SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
อาจารย์ ชินวัชร นิลเนตร
กิริยาศัพท์ หมายถึงส่วนแห่งคาพูดที่เป็นการแสดงออกของนาม เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน
กิน ดื่ม ทา พูด คิด เป็นต้นในภาษาบาลีแบ่งออกเป็น 2ประเภค คือ กริยาอาขาย และกิริยากิตต์
กิริยาอาขยาต
กิริยา หมายถึง ศัพท์กิริยาที่แสดงการกระทาของนามนาม เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด
คิด เป็นต้น และทาหน้าที่เป็นกริยาใหญ่ในประโยคที่พูดและเขียน ในภาษาบาลีเรียก กิริยาอาขยาต (Verb) กิริยา
อาขยาต มีส่วนประกอบ 8 อย่าง คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก และปัจจัย
ส่วนประกอบเหล่านี้ ที่นามาประกอบเป็นรูปกิริยา มี 3 อย่าง คือ
1. ธาตุ บอกให้รู้ ความหมายของกิริยา
2. ปัจจัย (Suffix) บอกให้รู้ วาจก
3. วิภัตติ (Declension) บอกให้ รู้ กาล บท วจนะ บุรุษ
วทฺ + อ + ติ = วทติ
ธาตุ ปัจจัย วิภัตติ
วาจก กาล-บท-วจนะ-บุรุษ
วิภัตติ แปลว่า แจกหรือจาแนก. เมื่อลงไปแล้วเป็นเครื่องหมายให้รู้ กาล-บท-วจนะ-และ บุรุษ มี 8 หมวด หมวด
ละ 12 ตัว รวมทั้งหมด 96 ตัว
1.วตฺตมานา (แปลว่า อยู่, ย่อม, จะ)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ติ อนฺติ เต อนฺเต
สิ ถ เส วฺเห
มิ ม เอ มฺเห
ตัวอย่าง วิภัตติหมวดวัตตมานา ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) วทติ (เต) วทนฺติ (โส) วทเต (เต) วทนฺเต
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วทสิ (ตุมฺเห) วทถ (ตฺวํ) วทเส (ตุมฺเห) วทวฺเห
อุตตมบุรุษ (อหํ) วทามิ (มยํ)วทาม (อหํ) วเท (มยํ) วทมฺเห
ลักษณะเฉพาะ เอา อนฺติ เป็น อเร เช่น วุจฺจเร
ใช้ เต แทน ติ เช่น ชายเต
ใช้ อนฺเต แทน อนฺติ เช่น ปุจฺฉเต
ใช้ เอ แทน มิ เช่น อิจฺเฉ.
2.ปญฺจมี (แปลว่า จง, เถิด, ขอจง)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ตุ อนฺตุ ตํ อนฺตํ
หิ ถ สฺสุ วฺโห
มิ ม เอ อามฺหเส
ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดปัญจมี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) วทตุ (เต) วทนฺตุ (โส) วทตํ (เต) วทนฺเต
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วทหิ/วท (ตุมฺเห) วทถ (ตฺวํ) วทสฺสุ (ตุมฺเห) วทวโห
อุตตมบุรุษ (อหํ) วทามิ (มยํ)วทาม (อหํ) วเท (มยํ) วทามฺหเส
ลักษณะเฉพาะ ต ใช้แทน ตุ เช่น ชยต
หิ ลบทิ้ง เช่น คจฺฉ
สฺสุ ใช้แทนหิ เช่น กรสฺสุ
3. สตฺตมี (แปลว่า ควร, พึง, พึง)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
เอยฺย เอยฺยุํ เอถ เอรํ
เอยฺยาสิ เอยฺยาถ เอโถ เอยฺยวฺโห
เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยฺยํ เอยฺยามฺเห
ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดสัตตมี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) วเทยฺย,วเท (เต) วเทยฺยุํ (โส) วเทถ (เต) วเทรํ
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเทยฺยาสิ (ตุมฺเห) วเทยฺยาถ (ตฺวํ) วเทโถ (ตุมฺเห) วเทยฺยยวฺโห
อุตตมบุรุษ (อหํ) วเทยฺยามิ (มยํ)วเทยฺยาม (อหํ) วเทยฺยํ (มยํ) วเทยฺยามฺเห
ลักษณะเฉพาะ เอยฺย ลบ ยฺย เสียคงไว้แต่ เอ เช่น กเร, จเช, ชเห.
เอยฺย แปลงเป็น อา ได้บ้าง เช่น กยิรา
เอยฺย แปลงเป็น ญา ได้บ้าง เช่น ชญฺญา
เอยฺย ใช้เอถ ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ลเภถ
เอยฺยามิ ใช้ เอยฺย ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ปุจฺเฉยฺย
เอยฺยาม แปลงเป็น เอมุ ได้เช่น ชาเนมุ
4. ปโรกฺขา (แปลว่า แล้ว)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
อ อุ ตฺถ เร
เอ ตฺถ ตฺโถ วฺโห
อํ มฺห อึ มฺเห
ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดปโรกขา ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) วท (เต) วทุ (โส) วทตฺถ (เต) วทเร
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเท (ตุมฺเห) วทตฺถ (ตฺวํ) วทตฺโถ (ตุมฺเห) วทวโห
อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ) วทมฺห (อหํ) วทึ (มยํ) วทมฺเห
5. หิยตฺตนี (แปลว่า แล้ว, อ นําหน้า แปลว่า ได้-แล้ว)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
อา อู ตฺถ ตฺถุ™
โอ ตฺถ เส วฺหํ
อํ มฺห อึ มฺหเส
ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดหิยัตตนี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) อวท (เต) อวทุ (โส) อวทตฺถ (เต) อวทตฺถุํ
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) อวโท (ตุมฺเห) อวทตฺถ (ตฺวํ) อวทเส (ตุมฺเห) อวเทวฺหํ
อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ)วทมฺเห (อหํ) อวทึ (มยํ) อวทมฺหเส
ลักษณะเฉพาะ อา โดยมาก มักรัสสะเป็น อ เสมอ เช่น อปจ อภว อโวจ.
6. อชฺชตฺตนี (แปลว่า แล้ว, อ นําหน้า แปลว่า ได้-แล้ว) ปรสฺสปท อตฺตโนปท
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
อี อุ อา อู
โอ ตฺถ เส วฺห
อึ มฺหา อ มฺเห
ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดอัชชัตตนีประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้
บุรุษ
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมบุรุษ (โส) อวทิ (เต) วทุ (โส) วทตฺถ (เต) วทเร
มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเท (ตุมฺเห) วทตฺถ (ตฺวํ) วทตฺโถ (ตุมฺเห) วทวโห
อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ)วทมฺห (อหํ) วทึ (มยํ) วทมฺเห
ลักษณะเฉพาะ อี มักรัสสะ เป็น อิ เสมอ เช่น กริ, ปจิ, อลภิ.
อี รัสสะ อี เป็น อิ แล้ว ทีฆะหลังธาตุ และปัจจัยได้บ้าง เช่น อคมาสิ, ปกฺกามิ, อุทปาทิ.
อี เฉพาะ ลภ ธาตุ แปงเป็น ตฺถ, ตฺถ ได้บ้าง เช่น อลตฺถ, อลตฺถ.
อี แปลงเป็น จฺฉิ ได้เช่น ปุจฺฉิ (ปุส), อกฺโกจฺฉิ (กุส)
อี ใช้แทน โอ ได้เช่น อกาสิ
อุ คงรูป ลง ส อาคม เป็น สุ เช่น อาโรเจสุ
อุ แปลงเป็น อสุ ได้เช่น อกสุ, อาหสุ, อทสุ.
