน สามิ ฯ  ข้าแต่นาย ก็ อ.ท่าน ท. เล่า ฯ -
  • 20. อาจริย มยฺหํ โทโส นตฺถิ ฯ  ข้าแต่อาจารย์ อ.โทษ ของผม ย่อมไม่มี ฯ  - เอวํ กิร ภิกฺขเว ฯ  ดูก่อนภิกษุ ท. ได้ยินว่า อ. อย่างนั้น หรือ ฯ -
  • 21. ลําดับที ๕ บทขยายประธาน  บทขยายประธาน คือบทที่ทําหน้าที่ขยาย ประธานของประโยค บางทีเรียกว่า บทวิเส สนะ หรือบทคุณนาม ในบางประโยคอาจมี หรือไม่มีก็ได้ เช่น ปณฺฑิโต ภิกฺขุ อ.ภิกษุผู้ เป็นบัณฑิต, ปญฺจสตา ภิกฺขู อ.ภิกษุ ท. มี ร้อยห้าเป็นประมาณ, โส ทารโก อ.เด็กคน นั้น เป็นต้น
  • 22.  บทขยายประธานโดยทั่วไปต้องมีลิงค์ (เพศ) วจนะ และวิภัตติเสมอกับบทประธานเสมอ ในประโยคใด มีบทขยายประธานให้แปล หลังแปลบทประธานแล้ว เช่น  - อญฺญตโร ภิกฺขุ ปิณฺฑาย คามํ ปาวิสิ ฯ  อ. ภิกษุ รูปใดรูปหนึ่ง เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อ บิณฑบาต ฯ
  • 23.  บทขยายประธานอีกประเภทหนึ่ง ที่มิใช่ปฐม าวิภัตติ แต่มีลักษณะที่แสดงความเกี่ยวเนื่อง กับบทประธาน ส่วนมากประกอบด้วยฉัฏฐี วิภัตติ สัตตมีวิภัตติ เช่น  - อิมสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ปพฺพชิโต ฯ  อ.บุตร ของบุรุษนี้ บวชแล้ว ฯ  - มยา สตฺถริ อาฆาโต กโต ฯ  อ. ความอาฆาต ในพระศาสดา อันเรา กระทําแล้ว ฯ
  • 24. ลําดับที่ ๖ บทกิริยาในระหว่าง  บทกิริยาในระหว่าง คือ บทกิริยาที่อยู่ใน ระหว่างประโยคต่างๆ โดยส่วนมากประกอบ มาจากปัจจัยในกิริยากิตก์ มี ๒ ประเภทคือ กิริยาที่แจกได้ เช่น ต อนฺต มาน ตวนฺตุ ตาวี และแจกไม่ได้ เช่น ตูน ตฺวา ตฺวาน  ถ้าเป็นกิริยาที่แจกได้ก็ต้องแจกด้วยวิภัตติให้ เสมอกับบทที่มันขยาย ถ้าเป็นกิริยาที่แจกไม่ ได้ก็ไม่ต้องแจกวิภัตติแปลได้ทันที ให้แปล ไปตามลําดับก่อน-หลังในประโยคนั้นๆ เช่น
  • 25. โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺขู ปริเยสนฺโต สฏฺฐี ภิกฺขู ลภิตฺวา เตหิ ลทฺธึ นิกฺขมิตฺวา... ฯ  อ. (พระเถระ) นั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระ ศาสดา แสวงหาอยู่ ซึ่งภิกษุ ท. ผู้มีปกติเที่ยว ไปกับ ด้วยตน ได้แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ๖๐ ออก ไปแล้ว กับด้วยภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ -
  • 26. สาปิ (จุลฺลสุภทฺทา) ตเถว กโรนฺตี โสตาปนฺ นา หุตฺวา ปติกุลํ คตา ฯ  (อ.นางจุลลสุภัททา) นั้น กระทําอยู่ อย่างนั้น นั่นเทียว เป็นโสดาบัน เป็น ไปแล้ว สูตระกูล ่ แห่งผัว ฯ -
  • 27. ลําดับที่ ๗ บทขยายกิริยาในระหว่าง  บทขยายกิริยาในระหว่าง คือ บรรดาบทนาม บทใดบทหนึงที่อยู่หน้ากิริยาในระหว่าง ส่วน ่ มากประกอบด้วยวิภัตตินามทั้ง ๗ วิภัตติ ทํา หน้าที่ขยายความของกิริยาในระหว่างให้ ชัดเจนขึ้น ให้แปลหลังจากแปลกิริยาใน ระหว่างแล้ว เช่น  - โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺ ขู ปริเยสนฺโต สฏฺฐี ภิกฺขู ลภิตฺวา เตหิ ลทฺธึ นิกฺ ขมิตวา... ฯ ฺ  อ. (พระเถระ) นั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระ
