SlideShare a Scribd company logo
รายงาน

                         เรื่อง อุทกภาค

                           จัดทาโดย

          นาย ณัฐพงศ์ พราหมลอย เลขที่ 4 ม. 6/1

          นางสาว นิชาภา สมัครการ เลขที่ 19 ม. 6/1

          นางสาว จิราภา เศษภักดี          เลขที่ 8 ม. 6/1

          นางสาว พรพิมล ไชยพัฒน์ เลขที่ 12 ม. 6/1

          นางสาว นงค์รัตน์ แสนสมัคร เลขที่ 21 ม. 6/1

          นางสาว สุพรรษา ถิ่นสูง          เลขที่ 27 ม. 6/1

         นางสาว รัชนี สิมมา               เลขที่ 13 ม. 6/1

          นางสาว สุมัจชา ทองสุข       เลขที่ 10 ม. 6/2

          นาย อานนท์ ศรีแก้วนิด           เลขที่ 1 ม. 6/2

          นาย ศักรินทร์ นรสิงห์       เลขที่ 7 ม. 6/2

                              เสนอ

                  อาจารย์ ธนาพร เหรียญทอง

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

                 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
อุทกภาค (Hydrosphere)

   อุทกภาค คือ ส่วนที่เป็นของเหลวหรือพื้นน้าที่ปกคลุมผิวโลก เช่น แม่น้า ลาคลอง ทะเล
มหาสมุทร รวมถึงน้าใต้ดิน ไอน้าในอากาศ และน้าที่เป็นน้าแข็งขั้วโลกด้วย

   น้า เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์
ถึงแม้ว่าน้าจะหาได้โดยทั่วไป แต่น้าที่สามารถนามาบริโภคหรือใช้เพื่อการเกษตรได้ มีอยู่ไม่ถึง
ร้อยละ 1 ของปริมาณน้าทั้งหมดในโลก

แหล่งน้าจืด

   1. แหล่งน้าผิวดิน ได้แก่น้าจากแม่น้า คลอง บึง ห้วย หนอง ตลอดจนอ่างเก็บน้า ซึ่งนับว่า
       เป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่สุด ปริมาณน้าจืดที่มีอยู่ตามแหล่งต่างๆจะมรปริมาณมากน้อย
       แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพอากาศ และ
       โครงสร้างของดิน น้าจืดจากแหล่งน้าผิวดินเป็นแหล่งน้าที่มนุษย์มีการนามาใช้ประโยชน์
       มากที่สุด
   2. แหล่งน้าใต้ดิน เป็นน้าที่ไหลซึมอยู่ชั้นใต้ดิน เกิดจากน้าผิวดินซึมผ่านดินชั้นต่างๆจนถึง
       ชั้นดินหรือชั้นหินที่น้าไม่สามารถซึมผ่านได้น้าใต้ดินแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่
       กับโครงสร้างของดินหรือหินที่น้าแทรกซึมอยู่ การนาน้าใต้ดินมาใช้ประโยชน์จะต้อง
       ลงทุนสูง โดยหากมีระดับลึกมากจาเป็นต้องใช้เครื่องยนต์สูบน้าขึ้นมาใช้

   แหล่งน้าเค็ม

   1. แหล่งน้ามหาสมุทรและทะเล เป็นแหล่งน้าที่มีขนาดใหญ่และมีความสาคัญต่อการเกิด
       วงจรน้าของโลก น้าทะเลมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เนื่องจากเป็นแหล่ง
       ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าเค็มที่เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์
วัฏจักรของน้า หมายถึงการหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้า เกิดขึ้นจากดวงอาทิตย์เผาน้าใน
แหล่งน้าต่างๆ ให้กลายเป็นไอน้าลอยขึ้นไปในอากาศรวมกับไอน้าที่มาจากต้นไม้ คือ ในขณะที่
ต้นไม้ดูดน้าจากพื้นดินแล้วปล่อยให้น้าออกสู่บรรยากาศโดยผ่านใบไม้ด้วยกระบวนการที่เรียกว่า
การหายใจ ไอน้าในบรรยากาศจะรวมตัวกันและกลั่นตัวเป็นเม็ดฝนหรือหิมะ ตกลงมายังแหล่ง
น้าต่างๆและซึมลงใต้ดิน หมุนเวียนกันเช่นนี้ตลอดไป

วัฏจักรของน้าดารงอยู่ด้วย 5 ประการ ดังนี้

    1. การระเหย คือการเปลี่ยนสภาพน้าจากของเหลวเป็นไอน้าไปปนอยู่ในอากาศ
    2. การกลั่น คือการเปลี่ยนสภาพของน้าจากไอน้าในอากาศมาเป็นน้าซึ่งเป็นของเหลว
    3. การไหล คือการที่น้าเข้าไปสู่ที่ต่างๆทางผิวดิน
    4. การหายใจ คือการที่น้าเข้าไปสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจากการหายใจ
    5. การคายน้า คือการลดระดับของน้าในส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต อาจเรียกว่าการหายใจ
       หรือการระเหยจากส่วนต่างๆของสิ่งมีชีวิตโดยตรง