อุ แปลงเป็น อึสุ ได้เช่น กรึสุ, วทึสุ, กถยึสุ.
โอ ไม่นิยมคงใช้แต่ อี แทน เช่น อกาสิ ดังกล่าวแล้ว
อึ แปลงเป็น ตฺถ ได้เช่น อาสิตฺถ
7. ภวิสฺสนฺติ (แปลว่า จัก)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต
สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสวฺเห
สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสามฺเห
ลักษณะเฉพาะ สฺสติ สฺสนฺติ สฺสสิ สฺสถ สฺสามิ สฺสาม ลบ สฺส คงไว้แต่ ติ อนฺติ สิ ถ
อามิ อาม เช่น กาหติ, กาหนฺติ, กาหสิ, กาหถ, กาหามิ, กาหาม
ลจฺฉติ (ลภ ธาตุ), วจฺฉติ (วส ธาตุ), วกฺขติ (วจ ธาตุ), ทกฺขติ (ทิส ธาตุ),
มีกฎเหมือนข้างต้นทุกประการ คือ ลบ สฺส
สฺสามิ ใช้ สฺส แทนได้บ้าง เช่น ลภิสฺส ฯ
8. กาลาติปตฺติ (จัก-แล้ว อ นําหน้า จักได้-แล้ว)
ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ
สฺสา สฺสํสุ สฺสถ สฺสึสุ
สฺเส สฺสถ สฺสเส สฺสวฺเห
สฺสํ สฺสามฺหา สฺสํ สฺสามฺหเส
ลักษณะเฉพาะ สฺสา มักรัสสะ เป็น อ เสมอ เช่น อปจิสฺส, อสกฺขิสฺส,
อลภิสฺส, อภวิสฺส.
กาล
กาล คือ เวลากระทาของกิริยานั้น ๆ ในอาขยาตโดยย่อมี 3 คือ
1. ปัจจุบันกาล คือ กาลที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ได้แก่ วตฺตมานา ปญฺจมี สตฺตมี
2. อดีตกาล คือ กาลที่ล่วงแล้ว ได้แก่ ปโรกฺขา หิยตฺตนี อชฺชตฺตนี
3. อนาคตกาล คือ กาลที่ยังมาไม่ถึง ได้แก่ ภวิสฺสนฺติ - กาลาติปตฺติ
กาล โดยพิสดารมี 8 คือ
(1) ปัจจุบันกาลจัดเป็น 3 คือ
1. ปัจจุบันแท้แปลว่า อยู่
2. ปัจจุบันใกล้อดีต แปลว่า ย่อม
3. ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า จะ.
(2) อดีตกาลจัดเป็น 3 คือ
1. ล่วงแล้วไม่มีกาหนด แปลว่า แล้ว
2. ล่วงแล้ววานนี้ แปลว่า แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว.
3. ล่วงแล้ววันนี้ แปลว่า แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว.
(3) อนาคตกาลจัดเป็น 2 คือ
1. อนาคตกาลแห่งปัจจุบัน แปลว่า จัก.
2. อนาคตกาลแห่งอดีต แปลว่า จัก-แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้า แปลว่า จักได้-แล้ว.
ปญฺจมี บอกความบังคับ-ความหวัง-ความอ้อนวอน. สตฺตมี บอกความยอมตาม-ความกาหนด-ความราพึง.
บทคือ ฝ่ายหรือส่วนแห่งวิภัตติ แบ่งเป็น 2 คือ
1. ปรัสสบท บทเพื่อผู้อื่น เป็นเครื่องหมายให้รู้กริยาที่เป็นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก.
2. อัตตโนบท บทเพื่อตน เป็นเครื่องหมายให้รู้กิริยาที่เป็นกัมมวาจก ภาววาจก และ เหตุกัมมวาจก แต่ไม่แน่นอนเหมือนปัจจัย.
วจนะแปลว่า คาพูด มี 2 คือ
1. เอกวจนะ หมายเอาสิ่งของสิ่งหนึ่งสิ่งเดียว
2. พหุวจนะ หมายเอาของหลายสิ่ง หลายอัน เหมือนอย่างวจนะนาม.
บุรุษคือ ชั้นของกิริยาอาขยาตมี 3 คือ
1. ประถมบุรุษ เช่น โส ยาติ เขาไป.
2. มัธยมบุรุษ เช่น ตฺว ยาสิ เจ้าไป.
3. อุตตมบุรุษ เช่น อห ยามิ ข้าไป.
ธาตุคือกิริยาศัพท์ที่เป็นมูลราก โดยย่อมี 2 คือ
1. สกมฺมธาตุ ได้แก่ ธาตุที่เรียกหากรรม.
2. อกมฺมธาตุ ได้แก่ ธาตุที่ไม่เรียกหากรรม.
ธาตุ
ธาตุ คือ รากศัพท์ ของกิริยาศัพท์ และนามศัพท์ (นามศัพท์ที่สาเร็จมาจากธาตุ) เช่น คม ธาตุในความไป,
เดิน ก็คือ คม ธาตุ แปลว่า/มีความหมายว่า ไป, เดิน นั่นเอง
ธาตุ เมื่อลงปัจจัย (อาขยาต) ลงวิภัตติ (อาขยาต) แล้ว สาเร็จเป็นกิริยาอาขยาต จึงนาไปใช้ในประโยคได้
ธาตุจัดเป็น 8 หมวด ตามที่ประกอบด้วยปัจจัยตัวเดียวกัน คือ
หมวด ภู ธาตุ ลง อ * ปัจจัย
ภู + อ + ติ เป็น ภวติ ย่อมมี, ย่อมเป็น
หู + อ + ติ เป็น โหติ ย่อมมี, ย่อมเป็น
สิ + อ + ติ เป็น เสติ,สยติ ย่อมนอน
มร + อ + ติ เป็น มรติ ย่อมตาย
ปจ + อ + ติ เป็น ปจติ ย่อมหุง, ย่อมต้ม
อิกฺข + อ + ติ เป็น อิกฺขติ ย่อมเห็น
ลภ + อ + ติ เป็น ลภติ ย่อมได้
คมุ + อ + ติ เป็น คจฺฉติ ย่อมไป
หมวด รุธ ธาตุ ลง อ, เอ ปัจจัย และลงนิคคหิตอาคม หน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ
รุธ + อ + ติ เป็น รุนฺธติ, รุนฺเธติ ย่อมปิด, ย่อมกั้น
มุจ + อ + ติ เป็น มุญฺจติ ย่อมปล่อย
ภุช + อ + ติ เป็น ภุญฺชติ ย่อมกิน
ภิท + อ + ติ เป็น ภินฺทติ ย่อมแตก, ย่อมทําลาย
ลิป + อ + ติ เป็น ลิมฺปติ ย่อมฉาบ,ย่อมทา
หมวด ทิว ธาตุ ลง ย ปัจจัย
สุ + ณา + ติ เป็น สุณาติ ย่อมฟัง
สุ + ณุ + ตุ เป็น สุโณตุ จงฟัง
วุ + ณา + ติ เป็น วุณาติ ย่อมร้อย