  • 28. ลำำดับที่ ๘ ประโยคแทรก  ประโยคแทรก คือ ประโยคที่แทรกเข้ำมำระ หว่ำงประโยคหลัก เนื้อควำมแตกต่ำงไปจำก ประโยคหลัก มีประธำนและกิริยำเฉพำะตน มี ๒ ประเภท คือ  ๑) ประโยคอนำทร คือ ประโยคที่แทรกเข้ำ มำในระหว่ำงประโยคหลัก หรือประโยคท้อง เรื่อง ประกอบรูปมำจำกฉัฏฐีวิภัตติ ทั้งบท นำมและบทกิริยำ ออกสำำเนียงกำรแปลว่ำ “เมื่อ” ประโยคอนำทรนี้ แทรกเข้ำมำตอน
  • 29. เสฏฺฐสฺส อิทญฺจิทญฺจ กโรนฺตสฺเสว ทำรโก ิ วุฑฺฒิโต ฯ  เมื่อเศรษฐีกระทำำอยู่ (ซึ่งกรรม) นี้ด้วย นีด้วย ้ นั่นเทียว อ.เด็ก เจริญแล้ว ฯ -
  • 30.  ๒) ประโยคลักขณะ คือ ประโยคที่แทรกเข้ำ มำในระหว่ำงประโยคหลัก หรือประโยคท้อง เรื่อง ประกอบรูปมำจำกสัตตมีวิภัตติ ทั้งบท นำมและบทกิริยำ ออกสำำเนียงกำรแปลว่ำ “ครั้นเมื่อ” ประโยคลักขณะนี้ แทรกเข้ำมำ ตอนไหนให้แปลในตอนนั้นได้ทันที เช่น  - ทุติยมฺปิ คพฺเภ ปติฏฺฐิเต ตสฺสำ อำโรเจสิ ฯ  แม้ในวำระที่ ๒ ครั้นเมื่อสัตว์ผู้เกิดในครรภ์
  • 31. ลำำดับที่ ๙ บทขยำยประโยคแทรก  บทขยำยประโยคแทรก คือ บทที่เนื่องด้วย ประโยคแทรก ทำำหน้ำที่ขยำยควำมของ ประโยคแทรกที่กล่ำวมำแล้วให้มีควำมหมำยก ว้ำงขวำงยิ่งขึนไปอีก ในประโยคแทรกใดๆ มี ้ บทขยำยประโยคแทรกอยู่ด้วยให้แปลถัดจำก แปลประโยคแทรกได้ทันที เช่น  - เถรสฺส สำมเณเรหิ สทฺธึ อำรำมำ อำคจฺฉนฺตสฺส, อชฺช สตฺตโม ทิวโส ฯ  เมื่อพระเถระ มำอยู่ สู่อำรำม กับด้วยสำมเณร
  • 32. มยิ เอเตหิ (ภิกฺขูหิ) สทฺธึ คจฺฉนฺเต  ครั้นเมื่อเรำ ไปอยู่ กับด้วยภิกษุ ท. เหล่ำนั้น -
  • 33. ลำำดับที่ ๑๐ บทกิริยำคุมพำกย์  บทกิริยำคุมพำกย์ คือ กิริยำหลักของ ประโยคซึ่งจะขำดเสียมิได้ ประโยคใดๆ หำก ไม่มีกิริยำคุมพำกย์ตำมหลักไวยำกรณ์บำลี ไม่จัดเป็นประโยค เป็นเพียงแต่พำกยำงค์ หรือกลุ่มคำำเท่ำนั้น บทกิริยำคุมพำกย์สร้ำง มำจำก ธำตุ ปัจจัย และวิภัตติในอำขยำต เป็นหลัก หรือไม่ก็สร้ำงมำจำก ธำตุ ปัจจัย ในกิริยำกิตก์บำงตัว และวิภัตตินำม เป็น กิริยำที่สดของประโยค หรือกิริยำที่บอก ุ
  • 34. สตฺถำ ปริโภคมกำสิ (ปริโภคำ อกำสิ) ฯ ฃ  อ.พระศำสดำ ได้ทรงกระทำำแล้ว ซึ่งกำร เสวย ฯ  - สูโท โอทนำ ปจติ ฯ  อ.พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้ำวสุก ฯ  - ภิกฺขุ คำมำ ปิณฺฑำย ปวิฏฺโฐ ฯ  อ. ภิกษุ เข้ำไปแล้ว สูบ้ำน เพื่อบิณฑะ ฯ ่ -
  • 35. ลำำดับที่ ๑๐ บทขยำยกิริยำคุมพำกย์  บทขยำยกิริยำคุมพำกย์ คือ บทที่เรียงอยู่ หน้ำกิริยำคุมพำกย์บ้ำง เรียงไว้หลังกิริยำคุม พำกย์บ้ำง มีควำมสัมพันธ์กับบทกิริยำคุม พำกย์ ในฐำนะเป็นบทขยำยกิริยำอำกำร ของกิริยำคุมพำกย์ให้ชดเจนกว้ำงขวำงออก ั ไป ต้องแปลเข้ำกับกิริยำคุมพำกย์เท่ำนัน ้ หลักกำรแปลเหมือนกับหลักกำรแปลบท ขยำยกิริยำในระหว่ำงที่กล่ำวแล้ว เช่น
  • 36. เถโร สตฺถำรำ วนฺทิตฺวำ เอกมนฺตำ นิสีทิ ฯ  อ.พระเถระ ถวำยบังคมแล้ว ซึ่งพระศำสดำ นังแล้ว ณ ที่ควรส่วนข้ำงหนึ่ง ฯ ่  - สตฺถำ ภตฺตคฺคำ ปวิสิตฺวำ ปญฺญตฺตำสเน นิ สีทิ ฯ  อ. พระศำสดำ เสด็จเข้ำไปแล้ว สูโรงเป็นที่ ่ ฉัน ประทับนั่งแล้ว บนอำสนะอันบุคคลปูลำด แล้ว ฯ -