กระแสน้าในมหาสมุทร

สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดกระแสน้าในมหาสมุทร

   - ลมประจาปีและลมประจาฤดูที่พัดผ่านผิวพื้นน้า

   - ความร้อนจากดวงอาทิตย์

   - รูปร่างของพื้นทวีป

   - ความแตกต่างของความเค็มในน้าทะเลมหาสมุทร

   - การเกิดน้าขึ้นน้าลง
การไหลของกระแสน้าในมหาสมุทร

  1. กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ กระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตร ไหลจาก
     ตะวันออกไปตะวันตก กระแสน้าเย็นที่ไหลเวียนลงมาจากมหาสมุทรอาร์ติกในมหา
     สมุทรแอตแลนติกเหนือเรียกว่ากระแสน้าเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก
  2. กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ กระแสน้าอุ่นใต้ศูนย์สูตร ไหลจากตะวันออกไป
     ตะวันตก
  3. กระแสน้าในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ กระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตรไหลจากตะวันออกไป
     ตะวันตก ตอนเหนือมีกระแสน้าเย็นจากมหาสมุทรอาร์กติกไหลลงมาผ่านช่องแคบเบริง
     เรียกว่า กระแสน้าเย็นเบริง ต่อมาเป็นกระแสน้าเย็นแคมชัตกา กระแสน้าเย็นคูริล และโอ
     ยาชิโอ มาบรรจบกับกระแสน้าอุ่นกุโรชิโอบริเวณหมู่เกาะญี่ปุ่น
  4. กระแสน้าในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ กระแสน้าอุ่นใต้ศูนย์สูตรไหลจากตะวันออกไป
     ตะวันตก เมื่อปะทะเกาะนิวกินีแล้วจะแยกไปรวมกับกระแสน้าเหนือศูนย์สูตรสายหนึ่ง
     อีกสายหนึ่งแยกไปทางใต้
  5. กระแสน้าในมหาสมุทรอินเดียตอนใต้ มีกระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตรไหลผ่านทาง
     ตะวันตกผ่านช่องแคบโมแซมบิก เรียกว่า กระแสน้าอุ่นโมแซมบิก ผ่านไปใต้สุด เรียกว่า
     กระแสน้าอุ่นอากัลลัส
  6. กระแสน้าในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ กระแสน้าจะพัดไปตามอิทธิพลของลมประจา
     ฤดูโดยเฉพาะลมมรสุมฤดูร้อนและฤดูหนาว
  7. กระแสน้าลมมรสุมฤดูร้อน จะพัดพากระแสน้าจากคาบสมุทรอินโดจีนผ่านคาบสมุทร
     อินโดจีนไหลทวนเข็มนาฬิกา
  8. กระแสน้าในมหาสมุทรแอนตาร์กติกา ในเขตมหาสมุทรแอนตาร์กติกาจะมีกระแสน้าเย็น
     ไหลไปรอบๆดินแดนทวีปแอนตาร์กติกา เรียกว่ากระแสน้าเย็นแอนตาร์กติกา
อิทธิพลของกระแสน้าในมหาสมุทร

   1. กระแสน้าในมหาสมุทรมีอิทธิพลต่ออุณหภูมิบนพื้นโลก โดยกระแสน้าจะช่วยในการ
      ถ่ายเทความร้อน จากละติจูดต่าไปละติจูดกลางและละติจูดสูง
   - กระแสน้าอุ่น ช่วยเพิ่มระดับอุณหภูมิบริเวณชายฝั่งในเขตละติจูดสูงให้สูงขึ้น เช่น ทาให้
      ชายฝั่งประเทศสหราชอาณาจักรมีอุณหภูมิไม่ลดต่าลงมาก เป็นต้น
   - กระแสน้าเย็น ช่วยลดระดับอุณหภูมิบริเวณชายฝั่งในเขตละติจูดต่าให้เย็นลง เช่น ทาให้
      ชายฝั่งเคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา มีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก ทั้งๆที่เป็นฤดูร้อน
      เป็นต้น
   2. กระแสน้าต่างชนิดกัน ถึงแม้ว่าจะไหลผ่านในละติจูดเดียวกัน อาจก่อให้เกิดภูมิอากาศที่
      แตกต่างกัน เช่น ในทวีปแอฟริกา มีกระแสน้าเย็นไหลผ่านทางด้านตะวันตกของทวีป
      ส่งผลทาให้มีภูมิอากาศแห้งแล้งแบบทะเลทราย ส่วนทางด้านตะวันออกของทวีป มี
      กระแสน้าอุ่นไหลผ่าน ส่งผลให้มีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ซึ่งมีความชุ่มชื้น
      มากกว่าด้านตะวันตกของทวีป เป็นต้น
   3. บริเวณที่มีกระแสน้าเย็นและกระแสน้าอุ่นไหลมาปะทะกัน จะมีแพลงตอนซึ่งเป็นอาหาร
      ของปลาอยู่เป็นจานวนมาก จึงเป็นแหล่งปลาชุกชุม มีประโยชน์ทางด้านการประมง