สิ + ณุ + ติ เป็น สิโณติ ย่อมผูก
ป + อป + อุณา + ติ เป็น ปาปุณาติ ย่อมถึง
กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย
กี + นา + ติ เป็น กิณาติ ย่อมซื้อ
ชิ + นา + ติ เป็น ชินาติ ย่อมชนะ
ธุ + นา + ติ เป็น ธุนาติ ย่อมกําจัด
จิ + นา + ติ เป็น จินาติ ย่อมสั่งสม
ลุ + นา + ติ เป็น ลุนาติ ย่อมเกี่ยว, ย่อมตัด
ญา + นา + ติ เป็น ชานาติ ย่อมรู้
ผุ + นา + ติ เป็น ผุนาติ ย่อมฝัด, ย่อมโปรย
หมวด คห ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย
คห + ณฺหา + ติ เป็น คณฺหาติ ย่อมถือเอา
คห + ณฺหา + หิ เป็น คณฺห จงถือเอา
หมวด ตน ธาตุ ลง โอ ปัจจัย
ตนุ + โอ + ติ เป็น ตโนติ ย่อมแผ่ไป
กร + โอ + ติ เป็น กโรติ ย่อมทํา
สกฺก + โอ + ติ เป็น สกฺโกติ ย่อมอาจ
ชาคร + โอ + ติ เป็น ชาคโรติ ย่อมตื่น
หมวด จุร ธาตุ ลง เณ ณย ปัจจัย
จุร + เณ + ติ เป็น โจเรติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย
จุร + ณย + ติ เป็น โจรยติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย
ตกฺก + เณ + ติ เป็น ตกฺเกติ ย่อมตรึก
ตกฺก + ณย + ติ เป็น ตกฺกยติ ย่อมตรึก
ลกฺข + เณ + ติ เป็น ลกฺเขติ ย่อมกําหนด
ลกฺข + ณย + ติ เป็น ลกฺขยติ ย่อมกําหนด
มนฺต + เณ + ติ เป็น มนฺเตติ ย่อมปรึกษา
มนฺต + ณย + ติ เป็น มนฺตยติ ย่อมปรึกษา
จินฺต + เณ + ติ เป็น จินฺเตติ ย่อมคิด
จินฺต + ณย + ติ เป็น จินฺตยติ ย่อมคิด
ธาตุ
ธาตุ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.สกัมมธาตุ ธาตุเรียกหากรรม (คือ สิ่งที่ถูกทา) คือสกัมมกิริยา กิริยาที่เรียกหากรรม
2. อกัมมธาตุ ธาตุไม่เรียกหากรรม คือ อกัมมกิริยา กิริยาที่ไม่เรียกหากรรม
วิภัตติอาขยาต
วิภัตติอาขยาต แบ่งเป็น 8 หมวด คือ
1. วตฺตมานา บอกปัจจุบันกาล ปัจจุบันแท้-ปัจจุบันใกล้อดีต-ปัจจุบันใกล้อนาคต
2. ปญฺจมี บอกความบังคับ ความหวัง ความอ้อนวอน
3. สตฺตมี บอกความยอมตาม ความกาหนด ความราพึง
4. ปโรกฺขา บอกอดีตกาล ล่วงแล้วไม่มีกาหนด
5. หิยตฺตนี บอกอดีตกาล ล่วงแล้ววานนี้
6. อชฺชตฺตนี บอกอดีตกาล ล่วงแล้ววันนี้
7. ภวิสฺสนฺติ บอกอนาคตกาล ของปัจจุบัน
8. กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาล ของอดีต
ในหมวดหนึ่งๆ มีวิภัตติ 12 ตัว คือ ฝ่ายปรัสสบท 6 และอัตตโนบท 6 มี 2 วจนะ มีบุรุษ 3 คือ ปฐม
บุรุษ มัชฌิมบุรุษ และ อุตตมบุรุษ รวมทั้งหมดมีวิภัตติ 96 ตัว
วิภัตตินาม กับ วิภัตติอาขยาต ต่างกัน วิภัตตินาม ใช้แจกนามศัพท์ บอกให้รู้ ลิงค์ วจนะ การันต์ และ
อายตนิบาตวิภัตติอาขยาต ใช้ลงท้ายธาตุ บอกให้รู้ กาล บท วจนะ บุรุษ
การแจกวิภัตตินาม และ อาขยาต วิภัตตินาม ลงท้ายนามศัพท์แจกตามลิงค์และ การันต์ ของนามนั้นวิภัตติ
อาขยาต ลงท้ายธาตุ แจกตามบุรุษ และ วจนะ ของนามที่เป็นประธาน
วาจก คือกริยาศัพท์ที่บอกตัวประธาน มี 5 คือ
1. กตฺตุวาจก อุ. สูโท โอทน ปจติ. พ่อครัวหุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก.
2. กมฺมวาจก อุ. สูเทน โอทโน ปจิยเต. ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่.
3. ภาววาจา อุ. เตน ภูยเต. อันเขาเป็นอยู่
4. เหตุกมฺมวาจก อุ.สามิโก สูท โอทน ปาเจติ. นายยังพ่อครัวให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก.
5. เหตุกมฺมมวาจก อุ. สามิเกน สูเทน (สูท) โอทโน ปาจาปิยเต. ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัวให้หุงอยู่.
ปัจจัย
ปัจจัย คือเครื่องปรุงแต่ง ลงในวาจกทั้ง 5 ดังนี้
1. ปัจจัยที่ลงในกตฺตุวาจก มี 10 ตัว คือ อ-เอ-ย-ณุ-ณา-นา-ณฺหา-โอ-เณ-ณย
2. ปัจจัยที่ลงในกมมฺวาจกมี 1 ตัว คือ ย พร้อมทั้งลง อิ อาคมหน้า ย
3. ปัจจัยที่ลงในภาววาจก มี 1 ตัว คือ ย
4. ปัจจัยที่ลงในเหตุกตฺตุวาจก มี 4 ตัว คือ เณ-ณย-ณาเป-ณาปย
5. ปัจจัยที่ลงในเหตุกมฺมวาจก มี 5 ตัว คือ เณ-ณย-ณาเป-ณาปย-ย และลง อิ อาคม หน้า ย
ปัจจัยพิเศษคือ
1. ข-ฉ-ส ปัจจัย 3 ตัวนี้ ประกอบด้วยธาตุ 5 ตัว คือ ภุช-ฆส-หร-สุ-ปา แปลว่า
ปรารถนาเช่น พุภุกฺขติ ย่อมปรารถนาจะกิน. ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนาจะกิน. ชิคึสติ ย่อมปรารถนาจะนาไป.
2. อาย-อีย ปัจจัย 2 ตัวนี้ สาหรับประกอบนามศัพท์อย่างเดียว ทาให้เป็นกิริยา แปลว่า ประพฤติเพียงดัง เช่น
ปพฺพตายติ ย่อมประพฤติเพียงดังภูเขา. ปุตฺติยติ ย่อมประพฤติเพียงดังบุตร .
