SlideShare a Scribd company logo
วิช าพระอภิธ รรม
ปิฎ ก
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิต
วโร,ดร.
น.ธ.เอก,ป.ธ.๘,พธ.บ.
(อังกฤษ),พธ.ม.
(บาลี),พธ.ด.(พระพุทธ
ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับพระอภิธรรมปิฎก
้
 ความหมายของ

“พระอภิธ รรมปิฎ ก ”
 คำา ว่า “พระอภิธ รรมปิฎ ก ” (บาลี อภิธ มฺม ปิฏ กำ)
มาจาก พระ (คำา ยกย่อ ง แปลว่า ประเสริฐ )
อภิธ รรม ธรรมอัน ยิ่ง ปิฏ ก (ตำา รา/ภาชนะ
เช่น ตระกร้า ) รวมแล้ว แปลว่า
 ตำา ราธรรมอัน ประเสริฐ ยิ่ง
คำาว่า

“ ปิฎก” (บาลี_ปิฏกำ) พระอรรถ
กถาจารย์ได้ให้ความหมายไว้ ๒
ประการ คือ
๑. ปิฎก หมายถึง คัมภีร์หรือตำารา ดัง
ประโยคบาลีว่า
มา ปิฎกสมฺปทาเนน
อย่าเชือถือโดยการอ้างตำารา
่
๒.

ปิฎก หมายถึง ภาชนะ (เช่น
ตะกร้า) ดังประโยคว่า
อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย กุทฺทาลปิฏกมา
ทาย ครั้งนันบุรุษคนหนึ่งถือจอบและ
้
ตระกร้าเดินมา
ความสำาคัญของพระอภิธรรมปิฎก
 พระอภิธรรมปิฎก

เป็น
 ๑. ปรมัตถเทศนา คือ การแสดงธรรมเจาะจงเฉพาะ
ประโยชน์อย่างยิ่งซึ่งเป็นธรรมชั้นสูงไม่เกี่ยวด้วย
ท้องเรื่อง หรือโวหาร
ความสำาคัญของพระอภิธรรมปิฎก
(ต่อ)
 ๒.

ยถาธัมมสาสนะ คือ การสอนตามเน้ืือหาแท้ๆ
ของธรรม
 ๓. นามรูปปริจเฉทกถา คือ ถ้อยคำาที่สอนให้กำาหนด
รูปและนาม คือร่างกายและจิตใจ
 ๔. อนุสยปหาน คือ เป็นเครื่องละกิเลสอย่างละเอียด
อันได้แก่กเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
ิ
สถานทีทรงแสดงพระอภิธรรม
่
 พระพุทธองค์ทรงแสดงพระอภิธรรม
 บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
 โปรดพุทธมารดา
 มีเทวดาร่วมฟัง

๘๐ โกฏิ
จำานวนเทวดาทีได้บรรลุธรรม
่
 พระพุทธองค์ทรงแสดงเป็นเวลา

๓ เดือน ของโลก
มนุษย์ มีเทวดาได้บรรลุธรรม ตามลำาดับคัมภีร์ ดังนี้
 ๑. คัมภีร์ธัมมสังคณี ว่าด้วยหมวดแห่งปรมัตถธรรม
ทรงแสดง ๑๒ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗ โกฏิ
 ๒.

คัมภีร์วิภงค์ ว่าด้วยการจำาแนกปรมัตถธรรม ทรง
ั
แสดง ๑๒ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗ โกฏิ
 ๓. คัมภีร์ธาตุกถา ว่าด้วยธาตุแห่งปรมัตถธรรม ทรง
แสดง ๖ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗ โกฏิ
 ๔.

คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยบัญญัติบุคคลและ
ปรมัตถ์ ทรงแสดง ๖ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗ โกฏิ
 ๕. คัมภีร์กถาวัตถุ ว่าด้วยการถามและตอบในปรมั
ตถธรรม ทรงแสดง ๑๓ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗
โกฏิ
 ๖.

คัมภีร์ยมก ว่าด้วยการแสดงปรมัตถธรรมเป็นคู่ๆ
ทรงแสดง ๑๘ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๗ โกฏิ
 ๗. คัมภีร์มหาปัฏฐาน ว่าด้วยปัจจัยปรมัตถธรรม ทรง
แสดง ๒๓ วัน มีเทวดาบรรลุธรรม ๔๐ โกฏิ
ความเป็นมาของพระอภิธรรมปิฎก
สมัยพุทธกาล
 ครั้งพุทธกาล