อิทธิพลทางอุทกภาคที่มีต่อโลก

   1. น้าขึ้น-น้าลง
         เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทุกวันอย่างช้าๆ และคงที่ จากความสัมพันธ์ระหว่างดวง
      อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ เนื่องจากแรงดึงดูดที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์
      ขณะโคจรรอบโลก โดยด้านที่โลกหันเข้าหาดวงจันทร์ แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์จะ
      มากกว่าแรงเหวี่ยงของโลก มวลน้าจึงถูกดึงเข้าหาดวงจันทร์ ทาให้เกิดน้าขึ้น และเมื่อ
      แรงเหวี่ยงของโลกมากกว่าแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ มวลน้าจะถูกดันออกจากดวง
จันทร์ ทาให้เกิดน้าลง ปรากฏการณ์น้าขึ้น-น้าลงจะเกิดขึ้นสลับกันวันละสองครั้ง โดย
       เกิดห่างกัน 6 ชั่งโมง
   2. น้าเกิด-น้าตาย
   - น้าเกิด เป็นปรากฏการณ์น้าขึ้นสูงสุด เนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมา
       อยู่ในแนวเดียวกัน จะเกิดช่วงวันขึ้น 14-15ค่า และวันแรม 14-15 ค่า โดยจะเกิดขึ้นสูงสุด
       พร้อมกันทั้ง 2 ด้าน
   - น้าตาย เป็นปรากฏการณ์น้าลงต่าสุด เนื่องจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์เคลื่อนที่มาอยู่
       แนวตั้งฉากกับโลกแรงดึงดูดจากแรงโน้มถ่วงของทั้งดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะคาน
       กัน ทาให้ช่วงนี้มีระดับน้าต่าสุด จะเกิดในช่วงวันขึ้น 8 ค่า และวันแรม 8 ค่า

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้าจืด

   มนุษย์มีความสาพันธ์และผูกพันกับแหล่งน้า ทั้งในเรื่องการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ
และการตั้งถิ่นฐาน รวมถึงมนุษย์ยังมรการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าในด้านต่างๆ ดังนี้

   1. ด้านสังคม ได้แก่ ใช้ในการตั้งถิ่นฐาน ใช้ในการอุปโภคบริโภค การคมนาคมขนส่ง ใช้ใน
       การเกษตรกรรม
   2. ดานการเมือง ได้แก่ ป้องกันการรุกรานจากข้าศึก ใช้แม่น้าเป็นแนวพรมแดนธรรมชาติ
       เป็นเส้นทางการเดินทาง
   3. ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง การอุตสาหกรรม

วิธีการอนุรักษ์น้า

   1. เผยแพร่สาเหตุที่ทาให้คุณภาพของน้าเสีย
   2. พัฒนาแหล่งน้าธรรมชาติทั้งผิวดินและใต้ดิน
   3. ป้องกันและลดอันตรายจากน้าท่วม
   4. พยายามใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรน้า

    1. คุณภาพของน้าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานกาหนด
    2. การคลาดแคลนน้า
    3. น้าท่วม

การแก้ปัญหาน้าท่วม

   วิธีการต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหา
น้าท่วม คือ
  1. การก่อสร้างคันกั้นน้า เพื่อป้องกันน้าท่วมซึ่งเป็นวิธีการดั้งเดิมแต่ครั้งโบราณโดยการ
ก่อสร้างคัน ดินกั้นน้าขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลาน้าห่างจากขอบตลิ่งพอสมควร เพื่อ
ป้องกันมิให้น้าล้นตลิ่งไปท่วมในพื้นที่ต่างๆ ด้านใน เช่น คันกั้นน้าโครงการมูโนะ และโครงการปิ
เหล็งอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส เป็นต้น
  2. การก่อสร้างทางผันน้า เพื่อผันน้าทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วมท้นให้ออกไป โดยการ
ก่อสร้างทางผันน้าหรือขุดคลองสายใหม่เชื่อมต่อกับลาน้าที่มีปัญหาน้า ท่วมโดยให้น้าไหลไป
ตามทางผันน้าที่ขุดขึ้นใหม่ไปลงลาน้าสายอื่น หรือระบายออกสู่ทะเลตามความเหมาะสม ซึ่ง
การดาเนินการสนองพระราชดาริวิธีนี้ ดาเนินการโดยกรมชลประทาน ในการแก้ไขปัญหาจาก
แม่น้าโก-ลก เข้ามาท่วมไร่นาของราษฎรเสียหายหลายหมื่นไร่ทุกปี การขุดคลองมูโนะได้ช่วย
บรรเทาลงได้เป็นอย่างดี
  3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลาน้า เพื่อให้น้าที่ท่วมทะลักสามารถไหลไปตามลาน้าได้
สะดวกหรือช่วยให้กระแสน้าไหล เร็วยิ่งขึ้น อันเป็นการบรรเทาความเสียหายจากน้าท่วมขังได้
โดยใช้วิธีการดังนี้
- ขุดลอกลาน้าตื้นเขินให้น้าไหลสะดวกขึ้น
- ตกแต่งดินตามลาดตลิ่งให้เรียบมิให้เป็นอุปสรรคต่อทางเดินของน้า
- กาจัดวัชพืช ผักตบชวา และรื้อทาลายสิ่งกีดขวางทางน้าไหลให้ออกไปจนหมดสิ้น
- หากลาน้าคดโค้งมาก ให้หาแนวทางขุดคลองใหม่เป็นลาน้าสายตรงให้น้าไหลสะดวก
- การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้าเป็นมาตรการป้องกันน้าท่วมที่สาคัญประการหนึ่งใน
    การกักเก็บน้าที่ไหลท่วมล้นในฤดูน้าหลาก โดย เก็บไว้ทางด้านเหนือเขื่อนในลักษณะอ่าง
เก็บน้าซึ่งปัจจุบันดาเนินการตามพระ ราชดาริมากมายหลายแห่งในประเทศไทย และการ
ป้องกันน้าท่วมใหญ่ในระดับประเทศนั้น ขณะนี้ได้อยู่ในระหว่างดาเนินการหลายจุด คือ
- โครงการพัฒนาลุ่มน้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
- โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
- โครงการพัฒนาลุ่มน้านครนายกตอนบนจังหวัดนครนายก
ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง
  1. ดาเนินการระบายน้าออกจากพื้นที่ตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใต้ลงคลอง
พักน้าขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล เช่น คลองชายทะเลของฝั่งตะวันออก ซึ่งจะทาหน้าที่เป็นบ่อ
เก็บน้าขนาดใหญ่ คือ แก้มลิง ต่อไป
  2. เมื่อ ระดับน้าทะเลลดต่าลงกว่าระดับน้าในคลอง ก็ทาการระบายน้าจากคลองดังกล่าวออก
ทางประตูระบายน้า โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ
  3. สูบน้าออกจากคลองที่ทาหน้าที่ แก้มลิง นี้ ให้ระบายออกในระดับต่าที่สุดออกสู่ทะเล เพื่อจะ
ได้ทาให้น้าตอนบนค่อยๆ ไหลมาเองตลอดเวลาส่งผลให้ปริมาณน้าท่วมพื้นที่ลดน้อยลง
  4. เมื่อระดับน้าทะเลสูงกว่าระดับน้าในลาคลองให้ทาการปิดประตูระบายน้า เพื่อป้องกันมิให้
น้าย้อนกลับ โดยยึดหลักน้าไหลทางเดียว(One Way Flow)
  หลักการ 3 ประเด็น ทีโครงการแก้มลิงจะสามารถมีประสิทธิภาพบรรลุผลสาเร็จตามแนว
                      ่
พระราชดาริ คือ
1.การพิจารณาสถานที่ที่จะทาหน้าที่เป็นบ่อพักและวิธีการชักน้าท่วมไหลเข้าสู่บ่อพักน้า
2.เส้นทางน้าไหลที่สะดวกต่อการระบายน้าเข้าสู่แหล่งที่ทาหน้าที่บ่อพักน้า