อส ธาตุ
ในความมี, ความเป็น มีหลักการแปลง ธาตุ วิภัตติ ปัจจัย ดังนี้
ติ เป็น ตฺถิ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถิ
อนฺติ คงรูป ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สนฺติ
สิ คงรูป ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสิ
ถ เป็น ตฺถ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถ
มิ เป็น มฺหิ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อมฺหิ
ม เป็น มฺห ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อมฺห
ตุ เป็น ตฺถุ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถุ
เอยฺย เป็น อิยา ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สิยา
เอยฺย กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺส
เอยฺยุํ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสุํ
เอยฺยุํ เป็น อิยุํ ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สิยุํ
เอยฺยาสิ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺส
เอยฺยาถ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสถ
เอยฺยามิ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสํ
เอยฺยาม กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสาม
อิ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสิ
อุํ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสุํ
ตฺถ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสิตฺถ
อึ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสึ
มฺหา คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อิสิมฺหา
ในความมี, ความเป็น มีหลักการแปลง ธาตุ วิภัตติ ปัจจัย ดังนี้
กิตก์
กิตก์ คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งสาหรับประกอบกับธาตุให้สาเร็จรูปเป็นนามศัพท์และกิริยาศัพท์ เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ
ณฺวุ ปัจจัยสาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้ เป็นนามศัพท์, ทา ธาตุประกอบกับ ต ปัจจัย สาเร็จเป็น ทินฺน แปลว่าให้แล้ว เป็น
กิริยาศัพท์ มี ๒ ชนิด คือ
๑. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นนามศัพท์เรียกว่า "นามกิตก์“
๒. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นกิริยาศัพท์เรียกว่า "กิริยากิตก์"
นามกิตก์ คือ นามศัพท์ที่สาเร็จมาจากปัจจัยกลุ่มหนึ่งที่เป็นนาม คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู, ข, ณฺย, อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ ํ,
ยุประกอบกับธาตุ เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ ณฺวุ ปัจจัยสาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้ ศัพท์ว่า ทายก จัดเป็น นามกิตก์
ปัจจัยแห่งนามกิตก์ สาหรับประกอบกับธาตุ เพื่อให้สาเร็จเป็นสาธนะแบ่งเป็น ๓ หมวด คือ
๑. หมวดกิตปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นกัตตุรูป มี ๕ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู
๒. หมวดกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นกัมมรูป และ ภาวรูป มี ๒ ตัว คือ ข, ณฺย
๓. หมวดกิตกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นได้ทั้ง ๓ รูป มี ๗ ตัว คือ อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ , ยุ
กิริยากิตก์
กิริยากิตก์ คือ ศัพท์จาพวกหนึ่ง ที่มีธาตุประกอบด้วยปัจจัยกิตก์จาพวกกิริยา สาเร็จรูปด้วยวิภัตติแล้ว
ใช้เป็นกิริยาเรียกว่า กิริยากิตก์ กิริยากิตก์นี้ ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๖ ประการ คือ วิภัตติ วจนะ กาล ธาตุ
วาจก ปัจจัย
วิภัตติและวจนะ ถ้านามศัพท์ประกอบด้วยวิภัตติและวจนะใด กิริยากิตก์ต้องประกอบวิภัตติและวจนะนั้นตาม
เช่น ภิกฺขุุ คาม ปิณฺฑาย ปวิฎฺโฐ ฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อก้อนข้าว ฯ ภิกฺขุ เป็นนามนาม ประกอบ ด้วย สิ
ปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ปวิฎฺฐ เป็นกิริยากิตก์ ก็ประกอบ สิปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ตาม
เยเกจิ พุทฺธ สรณ คตา ฯ อ.ชน ท. เหล่าใด เหล่าหนึ่ง ถึงแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่ระลึกฯ เยเกจิ เป็น สัพ
พนาม (ขยาย ชนา) ประกอบ โย ปฐมา วิภัตติ คต เป็นกิริยากิตก์ ก็ประกอบ โย ปฐมาวิภัตติ ตาม
กาล
ปัจจุบันกาล
๑) ปัจจุบันแท้แปลว่า "...อยู่" เช่น อห ธมฺม สุณนฺโต ปีตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปีติ.
๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..." เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อ
ทรงสืบต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถานี้.
๓) อดีตกาลล่วงแล้ว แปลว่า "...แล้ว" เช่น ตโย มาสา อติกฺกนฺตา ฯ อ. เดือน ท. สาม ก้าวล่วงแล้ว ฯ
๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ แปลว่า "ครั้น ...แล้ว" เช่น เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺต อภิวาเทตฺวา เอ
กมนฺต นิสีทิ ฯ (อ.ภิกษุรูปหนึ่ง) อ.พระผู้มีพระภาคเจ้า (ประทับอยู่แล้ว) โดยส่วนแห่งทิศใด, เข้าไปเฝ้าแล้วโดย ส่วน
แห่งทิศนั้น, ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
วาจกคือ ศัพท์สาหรับกล่าวกิริยาบ่งถึงตัวประธาน มีลักษณะและแบ่งเป็น ๕ วาจก เหมือนในอาขยาต มีอุทาหรณ์ ดังนี้
๑) กัตตุวาจก ภิกฺขุ คาม ปิณฺฑาย ปวิฏฺโฐฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้วสู่บ้านเพื่อก้อนข้าวฯ.
๒) กัมมวาจก อธิคโต โข มยาย ธมฺโม ฯ อ.ธรรม นี้ อันเราถึงทับแล้ว แลฯ.
๓) ภาววาจก การเณเนตฺถ ภวิตพฺพ ฯ อันเหตุ ในเรื่องนี้พึงมี ฯ.
๔) เหตุกัตตุวาจก สเทวก ตารยนฺโต ฯ ยังโลก อันเป็นไปกับ ด้วยเทวโลก ให้ข้ามอยู่ ฯ.
๕) เหตุกัมมวาจก อย ถูโป ปติฏฺฐาปิโต ฯ อ.พระสถูปนี้ อันชนให้ตั้งจาเพาะแล้ว ฯ.
กาล
ปัจจุบันกาล
๑) ปัจจุบันแท้แปลว่า "...อยู่" เช่น อห ธมฺม สุณนฺโต ปีตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปีติ.
๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..." เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อทรงสืบ
ต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถานี้.