คำาว่าพระไตรปิฎก ไม่ปรากฏ มีปรากฏ
ว่า “ พรหมจรรย์” บ้าง “ ธรรมวินัย” บ้าง “ สุตะ” บ้าง
คำาว่า “ อภิธรรมปิฎก” จึงไม่ปรากฏ ส่วนคำาว่า
“ อภิธรรม” มีปรากฏหลายแห่ง บางครั้ง เรียกว่า
“ อภิธรรม” โดดๆ บ้าง บางครั้งเรียกคู่กันว่า
“ อภิธรรม อภิวินัย” บ้าง
สรุป คำาเรียกคำาสอนในสมัยพุทธกาล
 คำาที่ใช้เรียกคำาสอนในสมัยพุทธกาล
 ๑.​

พรหมจรรย์
 ๒. ธรรมวินัย
 ๓. สุตะ
 ๔. อภิธรรม
 ๕. อภิวินย
ั

มี ๕ คือ
หลักฐานทีปรากฏในคัมภีร์
่
 คำาว่า

“ พรหมจรรย์” (ทางดำาเนินชีวิตอย่าง
ประเสริฐ)
 มีปรากฏในพระพุทธพจน์สมัยที่ทรงส่งพระสาวก ๖๐
รูป ไปประกาศพระศาสนา ความว่า
 “ ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็น
ของทิพย์ทงที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเธอก็พนแล้ว
ั้
้
จากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์
 ทั้งที่เป็นของมนุษย์

พวกเธอจงจาริกไปเพื่อ
ประโยชน์สุขแก่ชนเป็นจำานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์
ชาวโลกเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวย
เทพและมนุษย์ อย่าไปโดยทางเดียวกันสองรูป
 จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น

มีความงามใน
ท่ามกลาง และมีความงามในที่สด จงประกาศ
ุ
พรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ และพยัญชนะ บริสุทธิ์
บริบูรณ์ ครบถ้วน

 ที่มา

วิ.ม.(ไทย) ๔/๓๒/๔๐.
พระพุทธพจน์ที่ตรัสถึงจุดมุงหมาย
่
ของการประพฤติพรหมจรรย์
 ภิกษุทั้งหลาย

พรหมจรรย์นี้เราประพฤติมิใช่เพือ
่
หลอกลวงคน มิใช่เพื่อเรียกร้องคนให้มานับถือ มิใช่
เพือประโยชน์แก่ลาภ สักการะและชื่อเสียง ทีแ้้เพื่อ
่
่
สำารวม เพื่อละกิเลส เพือคลายกำาหนัดยินดี เพื่อดับ
่
ทุกข์
 ที่มา องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๒๕/๔๑.
พระพุทธพจน์ตรัสประทานอุปสมบท
ให้พระอัญญาโกณฑัญญะ
 เธอจงมาเป็นภิกษุเถิด

ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอ
จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำาที่สุดทุกข์โดยชอบ
เถิด

 ที่มา

วิ.ม.(ไทย) ๔/๑๘/๒๕.
๒) คำาว่า พระธรรมวินัย
พระพุทธพจน์ ตรัสกับพระอานนท์ตอนใกล้
นิพพาน
 ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้ง

หลาย หลังจากเราล่วงลับไป ธรรมวินัยเหล่านั้น จะ
เป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย

 ที่มา

ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๖/๑๖๔.
 คำาว่า

ธรรมวินัย เป็นคำา ๒ คำา รวมอยู่ด้วยกัน คือ
ธรรมและวินัย คำาว่า ธรรม หมายถึง คำาสอนที่ทรงมุ่ง
แสดงเนื้อหา อัตถะ หรือสภาวะของธรรมะล้วนๆ ไม่มี
บัญญัติ บุคคล เวลา สถานที่ และท้องเรื่องเข้ามา
เกี่ยวข้องอยู่ในธรรมะนั้น ซึ่งต่อมาเรียกว่า อภิธรรม
 ต่อมาเมื่อจัดเป็น

ปิฎก เรียกว่า อภิธรรมปิฎก
 คำาว่า ธรรม ยังรวมเอาพระสูตรเข้าไว้ด้วย
 คำาว่า พระสูตร หมายถึง คำาสอนที่ปรารภถึง บัญญัติ
บุคคล เวลา สถานที่ ท้องเรื่อง และธรรมะที่ทรงสอน
รวมอยู่ด้วยกัน
 คำาว่า

วินัย คือคำาสอนในส่วนที่เป็นบัญญัติและ
ขนบธรรมเนียมเพือบริหารหมู่คณะของสังคมทีอยู่
่
่
รวมกันให้เป็นระเบียบเรียบร้อยดีงาม มีความเป็น
เอกภาพ ได้แก่ อุภโตวินย (ยุคต่อมาเรียกว่า อุภโต
ั
วิภังค์ คือ ภิกขุวิภังค์ และภิกขุนีวิภังค์) แปลว่า วินัย
๒ ฝ่าย คือ วินัยของภิกษุและวินัยของภิกษุณี
๓) คำาว่า สุตตะ
พระพุทธพจน์ตรัสถึงสุตตะ
 ภิกษุทั้งหลาย