3.การระบายน้าออกจากบ่อพักน้าอย่างต่อเนื่อง
การแก้ปัญหาการขาดแคลนน้า
   เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสก
นิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยาก
ของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหา
กรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กบ ม.ร.ว.เทพ
                                                                         ั
ฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือ
ฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วย
ความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นใน
ปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการ
พระราชดาริฝนหลวงต่อไป
       การทาฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุ
สารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพ
ในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน
อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้นมาก
พอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้น
บนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย "สูตรร้อน" ใช้เพื่อ
กระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัว
ของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก
ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูง
ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน"
       เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้มุ่งใช้
สารเคมีกระตุ้นให้มวลอากาศลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือ
ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของ
แต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้ แม้จะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้น
สัมพัทธ์ต่า (มีค่า critical relative humidity ต่า) เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอ
น้าในมวลอากาศ (เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย)
ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมี
ที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้น ๆ เข้า
สู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (main cloud core) ในบริเวณ ปฏิบัติการสาหรับใช้
เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
ขั้นตอนที่สอง : "เลี้ยงให้อ้วน"
        เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการปฏิบัติการ
เพราะจะต้องเพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์
การทาฝนควบคู่ไปพร้อมกันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และใน
อัตราใดจึงเหมาะสม เพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft
มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลาย
ขั้นตอนที่สาม : "โจมตี"
         เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมีความ
หนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หาก
เครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบิน เป็น
ขั้นตอนที่สาคัญ ต้องอาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ
updraft หรือทาให้อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ จะต้อง
พิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก และ
เพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน
       เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ในการทาฝนหลวง
   1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการวางแผน
      ปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็น
      ประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่ เครื่องวัดลมชั้นบน (pilot balloon) ใช้
      ตรวจวัดทิศทางและความเร็วลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป , เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ
      (radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซึ่งจะติดไปกับ
      บอลลูน และเครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้น ของ
      บรรยากาศในระดับต่าง ๆ , เครื่องเรดาร์ตรวจอากาศ ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์
เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพ สามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรง หรือปริมาณ
   น้าฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้
   ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้ว ยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝน
   หลวงอีกด้วย , เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องวัด
   ความเร็วและทิศทางลม เครื่องวัดปริมาณน้าฝน เป็นต้น
2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมี ทั้งแบบน้าและแบบ
    ผง ถังและกรวยโปรยสารเคมี เป็นต้น
3. เครื่องมือสื่อสาร ใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบินกับ
    ฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน
    ปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจ ศูนย์สื่อสาร
    สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร และกรมไปรษณีย์โทรเลข เครื่องมือ
    สื่อสารที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องโทรพิมพ์
    เป็นต้น
4. เครื่องมือทางวิชาการอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ แผนที่ กล้อง
    ส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถ่ายภาพ ฯลฯ
5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง หรือ เรดาร์ดอปเปลอร์ (Doppler radar) ในบรรดาเครื่องมือ
    อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศประยุกต์จานวน 8
    รายการนั้น เรดาร์ดอปเปลอร์จัดเป็นเครื่องมือที่มีมูลค่าสูงสุด เรดาร์นี้ใช้เพื่อวาง
    แผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิต เครื่องมือชนิดนี้
    ทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax 3400) ควบคุมสั่งการ เก็บบันทึก รวบรวม
    ข้อมูล สามารถนาข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึก ในรูปแบบการทางานของ
    IRIS (IRIS Software) ผ่านโพรเซสเซอร์ (RUP-6) กล่าวคือ ข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ใน
    เทปบันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถนามาใช้ได้ตลอด ซึ่งเชื่อมต่อกับ
    ระบบเรดาร์ การแสดงผล/ข้อมูล โดยจอภาพ สถานที่ตั้งเรดาร์ดอปเปลอร์นี้อยู่ที่ ตำบล
    ยำงเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้าบริโภค (น้าประปา)