อดีตกาล
ปัจจัย แบ่งเป็น ๓ หมวด คือ
๑) กิตปัจจัย มี ๓ ตัว คือ อนฺต, ตวนฺตุ, ตาวี
๒) กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ
๓) กิตกิจจปัจจัย มี ๕ ตัว คือ มาน, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน
ปัจจัย บอกกาลต่างกัน ดังนี้
๑) ปัจจุบันแท้ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน
๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน
๓) อดีตกาลล่วงแล้ว ปัจจัยที่บอก คือ ตวนฺตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน
๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ ปัจจัยที่บอก คือ ตูน, ตฺวา, ตฺวาน
ส่วน อนีย, และ ตพฺพ ปัจจัย ไม่บอกกาลอะไร บอกเพียง ความเป็นไปของกิริยาอาการ แปลว่า ควร, พึง
ตัวอย่างประกอบกับธาตุ
อนฺต ปัจจัย
สุ+ณา+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น สุณนฺโต ฟังอยู่กร+โอ+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น กโรนฺโต ทาอยู่
กถ+เณ+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น กเถนฺโต กล่าวอยู่ ในอิตถีลิงค์ลง อี ปัจจัย นาไปแจกตามแบบ นารี เป็น สุณนฺตี
กโรนฺตี กเถนฺตี

More Related Content

What's hot

คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 

What's hot (20)

คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 

Similar to บทที่ 4 กิริยาศัพท์

2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Wataustin Austin
 

Similar to บทที่ 4 กิริยาศัพท์ (20)

ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต บาลี-ไทย.pdf
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต บาลี-ไทย.pdfพจนานุกรมกิริยาอาขยาต บาลี-ไทย.pdf
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต บาลี-ไทย.pdf
 
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต (บาลี-ไทย) ฉบับธรรมเจดีย์.pdf
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต (บาลี-ไทย) ฉบับธรรมเจดีย์.pdfพจนานุกรมกิริยาอาขยาต (บาลี-ไทย) ฉบับธรรมเจดีย์.pdf
พจนานุกรมกิริยาอาขยาต (บาลี-ไทย) ฉบับธรรมเจดีย์.pdf
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ดบทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บทที่ 4 กิริยาศัพท์

  • 2. กิริยาศัพท์ หมายถึงส่วนแห่งคาพูดที่เป็นการแสดงออกของนาม เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด เป็นต้นในภาษาบาลีแบ่งออกเป็น 2ประเภค คือ กริยาอาขาย และกิริยากิตต์ กิริยาอาขยาต กิริยา หมายถึง ศัพท์กิริยาที่แสดงการกระทาของนามนาม เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด เป็นต้น และทาหน้าที่เป็นกริยาใหญ่ในประโยคที่พูดและเขียน ในภาษาบาลีเรียก กิริยาอาขยาต (Verb) กิริยา อาขยาต มีส่วนประกอบ 8 อย่าง คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก และปัจจัย ส่วนประกอบเหล่านี้ ที่นามาประกอบเป็นรูปกิริยา มี 3 อย่าง คือ 1. ธาตุ บอกให้รู้ ความหมายของกิริยา 2. ปัจจัย (Suffix) บอกให้รู้ วาจก 3. วิภัตติ (Declension) บอกให้ รู้ กาล บท วจนะ บุรุษ วทฺ + อ + ติ = วทติ ธาตุ ปัจจัย วิภัตติ วาจก กาล-บท-วจนะ-บุรุษ วิภัตติ แปลว่า แจกหรือจาแนก. เมื่อลงไปแล้วเป็นเครื่องหมายให้รู้ กาล-บท-วจนะ-และ บุรุษ มี 8 หมวด หมวด ละ 12 ตัว รวมทั้งหมด 96 ตัว
  • 3. 1.วตฺตมานา (แปลว่า อยู่, ย่อม, จะ) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ติ อนฺติ เต อนฺเต สิ ถ เส วฺเห มิ ม เอ มฺเห ตัวอย่าง วิภัตติหมวดวัตตมานา ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) วทติ (เต) วทนฺติ (โส) วทเต (เต) วทนฺเต มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วทสิ (ตุมฺเห) วทถ (ตฺวํ) วทเส (ตุมฺเห) วทวฺเห อุตตมบุรุษ (อหํ) วทามิ (มยํ)วทาม (อหํ) วเท (มยํ) วทมฺเห ลักษณะเฉพาะ เอา อนฺติ เป็น อเร เช่น วุจฺจเร ใช้ เต แทน ติ เช่น ชายเต ใช้ อนฺเต แทน อนฺติ เช่น ปุจฺฉเต ใช้ เอ แทน มิ เช่น อิจฺเฉ.
  • 4. 2.ปญฺจมี (แปลว่า จง, เถิด, ขอจง) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ตุ อนฺตุ ตํ อนฺตํ หิ ถ สฺสุ วฺโห มิ ม เอ อามฺหเส ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดปัญจมี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) วทตุ (เต) วทนฺตุ (โส) วทตํ (เต) วทนฺเต มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วทหิ/วท (ตุมฺเห) วทถ (ตฺวํ) วทสฺสุ (ตุมฺเห) วทวโห อุตตมบุรุษ (อหํ) วทามิ (มยํ)วทาม (อหํ) วเท (มยํ) วทามฺหเส ลักษณะเฉพาะ ต ใช้แทน ตุ เช่น ชยต หิ ลบทิ้ง เช่น คจฺฉ สฺสุ ใช้แทนหิ เช่น กรสฺสุ
  • 5. 3. สตฺตมี (แปลว่า ควร, พึง, พึง) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ เอยฺย เอยฺยุํ เอถ เอรํ เอยฺยาสิ เอยฺยาถ เอโถ เอยฺยวฺโห เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยฺยํ เอยฺยามฺเห ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดสัตตมี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) วเทยฺย,วเท (เต) วเทยฺยุํ (โส) วเทถ (เต) วเทรํ มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเทยฺยาสิ (ตุมฺเห) วเทยฺยาถ (ตฺวํ) วเทโถ (ตุมฺเห) วเทยฺยยวฺโห อุตตมบุรุษ (อหํ) วเทยฺยามิ (มยํ)วเทยฺยาม (อหํ) วเทยฺยํ (มยํ) วเทยฺยามฺเห ลักษณะเฉพาะ เอยฺย ลบ ยฺย เสียคงไว้แต่ เอ เช่น กเร, จเช, ชเห. เอยฺย แปลงเป็น อา ได้บ้าง เช่น กยิรา เอยฺย แปลงเป็น ญา ได้บ้าง เช่น ชญฺญา เอยฺย ใช้เอถ ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ลเภถ เอยฺยามิ ใช้ เอยฺย ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ปุจฺเฉยฺย เอยฺยาม แปลงเป็น เอมุ ได้เช่น ชาเนมุ
  • 6. 4. ปโรกฺขา (แปลว่า แล้ว) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ อ อุ ตฺถ เร เอ ตฺถ ตฺโถ วฺโห อํ มฺห อึ มฺเห ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดปโรกขา ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) วท (เต) วทุ (โส) วทตฺถ (เต) วทเร มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเท (ตุมฺเห) วทตฺถ (ตฺวํ) วทตฺโถ (ตุมฺเห) วทวโห อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ) วทมฺห (อหํ) วทึ (มยํ) วทมฺเห
  • 7. 5. หิยตฺตนี (แปลว่า แล้ว, อ นําหน้า แปลว่า ได้-แล้ว) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ อา อู ตฺถ ตฺถุ™ โอ ตฺถ เส วฺหํ อํ มฺห อึ มฺหเส ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดหิยัตตนี ประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) อวท (เต) อวทุ (โส) อวทตฺถ (เต) อวทตฺถุํ มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) อวโท (ตุมฺเห) อวทตฺถ (ตฺวํ) อวทเส (ตุมฺเห) อวเทวฺหํ อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ)วทมฺเห (อหํ) อวทึ (มยํ) อวทมฺหเส ลักษณะเฉพาะ อา โดยมาก มักรัสสะเป็น อ เสมอ เช่น อปจ อภว อโวจ.