บุคคล ๔ จำาพวกน้้ีมีปรากฏอยู่ใน
โลก บุคคล ๔ จำาพวกไหนบ้าง คือ
 (๑)​บุคคลผู้มีสุตะน้อยทังไม่เข้าถึงสุตะ
 (๒) บุคคลผู้มีสุตะน้อย แต่เข้าถึงสุตะ
 (๓) บุคคลผู้มีสุตะมากแต่ไม่เข้าถึงสุตะ
 (๔) บุคคลผู้มีสุตะมากทั้งเข้าถึงสุตะ
อธิบายขยายความว่า
 บุคคลผู้มีสุตะน้อยทั้งไม่เข้าถึงสุตะคือ

บุคคลบาง
คนในโลกนีมี สุตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน
้
อิติวตตกะ ชาตกะ อัพภูตธรรม เวทัลละ น้อย เขาก็
ุ
ไม่รอรรถรู้ธรรมของสุตะนั้น และไม่ปฏิบัติธรรม
ู้
สมควรแก่ธรรม
 ที่มา องฺ.จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๖/๙_๑๐.
 คำำว่ำ

สุตะ รวมไว้ทั้งพระวินัย พระสูตร และพระ
อภิธรรม ดังข้อควำมที่ปรำกฏใน อุปำลีเถรวัตถุ แห่ง
ขุททกนิกำย อปทำนว่ำ “ พระองค์มีพระวินัย พระ
สูตร พระอภิธรรม และพระพุทธวจนะมีองค์ ๙ แม้ทง
ั้
มวลเป็นธรรมสภำ
 ที่มำ ขุ.อป.(ไทย) ๓๒/๕๓๗/๘๑.
กำำเนิดของคำำว่ำ
พระไตรปิฎก
 ภำษิตของพระอุบำลีเถระ

แสดงให้เห็นว่ำ พระพุทธ
พจน์ที่เคยเรียกว่ำ ธรรมวินัย ได้กระจำยออกไปเป็น
๙ องค์ประกอบ (นวงฺคำ) กำรแบ่งพระพุทธพจน์เป็น
(นวงฺคำ) อำจเป็นกำรจัดพระพุทธพจน์ในรูปแบบเก่ำ
แก่ที่สุดก็เป็นได้ ต่อมำในชั้นอรรถกถำเรียกว่ำ
 นวังคสัตถุสำสน์

และในอุปำลีเถรวัตถุ ก็ได้ระบุถึง
พระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม ไว้ด้วย แสดงว่ำ ยุค
นี้มีกำรแบ่งพุทธวจนะในลักษณะนี้กันแล้ว เพียงแต่
ยังไม่แยกเป็นปิฎกอย่ำงชัดเจน เหมือนยุคต่อมำ พอ
มำถึงสมัยสังคำยนำ ครั้งที่ ๓ จึงใช้คำำว่ำ พระ
ไตรปิฎก
 ดังบำลีทปรำกฏในสังคำยนำครั้งที่
ี่

๓ ว่ำ เตปิฏกำ
พุทฺธวจนำ นำม พุทฺธสฺส ภควโต ธมฺมวินยสฺส สโมธำนำ
โหติ
 แปลว่ำ พระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎก เป็นทีรวมแห่ง
่
พระธรรมวินัยของพระผู้ม่พระภำคเจ้ำ
๔) คำำว่ำ อภิธรรม อภิวินัย
พระพุทธพจน์ตรัสถึง อภิธรรม อภิวินัย
 ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้

เป็นผู้ใคร่ธรรม เป็นผู้ฟง
ั
และผู้แสดงธรรมอันเป็นที่พอใจ มีควำมปรำโมทย์
อย่ำงย่ิิงในพระอภิธรรม ในพระอภิวินัย แม้กำรที่
ภิกษุเป็นผู้ใคร่ธรรม เป็นผู้ฟังและเป็นผู้แสดงธรรม
อันเป็นที่พอใจ มีควำมปรำโมทย์อย่ำงย่ิิงในพระ
อภิธรรม ในพระอภิวินัย นี้เป็นนำถกรณธรรม

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
native
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
niralai
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

Similar to พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
niralai
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Wataustin Austin
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80Rose Banioki
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
Pojjanee Paniangvait
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 

Similar to พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑ (20)

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
02life
02life02life
02life
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 

พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