                                                                                     มาตรฐาน
 คุณลักษณะ          ดัชนีคุณภาพน้า                หน่วย
                                                                 เกณฑ์กาหนดสูงสุด เกณฑ์อนุโลมสูงสุดa
ทางกายภาพ 1.สี (Colour)                      ปลาตินัม-โคบอลด์               5                     15
                                            (Platinum-Cobalt)
             2.รส (Taste)                             -             ไม่เป็นที่รังเกียจ     ไม่เป็นที่รังเกียจ
             3.กลิ่น (Odour)                          -             ไม่เป็นที่รังเกียจ     ไม่เป็นที่รังเกียจ
                                              ซิลิกา สเกล ยูนิต
             4.ความขุ่น (Turbidity)                                         5                     20
                                             (Silica scale unit)
             5.ความเป็นกรด-ด่าง(pH)                   -                  6.5-8.5                  9.2
ทางเคมี      6.ปริมาณสารทั้งหมด
                                                  มก./ล.                  500                   1,500
             (Total Solids)
             7.เหล็ก (Fe)                         มก./ล.                  0.5                     1.0
             8.มังกานีส (Mn)                      มก./ล.                  0.3                     0.5
             9.เหล็กและมังกานีส (Fe& Mn)          มก./ล.                  0.5                     1.0
             10.ทองแดง (cu)                       มก./ล.                  1.0                     1.5
             11.สังกะสี (Zn)                      มก./ล.                  5.0                    15.0
             12.คัลเซียม (Ca)                     มก./ล.                  75b                    200
             13.แมกนีเซียม (Mg)                   มก./ล.                   50                    150
             14.ซัลเฟต (SO4)                      มก./ล.                  200                    250c
             15.คลอไรต์ (Cl)                      มก./ล.                  250                    600
             16.ฟลูออไรด์ (F)                     มก./ล.                  0.7                     1.0
             17.ไนเตรต (NO3)                      มก./ล.                   45                     45
             18.อัลคิลเบนซิลซัลโฟเนต
                                                  มก./ล.                   0.5                    1.0
             (Alkylbenzyl Sulfonate,ABS)
             19.ฟีโนลิกซับสแตนซ์(Phenolic
                                                  มก./ล.                 0.001                  0.002
             substances as phenol)
สารเป็นพิษ 20.ปรอท (Hg)                     มก./ล.             0.001      -
           21.ตะกั่ว (Pb)                   มก./ล.             0.05       -
           22.อาร์เซนิก (As)                มก./ล.             0.05       -
           23.ซิลิเนียม (Se)                มก./ล.             0.01       -
           24.โครเมียม
                                            มก./ล.             0.05       -
           (Cr hexavalent)
           25.ไซยาไนด์ (CN)                   มก./ล.            0.2       -
           26.แคดเมียม (Cd)                   มก./ล.           0.01       -
           27.แบเรียม (Ba)                    มก./ล.            1.0       -
ทางจุล     28.แสตนดาร์ดเพลตเคานต์   โคโลนีต่อลูบาศก์           500        -
ชีววิทยา   (Standard Plate Count)   เซนติเมตร(Colonies/cm3
                                    โคลิฟอร์มออร์แกนิสซัม
                                    ต่อ 100 ลูกบาศก์
           29.เอ็มพีเอ็น (MPN)      เซนติเมตร              น้อยกว่า 2.2   -
                                    (Coliform
                                    Organism/100 cm3
           30.อีโคไล (E.coli)                                  ไม่มี      -
เครื่องมือที่ใช้วัดมาตรฐานน้า



                         pH Meter เครื่องวัดกรดด่าง




                          Chlorine Meter เครื่องวัดคลอรีน




                        Turbidity Meter เครื่องวัดค่าความขุ่น




                          ชุดทดสอบคุณภาพน้า กระดาษทดสอบคุณภาพน้า

More Related Content

What's hot

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
sarawut chaicharoen
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
พัน พัน
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 

Viewers also liked

สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
Thidarat Termphon
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
Thidarat Termphon
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
Thidarat Termphon
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
Kruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่มตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
thanapat yeekhaday
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
Thidarat Termphon
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001peter dontoom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
Thidarat Termphon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Viewers also liked (20)

สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
 
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่มตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to รายงานสังคม

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPinocchio_Bua
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้าfreelance
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
พัน พัน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Inknaka
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
Wichai Likitponrak
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาfrankenjay
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินlalipat
 

Similar to รายงานสังคม (20)

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 

More from thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวthnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจthnaporn999
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 