  • 8. 6. อชฺชตฺตนี (แปลว่า แล้ว, อ นําหน้า แปลว่า ได้-แล้ว) ปรสฺสปท อตฺตโนปท เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ อี อุ อา อู โอ ตฺถ เส วฺห อึ มฺหา อ มฺเห ตัวอย่าง วิภัตติ หมวดอัชชัตตนีประกอบ วท ธาตุ+อ ปัจจัย ดังนี้ บุรุษ ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมบุรุษ (โส) อวทิ (เต) วทุ (โส) วทตฺถ (เต) วทเร มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) วเท (ตุมฺเห) วทตฺถ (ตฺวํ) วทตฺโถ (ตุมฺเห) วทวโห อุตตมบุรุษ (อหํ) วทํ (มยํ)วทมฺห (อหํ) วทึ (มยํ) วทมฺเห ลักษณะเฉพาะ อี มักรัสสะ เป็น อิ เสมอ เช่น กริ, ปจิ, อลภิ. อี รัสสะ อี เป็น อิ แล้ว ทีฆะหลังธาตุ และปัจจัยได้บ้าง เช่น อคมาสิ, ปกฺกามิ, อุทปาทิ. อี เฉพาะ ลภ ธาตุ แปงเป็น ตฺถ, ตฺถ ได้บ้าง เช่น อลตฺถ, อลตฺถ. อี แปลงเป็น จฺฉิ ได้เช่น ปุจฺฉิ (ปุส), อกฺโกจฺฉิ (กุส) อี ใช้แทน โอ ได้เช่น อกาสิ อุ คงรูป ลง ส อาคม เป็น สุ เช่น อาโรเจสุ อุ แปลงเป็น อสุ ได้เช่น อกสุ, อาหสุ, อทสุ. อุ แปลงเป็น อึสุ ได้เช่น กรึสุ, วทึสุ, กถยึสุ. โอ ไม่นิยมคงใช้แต่ อี แทน เช่น อกาสิ ดังกล่าวแล้ว อึ แปลงเป็น ตฺถ ได้เช่น อาสิตฺถ
  • 9. 7. ภวิสฺสนฺติ (แปลว่า จัก) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสวฺเห สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสามฺเห ลักษณะเฉพาะ สฺสติ สฺสนฺติ สฺสสิ สฺสถ สฺสามิ สฺสาม ลบ สฺส คงไว้แต่ ติ อนฺติ สิ ถ อามิ อาม เช่น กาหติ, กาหนฺติ, กาหสิ, กาหถ, กาหามิ, กาหาม ลจฺฉติ (ลภ ธาตุ), วจฺฉติ (วส ธาตุ), วกฺขติ (วจ ธาตุ), ทกฺขติ (ทิส ธาตุ), มีกฎเหมือนข้างต้นทุกประการ คือ ลบ สฺส สฺสามิ ใช้ สฺส แทนได้บ้าง เช่น ลภิสฺส ฯ
  • 10. 8. กาลาติปตฺติ (จัก-แล้ว อ นําหน้า จักได้-แล้ว) ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ สฺสา สฺสํสุ สฺสถ สฺสึสุ สฺเส สฺสถ สฺสเส สฺสวฺเห สฺสํ สฺสามฺหา สฺสํ สฺสามฺหเส ลักษณะเฉพาะ สฺสา มักรัสสะ เป็น อ เสมอ เช่น อปจิสฺส, อสกฺขิสฺส, อลภิสฺส, อภวิสฺส.
  • 11. กาล กาล คือ เวลากระทาของกิริยานั้น ๆ ในอาขยาตโดยย่อมี 3 คือ 1. ปัจจุบันกาล คือ กาลที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ได้แก่ วตฺตมานา ปญฺจมี สตฺตมี 2. อดีตกาล คือ กาลที่ล่วงแล้ว ได้แก่ ปโรกฺขา หิยตฺตนี อชฺชตฺตนี 3. อนาคตกาล คือ กาลที่ยังมาไม่ถึง ได้แก่ ภวิสฺสนฺติ - กาลาติปตฺติ กาล โดยพิสดารมี 8 คือ (1) ปัจจุบันกาลจัดเป็น 3 คือ 1. ปัจจุบันแท้แปลว่า อยู่ 2. ปัจจุบันใกล้อดีต แปลว่า ย่อม 3. ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า จะ.
  • 12. (2) อดีตกาลจัดเป็น 3 คือ 1. ล่วงแล้วไม่มีกาหนด แปลว่า แล้ว 2. ล่วงแล้ววานนี้ แปลว่า แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว. 3. ล่วงแล้ววันนี้ แปลว่า แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว. (3) อนาคตกาลจัดเป็น 2 คือ 1. อนาคตกาลแห่งปัจจุบัน แปลว่า จัก. 2. อนาคตกาลแห่งอดีต แปลว่า จัก-แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้า แปลว่า จักได้-แล้ว.
  • 13. ปญฺจมี บอกความบังคับ-ความหวัง-ความอ้อนวอน. สตฺตมี บอกความยอมตาม-ความกาหนด-ความราพึง. บทคือ ฝ่ายหรือส่วนแห่งวิภัตติ แบ่งเป็น 2 คือ 1. ปรัสสบท บทเพื่อผู้อื่น เป็นเครื่องหมายให้รู้กริยาที่เป็นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก. 2. อัตตโนบท บทเพื่อตน เป็นเครื่องหมายให้รู้กิริยาที่เป็นกัมมวาจก ภาววาจก และ เหตุกัมมวาจก แต่ไม่แน่นอนเหมือนปัจจัย. วจนะแปลว่า คาพูด มี 2 คือ 1. เอกวจนะ หมายเอาสิ่งของสิ่งหนึ่งสิ่งเดียว 2. พหุวจนะ หมายเอาของหลายสิ่ง หลายอัน เหมือนอย่างวจนะนาม. บุรุษคือ ชั้นของกิริยาอาขยาตมี 3 คือ 1. ประถมบุรุษ เช่น โส ยาติ เขาไป. 2. มัธยมบุรุษ เช่น ตฺว ยาสิ เจ้าไป. 3. อุตตมบุรุษ เช่น อห ยามิ ข้าไป. ธาตุคือกิริยาศัพท์ที่เป็นมูลราก โดยย่อมี 2 คือ 1. สกมฺมธาตุ ได้แก่ ธาตุที่เรียกหากรรม. 2. อกมฺมธาตุ ได้แก่ ธาตุที่ไม่เรียกหากรรม.