More from thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

รายงานสังคม

  • 1. รายงาน เรื่อง อุทกภาค จัดทาโดย นาย ณัฐพงศ์ พราหมลอย เลขที่ 4 ม. 6/1 นางสาว นิชาภา สมัครการ เลขที่ 19 ม. 6/1 นางสาว จิราภา เศษภักดี เลขที่ 8 ม. 6/1 นางสาว พรพิมล ไชยพัฒน์ เลขที่ 12 ม. 6/1 นางสาว นงค์รัตน์ แสนสมัคร เลขที่ 21 ม. 6/1 นางสาว สุพรรษา ถิ่นสูง เลขที่ 27 ม. 6/1 นางสาว รัชนี สิมมา เลขที่ 13 ม. 6/1 นางสาว สุมัจชา ทองสุข เลขที่ 10 ม. 6/2 นาย อานนท์ ศรีแก้วนิด เลขที่ 1 ม. 6/2 นาย ศักรินทร์ นรสิงห์ เลขที่ 7 ม. 6/2 เสนอ อาจารย์ ธนาพร เหรียญทอง รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
  • 2. อุทกภาค (Hydrosphere) อุทกภาค คือ ส่วนที่เป็นของเหลวหรือพื้นน้าที่ปกคลุมผิวโลก เช่น แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร รวมถึงน้าใต้ดิน ไอน้าในอากาศ และน้าที่เป็นน้าแข็งขั้วโลกด้วย น้า เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ ถึงแม้ว่าน้าจะหาได้โดยทั่วไป แต่น้าที่สามารถนามาบริโภคหรือใช้เพื่อการเกษตรได้ มีอยู่ไม่ถึง ร้อยละ 1 ของปริมาณน้าทั้งหมดในโลก แหล่งน้าจืด 1. แหล่งน้าผิวดิน ได้แก่น้าจากแม่น้า คลอง บึง ห้วย หนอง ตลอดจนอ่างเก็บน้า ซึ่งนับว่า เป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่สุด ปริมาณน้าจืดที่มีอยู่ตามแหล่งต่างๆจะมรปริมาณมากน้อย แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพอากาศ และ โครงสร้างของดิน น้าจืดจากแหล่งน้าผิวดินเป็นแหล่งน้าที่มนุษย์มีการนามาใช้ประโยชน์ มากที่สุด 2. แหล่งน้าใต้ดิน เป็นน้าที่ไหลซึมอยู่ชั้นใต้ดิน เกิดจากน้าผิวดินซึมผ่านดินชั้นต่างๆจนถึง ชั้นดินหรือชั้นหินที่น้าไม่สามารถซึมผ่านได้น้าใต้ดินแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่ กับโครงสร้างของดินหรือหินที่น้าแทรกซึมอยู่ การนาน้าใต้ดินมาใช้ประโยชน์จะต้อง ลงทุนสูง โดยหากมีระดับลึกมากจาเป็นต้องใช้เครื่องยนต์สูบน้าขึ้นมาใช้ แหล่งน้าเค็ม 1. แหล่งน้ามหาสมุทรและทะเล เป็นแหล่งน้าที่มีขนาดใหญ่และมีความสาคัญต่อการเกิด วงจรน้าของโลก น้าทะเลมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เนื่องจากเป็นแหล่ง ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าเค็มที่เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์
  • 3. วัฏจักรของน้า หมายถึงการหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้า เกิดขึ้นจากดวงอาทิตย์เผาน้าใน แหล่งน้าต่างๆ ให้กลายเป็นไอน้าลอยขึ้นไปในอากาศรวมกับไอน้าที่มาจากต้นไม้ คือ ในขณะที่ ต้นไม้ดูดน้าจากพื้นดินแล้วปล่อยให้น้าออกสู่บรรยากาศโดยผ่านใบไม้ด้วยกระบวนการที่เรียกว่า การหายใจ ไอน้าในบรรยากาศจะรวมตัวกันและกลั่นตัวเป็นเม็ดฝนหรือหิมะ ตกลงมายังแหล่ง น้าต่างๆและซึมลงใต้ดิน หมุนเวียนกันเช่นนี้ตลอดไป วัฏจักรของน้าดารงอยู่ด้วย 5 ประการ ดังนี้ 1. การระเหย คือการเปลี่ยนสภาพน้าจากของเหลวเป็นไอน้าไปปนอยู่ในอากาศ 2. การกลั่น คือการเปลี่ยนสภาพของน้าจากไอน้าในอากาศมาเป็นน้าซึ่งเป็นของเหลว 3. การไหล คือการที่น้าเข้าไปสู่ที่ต่างๆทางผิวดิน 4. การหายใจ คือการที่น้าเข้าไปสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจากการหายใจ 5. การคายน้า คือการลดระดับของน้าในส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต อาจเรียกว่าการหายใจ หรือการระเหยจากส่วนต่างๆของสิ่งมีชีวิตโดยตรง กระแสน้าในมหาสมุทร สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดกระแสน้าในมหาสมุทร - ลมประจาปีและลมประจาฤดูที่พัดผ่านผิวพื้นน้า - ความร้อนจากดวงอาทิตย์ - รูปร่างของพื้นทวีป - ความแตกต่างของความเค็มในน้าทะเลมหาสมุทร - การเกิดน้าขึ้นน้าลง