  • 14. ธาตุ ธาตุ คือ รากศัพท์ ของกิริยาศัพท์ และนามศัพท์ (นามศัพท์ที่สาเร็จมาจากธาตุ) เช่น คม ธาตุในความไป, เดิน ก็คือ คม ธาตุ แปลว่า/มีความหมายว่า ไป, เดิน นั่นเอง ธาตุ เมื่อลงปัจจัย (อาขยาต) ลงวิภัตติ (อาขยาต) แล้ว สาเร็จเป็นกิริยาอาขยาต จึงนาไปใช้ในประโยคได้ ธาตุจัดเป็น 8 หมวด ตามที่ประกอบด้วยปัจจัยตัวเดียวกัน คือ หมวด ภู ธาตุ ลง อ * ปัจจัย ภู + อ + ติ เป็น ภวติ ย่อมมี, ย่อมเป็น หู + อ + ติ เป็น โหติ ย่อมมี, ย่อมเป็น สิ + อ + ติ เป็น เสติ,สยติ ย่อมนอน มร + อ + ติ เป็น มรติ ย่อมตาย ปจ + อ + ติ เป็น ปจติ ย่อมหุง, ย่อมต้ม อิกฺข + อ + ติ เป็น อิกฺขติ ย่อมเห็น ลภ + อ + ติ เป็น ลภติ ย่อมได้ คมุ + อ + ติ เป็น คจฺฉติ ย่อมไป
  • 15. หมวด รุธ ธาตุ ลง อ, เอ ปัจจัย และลงนิคคหิตอาคม หน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ รุธ + อ + ติ เป็น รุนฺธติ, รุนฺเธติ ย่อมปิด, ย่อมกั้น มุจ + อ + ติ เป็น มุญฺจติ ย่อมปล่อย ภุช + อ + ติ เป็น ภุญฺชติ ย่อมกิน ภิท + อ + ติ เป็น ภินฺทติ ย่อมแตก, ย่อมทําลาย ลิป + อ + ติ เป็น ลิมฺปติ ย่อมฉาบ,ย่อมทา หมวด ทิว ธาตุ ลง ย ปัจจัย สุ + ณา + ติ เป็น สุณาติ ย่อมฟัง สุ + ณุ + ตุ เป็น สุโณตุ จงฟัง วุ + ณา + ติ เป็น วุณาติ ย่อมร้อย สิ + ณุ + ติ เป็น สิโณติ ย่อมผูก ป + อป + อุณา + ติ เป็น ปาปุณาติ ย่อมถึง
  • 16. กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย กี + นา + ติ เป็น กิณาติ ย่อมซื้อ ชิ + นา + ติ เป็น ชินาติ ย่อมชนะ ธุ + นา + ติ เป็น ธุนาติ ย่อมกําจัด จิ + นา + ติ เป็น จินาติ ย่อมสั่งสม ลุ + นา + ติ เป็น ลุนาติ ย่อมเกี่ยว, ย่อมตัด ญา + นา + ติ เป็น ชานาติ ย่อมรู้ ผุ + นา + ติ เป็น ผุนาติ ย่อมฝัด, ย่อมโปรย หมวด คห ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย คห + ณฺหา + ติ เป็น คณฺหาติ ย่อมถือเอา คห + ณฺหา + หิ เป็น คณฺห จงถือเอา
  • 17. หมวด ตน ธาตุ ลง โอ ปัจจัย ตนุ + โอ + ติ เป็น ตโนติ ย่อมแผ่ไป กร + โอ + ติ เป็น กโรติ ย่อมทํา สกฺก + โอ + ติ เป็น สกฺโกติ ย่อมอาจ ชาคร + โอ + ติ เป็น ชาคโรติ ย่อมตื่น หมวด จุร ธาตุ ลง เณ ณย ปัจจัย จุร + เณ + ติ เป็น โจเรติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย จุร + ณย + ติ เป็น โจรยติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย ตกฺก + เณ + ติ เป็น ตกฺเกติ ย่อมตรึก ตกฺก + ณย + ติ เป็น ตกฺกยติ ย่อมตรึก ลกฺข + เณ + ติ เป็น ลกฺเขติ ย่อมกําหนด ลกฺข + ณย + ติ เป็น ลกฺขยติ ย่อมกําหนด มนฺต + เณ + ติ เป็น มนฺเตติ ย่อมปรึกษา มนฺต + ณย + ติ เป็น มนฺตยติ ย่อมปรึกษา จินฺต + เณ + ติ เป็น จินฺเตติ ย่อมคิด จินฺต + ณย + ติ เป็น จินฺตยติ ย่อมคิด
  • 18. ธาตุ ธาตุ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.สกัมมธาตุ ธาตุเรียกหากรรม (คือ สิ่งที่ถูกทา) คือสกัมมกิริยา กิริยาที่เรียกหากรรม 2. อกัมมธาตุ ธาตุไม่เรียกหากรรม คือ อกัมมกิริยา กิริยาที่ไม่เรียกหากรรม วิภัตติอาขยาต วิภัตติอาขยาต แบ่งเป็น 8 หมวด คือ 1. วตฺตมานา บอกปัจจุบันกาล ปัจจุบันแท้-ปัจจุบันใกล้อดีต-ปัจจุบันใกล้อนาคต 2. ปญฺจมี บอกความบังคับ ความหวัง ความอ้อนวอน 3. สตฺตมี บอกความยอมตาม ความกาหนด ความราพึง 4. ปโรกฺขา บอกอดีตกาล ล่วงแล้วไม่มีกาหนด 5. หิยตฺตนี บอกอดีตกาล ล่วงแล้ววานนี้ 6. อชฺชตฺตนี บอกอดีตกาล ล่วงแล้ววันนี้ 7. ภวิสฺสนฺติ บอกอนาคตกาล ของปัจจุบัน 8. กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาล ของอดีต
  • 19. ในหมวดหนึ่งๆ มีวิภัตติ 12 ตัว คือ ฝ่ายปรัสสบท 6 และอัตตโนบท 6 มี 2 วจนะ มีบุรุษ 3 คือ ปฐม บุรุษ มัชฌิมบุรุษ และ อุตตมบุรุษ รวมทั้งหมดมีวิภัตติ 96 ตัว วิภัตตินาม กับ วิภัตติอาขยาต ต่างกัน วิภัตตินาม ใช้แจกนามศัพท์ บอกให้รู้ ลิงค์ วจนะ การันต์ และ อายตนิบาตวิภัตติอาขยาต ใช้ลงท้ายธาตุ บอกให้รู้ กาล บท วจนะ บุรุษ การแจกวิภัตตินาม และ อาขยาต วิภัตตินาม ลงท้ายนามศัพท์แจกตามลิงค์และ การันต์ ของนามนั้นวิภัตติ อาขยาต ลงท้ายธาตุ แจกตามบุรุษ และ วจนะ ของนามที่เป็นประธาน วาจก คือกริยาศัพท์ที่บอกตัวประธาน มี 5 คือ 1. กตฺตุวาจก อุ. สูโท โอทน ปจติ. พ่อครัวหุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. 2. กมฺมวาจก อุ. สูเทน โอทโน ปจิยเต. ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่. 3. ภาววาจา อุ. เตน ภูยเต. อันเขาเป็นอยู่ 4. เหตุกมฺมวาจก อุ.สามิโก สูท โอทน ปาเจติ. นายยังพ่อครัวให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. 5. เหตุกมฺมมวาจก อุ. สามิเกน สูเทน (สูท) โอทโน ปาจาปิยเต. ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัวให้หุงอยู่.
  • 20. ปัจจัย ปัจจัย คือเครื่องปรุงแต่ง ลงในวาจกทั้ง 5 ดังนี้ 1. ปัจจัยที่ลงในกตฺตุวาจก มี 10 ตัว คือ อ-เอ-ย-ณุ-ณา-นา-ณฺหา-โอ-เณ-ณย 2. ปัจจัยที่ลงในกมมฺวาจกมี 1 ตัว คือ ย พร้อมทั้งลง อิ อาคมหน้า ย 3. ปัจจัยที่ลงในภาววาจก มี 1 ตัว คือ ย 4. ปัจจัยที่ลงในเหตุกตฺตุวาจก มี 4 ตัว คือ เณ-ณย-ณาเป-ณาปย 5. ปัจจัยที่ลงในเหตุกมฺมวาจก มี 5 ตัว คือ เณ-ณย-ณาเป-ณาปย-ย และลง อิ อาคม หน้า ย ปัจจัยพิเศษคือ 1. ข-ฉ-ส ปัจจัย 3 ตัวนี้ ประกอบด้วยธาตุ 5 ตัว คือ ภุช-ฆส-หร-สุ-ปา แปลว่า ปรารถนาเช่น พุภุกฺขติ ย่อมปรารถนาจะกิน. ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนาจะกิน. ชิคึสติ ย่อมปรารถนาจะนาไป. 2. อาย-อีย ปัจจัย 2 ตัวนี้ สาหรับประกอบนามศัพท์อย่างเดียว ทาให้เป็นกิริยา แปลว่า ประพฤติเพียงดัง เช่น ปพฺพตายติ ย่อมประพฤติเพียงดังภูเขา. ปุตฺติยติ ย่อมประพฤติเพียงดังบุตร .