  • 4. การไหลของกระแสน้าในมหาสมุทร 1. กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ กระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตร ไหลจาก ตะวันออกไปตะวันตก กระแสน้าเย็นที่ไหลเวียนลงมาจากมหาสมุทรอาร์ติกในมหา สมุทรแอตแลนติกเหนือเรียกว่ากระแสน้าเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก 2. กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ กระแสน้าอุ่นใต้ศูนย์สูตร ไหลจากตะวันออกไป ตะวันตก 3. กระแสน้าในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ กระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตรไหลจากตะวันออกไป ตะวันตก ตอนเหนือมีกระแสน้าเย็นจากมหาสมุทรอาร์กติกไหลลงมาผ่านช่องแคบเบริง เรียกว่า กระแสน้าเย็นเบริง ต่อมาเป็นกระแสน้าเย็นแคมชัตกา กระแสน้าเย็นคูริล และโอ ยาชิโอ มาบรรจบกับกระแสน้าอุ่นกุโรชิโอบริเวณหมู่เกาะญี่ปุ่น 4. กระแสน้าในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ กระแสน้าอุ่นใต้ศูนย์สูตรไหลจากตะวันออกไป ตะวันตก เมื่อปะทะเกาะนิวกินีแล้วจะแยกไปรวมกับกระแสน้าเหนือศูนย์สูตรสายหนึ่ง อีกสายหนึ่งแยกไปทางใต้ 5. กระแสน้าในมหาสมุทรอินเดียตอนใต้ มีกระแสน้าอุ่นเหนือศูนย์สูตรไหลผ่านทาง ตะวันตกผ่านช่องแคบโมแซมบิก เรียกว่า กระแสน้าอุ่นโมแซมบิก ผ่านไปใต้สุด เรียกว่า กระแสน้าอุ่นอากัลลัส 6. กระแสน้าในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ กระแสน้าจะพัดไปตามอิทธิพลของลมประจา ฤดูโดยเฉพาะลมมรสุมฤดูร้อนและฤดูหนาว 7. กระแสน้าลมมรสุมฤดูร้อน จะพัดพากระแสน้าจากคาบสมุทรอินโดจีนผ่านคาบสมุทร อินโดจีนไหลทวนเข็มนาฬิกา 8. กระแสน้าในมหาสมุทรแอนตาร์กติกา ในเขตมหาสมุทรแอนตาร์กติกาจะมีกระแสน้าเย็น ไหลไปรอบๆดินแดนทวีปแอนตาร์กติกา เรียกว่ากระแสน้าเย็นแอนตาร์กติกา
  • 5. อิทธิพลของกระแสน้าในมหาสมุทร 1. กระแสน้าในมหาสมุทรมีอิทธิพลต่ออุณหภูมิบนพื้นโลก โดยกระแสน้าจะช่วยในการ ถ่ายเทความร้อน จากละติจูดต่าไปละติจูดกลางและละติจูดสูง - กระแสน้าอุ่น ช่วยเพิ่มระดับอุณหภูมิบริเวณชายฝั่งในเขตละติจูดสูงให้สูงขึ้น เช่น ทาให้ ชายฝั่งประเทศสหราชอาณาจักรมีอุณหภูมิไม่ลดต่าลงมาก เป็นต้น - กระแสน้าเย็น ช่วยลดระดับอุณหภูมิบริเวณชายฝั่งในเขตละติจูดต่าให้เย็นลง เช่น ทาให้ ชายฝั่งเคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา มีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก ทั้งๆที่เป็นฤดูร้อน เป็นต้น 2. กระแสน้าต่างชนิดกัน ถึงแม้ว่าจะไหลผ่านในละติจูดเดียวกัน อาจก่อให้เกิดภูมิอากาศที่ แตกต่างกัน เช่น ในทวีปแอฟริกา มีกระแสน้าเย็นไหลผ่านทางด้านตะวันตกของทวีป ส่งผลทาให้มีภูมิอากาศแห้งแล้งแบบทะเลทราย ส่วนทางด้านตะวันออกของทวีป มี กระแสน้าอุ่นไหลผ่าน ส่งผลให้มีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ซึ่งมีความชุ่มชื้น มากกว่าด้านตะวันตกของทวีป เป็นต้น 3. บริเวณที่มีกระแสน้าเย็นและกระแสน้าอุ่นไหลมาปะทะกัน จะมีแพลงตอนซึ่งเป็นอาหาร ของปลาอยู่เป็นจานวนมาก จึงเป็นแหล่งปลาชุกชุม มีประโยชน์ทางด้านการประมง อิทธิพลทางอุทกภาคที่มีต่อโลก 1. น้าขึ้น-น้าลง เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทุกวันอย่างช้าๆ และคงที่ จากความสัมพันธ์ระหว่างดวง อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ เนื่องจากแรงดึงดูดที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ ขณะโคจรรอบโลก โดยด้านที่โลกหันเข้าหาดวงจันทร์ แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์จะ มากกว่าแรงเหวี่ยงของโลก มวลน้าจึงถูกดึงเข้าหาดวงจันทร์ ทาให้เกิดน้าขึ้น และเมื่อ แรงเหวี่ยงของโลกมากกว่าแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ มวลน้าจะถูกดันออกจากดวง
  • 6. จันทร์ ทาให้เกิดน้าลง ปรากฏการณ์น้าขึ้น-น้าลงจะเกิดขึ้นสลับกันวันละสองครั้ง โดย เกิดห่างกัน 6 ชั่งโมง 2. น้าเกิด-น้าตาย - น้าเกิด เป็นปรากฏการณ์น้าขึ้นสูงสุด เนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมา อยู่ในแนวเดียวกัน จะเกิดช่วงวันขึ้น 14-15ค่า และวันแรม 14-15 ค่า โดยจะเกิดขึ้นสูงสุด พร้อมกันทั้ง 2 ด้าน - น้าตาย เป็นปรากฏการณ์น้าลงต่าสุด เนื่องจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์เคลื่อนที่มาอยู่ แนวตั้งฉากกับโลกแรงดึงดูดจากแรงโน้มถ่วงของทั้งดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะคาน กัน