  • 21. อส ธาตุ ในความมี, ความเป็น มีหลักการแปลง ธาตุ วิภัตติ ปัจจัย ดังนี้ ติ เป็น ตฺถิ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถิ อนฺติ คงรูป ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สนฺติ สิ คงรูป ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสิ ถ เป็น ตฺถ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถ มิ เป็น มฺหิ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อมฺหิ ม เป็น มฺห ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อมฺห ตุ เป็น ตฺถุ ลบที่สุดธาตุ สําเร็จรูปเป็น อตฺถุ เอยฺย เป็น อิยา ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สิยา
  • 22. เอยฺย กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺส เอยฺยุํ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสุํ เอยฺยุํ เป็น อิยุํ ลบต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น สิยุํ เอยฺยาสิ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺส เอยฺยาถ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสถ เอยฺยามิ กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสํ เอยฺยาม กับทั้งธาตุ สําเร็จรูปเป็น อสฺสาม อิ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสิ อุํ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสุํ ตฺถ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสิตฺถ อึ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อาสึ มฺหา คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สําเร็จรูปเป็น อิสิมฺหา ในความมี, ความเป็น มีหลักการแปลง ธาตุ วิภัตติ ปัจจัย ดังนี้
  • 23. กิตก์ กิตก์ คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งสาหรับประกอบกับธาตุให้สาเร็จรูปเป็นนามศัพท์และกิริยาศัพท์ เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ ณฺวุ ปัจจัยสาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้ เป็นนามศัพท์, ทา ธาตุประกอบกับ ต ปัจจัย สาเร็จเป็น ทินฺน แปลว่าให้แล้ว เป็น กิริยาศัพท์ มี ๒ ชนิด คือ ๑. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นนามศัพท์เรียกว่า "นามกิตก์“ ๒. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นกิริยาศัพท์เรียกว่า "กิริยากิตก์" นามกิตก์ คือ นามศัพท์ที่สาเร็จมาจากปัจจัยกลุ่มหนึ่งที่เป็นนาม คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู, ข, ณฺย, อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ ํ, ยุประกอบกับธาตุ เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ ณฺวุ ปัจจัยสาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้ ศัพท์ว่า ทายก จัดเป็น นามกิตก์ ปัจจัยแห่งนามกิตก์ สาหรับประกอบกับธาตุ เพื่อให้สาเร็จเป็นสาธนะแบ่งเป็น ๓ หมวด คือ ๑. หมวดกิตปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นกัตตุรูป มี ๕ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู ๒. หมวดกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นกัมมรูป และ ภาวรูป มี ๒ ตัว คือ ข, ณฺย ๓. หมวดกิตกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่เป็นได้ทั้ง ๓ รูป มี ๗ ตัว คือ อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ , ยุ
  • 24. กิริยากิตก์ กิริยากิตก์ คือ ศัพท์จาพวกหนึ่ง ที่มีธาตุประกอบด้วยปัจจัยกิตก์จาพวกกิริยา สาเร็จรูปด้วยวิภัตติแล้ว ใช้เป็นกิริยาเรียกว่า กิริยากิตก์ กิริยากิตก์นี้ ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๖ ประการ คือ วิภัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปัจจัย วิภัตติและวจนะ ถ้านามศัพท์ประกอบด้วยวิภัตติและวจนะใด กิริยากิตก์ต้องประกอบวิภัตติและวจนะนั้นตาม เช่น ภิกฺขุุ คาม ปิณฺฑาย ปวิฎฺโฐ ฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อก้อนข้าว ฯ ภิกฺขุ เป็นนามนาม ประกอบ ด้วย สิ ปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ปวิฎฺฐ เป็นกิริยากิตก์ ก็ประกอบ สิปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ตาม เยเกจิ พุทฺธ สรณ คตา ฯ อ.ชน ท. เหล่าใด เหล่าหนึ่ง ถึงแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่ระลึกฯ เยเกจิ เป็น สัพ พนาม (ขยาย ชนา) ประกอบ โย ปฐมา วิภัตติ คต เป็นกิริยากิตก์ ก็ประกอบ โย ปฐมาวิภัตติ ตาม กาล ปัจจุบันกาล ๑) ปัจจุบันแท้แปลว่า "...อยู่" เช่น อห ธมฺม สุณนฺโต ปีตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปีติ. ๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..." เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อ ทรงสืบต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถานี้.
  • 25. ๓) อดีตกาลล่วงแล้ว แปลว่า "...แล้ว" เช่น ตโย มาสา อติกฺกนฺตา ฯ อ. เดือน ท. สาม ก้าวล่วงแล้ว ฯ ๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ แปลว่า "ครั้น ...แล้ว" เช่น เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺต อภิวาเทตฺวา เอ กมนฺต นิสีทิ ฯ (อ.ภิกษุรูปหนึ่ง) อ.พระผู้มีพระภาคเจ้า (ประทับอยู่แล้ว) โดยส่วนแห่งทิศใด, เข้าไปเฝ้าแล้วโดย ส่วน แห่งทิศนั้น, ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. วาจกคือ ศัพท์สาหรับกล่าวกิริยาบ่งถึงตัวประธาน มีลักษณะและแบ่งเป็น ๕ วาจก เหมือนในอาขยาต มีอุทาหรณ์ ดังนี้ ๑) กัตตุวาจก ภิกฺขุ คาม ปิณฺฑาย ปวิฏฺโฐฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้วสู่บ้านเพื่อก้อนข้าวฯ. ๒) กัมมวาจก อธิคโต โข มยาย ธมฺโม ฯ อ.ธรรม นี้ อันเราถึงทับแล้ว แลฯ. ๓) ภาววาจก การเณเนตฺถ ภวิตพฺพ ฯ อันเหตุ ในเรื่องนี้พึงมี ฯ. ๔) เหตุกัตตุวาจก สเทวก ตารยนฺโต ฯ ยังโลก อันเป็นไปกับ ด้วยเทวโลก ให้ข้ามอยู่ ฯ. ๕) เหตุกัมมวาจก อย ถูโป ปติฏฺฐาปิโต ฯ อ.พระสถูปนี้ อันชนให้ตั้งจาเพาะแล้ว ฯ. กาล ปัจจุบันกาล ๑) ปัจจุบันแท้แปลว่า "...อยู่" เช่น อห ธมฺม สุณนฺโต ปีตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปีติ. ๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..." เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อทรงสืบ ต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถานี้. อดีตกาล
  • 26. ปัจจัย แบ่งเป็น ๓ หมวด คือ ๑) กิตปัจจัย มี ๓ ตัว คือ อนฺต, ตวนฺตุ, ตาวี ๒) กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ ๓) กิตกิจจปัจจัย มี ๕ ตัว คือ มาน, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ปัจจัย บอกกาลต่างกัน ดังนี้ ๑) ปัจจุบันแท้ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน ๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน ๓) อดีตกาลล่วงแล้ว ปัจจัยที่บอก คือ ตวนฺตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ ปัจจัยที่บอก คือ ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ส่วน อนีย, และ ตพฺพ ปัจจัย ไม่บอกกาลอะไร บอกเพียง ความเป็นไปของกิริยาอาการ แปลว่า ควร, พึง ตัวอย่างประกอบกับธาตุ อนฺต ปัจจัย สุ+ณา+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น สุณนฺโต ฟังอยู่กร+โอ+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น กโรนฺโต ทาอยู่ กถ+เณ+อนฺต+สิ สาเร็จเป็น กเถนฺโต กล่าวอยู่ ในอิตถีลิงค์ลง อี ปัจจัย นาไปแจกตามแบบ นารี เป็น สุณนฺตี กโรนฺตี กเถนฺตี