ทาให้ช่วงนี้มีระดับน้าต่าสุด จะเกิดในช่วงวันขึ้น 8 ค่า และวันแรม 8 ค่า ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้าจืด มนุษย์มีความสาพันธ์และผูกพันกับแหล่งน้า ทั้งในเรื่องการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการตั้งถิ่นฐาน รวมถึงมนุษย์ยังมรการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านสังคม ได้แก่ ใช้ในการตั้งถิ่นฐาน ใช้ในการอุปโภคบริโภค การคมนาคมขนส่ง ใช้ใน การเกษตรกรรม 2. ดานการเมือง ได้แก่ ป้องกันการรุกรานจากข้าศึก ใช้แม่น้าเป็นแนวพรมแดนธรรมชาติ เป็นเส้นทางการเดินทาง 3. ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง การอุตสาหกรรม วิธีการอนุรักษ์น้า 1. เผยแพร่สาเหตุที่ทาให้คุณภาพของน้าเสีย 2. พัฒนาแหล่งน้าธรรมชาติทั้งผิวดินและใต้ดิน 3. ป้องกันและลดอันตรายจากน้าท่วม 4. พยายามใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 7. ปัญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรน้า 1. คุณภาพของน้าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานกาหนด 2. การคลาดแคลนน้า 3. น้าท่วม การแก้ปัญหาน้าท่วม วิธีการต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหา น้าท่วม คือ 1. การก่อสร้างคันกั้นน้า เพื่อป้องกันน้าท่วมซึ่งเป็นวิธีการดั้งเดิมแต่ครั้งโบราณโดยการ ก่อสร้างคัน ดินกั้นน้าขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลาน้าห่างจากขอบตลิ่งพอสมควร เพื่อ ป้องกันมิให้น้าล้นตลิ่งไปท่วมในพื้นที่ต่างๆ ด้านใน เช่น คันกั้นน้าโครงการมูโนะ และโครงการปิ เหล็งอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส เป็นต้น 2. การก่อสร้างทางผันน้า เพื่อผันน้าทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วมท้นให้ออกไป โดยการ ก่อสร้างทางผันน้าหรือขุดคลองสายใหม่เชื่อมต่อกับลาน้าที่มีปัญหาน้า ท่วมโดยให้น้าไหลไป ตามทางผันน้าที่ขุดขึ้นใหม่ไปลงลาน้าสายอื่น หรือระบายออกสู่ทะเลตามความเหมาะสม ซึ่ง การดาเนินการสนองพระราชดาริวิธีนี้ ดาเนินการโดยกรมชลประทาน ในการแก้ไขปัญหาจาก แม่น้าโก-ลก เข้ามาท่วมไร่นาของราษฎรเสียหายหลายหมื่นไร่ทุกปี การขุดคลองมูโนะได้ช่วย บรรเทาลงได้เป็นอย่างดี 3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลาน้า เพื่อให้น้าที่ท่วมทะลักสามารถไหลไปตามลาน้าได้ สะดวกหรือช่วยให้กระแสน้าไหล เร็วยิ่งขึ้น อันเป็นการบรรเทาความเสียหายจากน้าท่วมขังได้ โดยใช้วิธีการดังนี้ - ขุดลอกลาน้าตื้นเขินให้น้าไหลสะดวกขึ้น - ตกแต่งดินตามลาดตลิ่งให้เรียบมิให้เป็นอุปสรรคต่อทางเดินของน้า - กาจัดวัชพืช ผักตบชวา และรื้อทาลายสิ่งกีดขวางทางน้าไหลให้ออกไปจนหมดสิ้น
  • 8. - หากลาน้าคดโค้งมาก ให้หาแนวทางขุดคลองใหม่เป็นลาน้าสายตรงให้น้าไหลสะดวก - การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้าเป็นมาตรการป้องกันน้าท่วมที่สาคัญประการหนึ่งใน การกักเก็บน้าที่ไหลท่วมล้นในฤดูน้าหลาก โดย เก็บไว้ทางด้านเหนือเขื่อนในลักษณะอ่าง เก็บน้าซึ่งปัจจุบันดาเนินการตามพระ ราชดาริมากมายหลายแห่งในประเทศไทย และการ ป้องกันน้าท่วมใหญ่ในระดับประเทศนั้น ขณะนี้ได้อยู่ในระหว่างดาเนินการหลายจุด คือ - โครงการพัฒนาลุ่มน้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดาริ - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดาริ - โครงการพัฒนาลุ่มน้านครนายกตอนบนจังหวัดนครนายก ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง 1. ดาเนินการระบายน้าออกจากพื้นที่ตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใต้ลงคลอง พักน้าขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล เช่น คลองชายทะเลของฝั่งตะวันออก ซึ่งจะทาหน้าที่เป็นบ่อ เก็บน้าขนาดใหญ่ คือ แก้มลิง ต่อไป 2. เมื่อ ระดับน้าทะเลลดต่าลงกว่าระดับน้าในคลอง ก็ทาการระบายน้าจากคลองดังกล่าวออก ทางประตูระบายน้า โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ 3. สูบน้าออกจากคลองที่ทาหน้าที่ แก้มลิง นี้ ให้ระบายออกในระดับต่าที่สุดออกสู่ทะเล เพื่อจะ ได้ทาให้น้าตอนบนค่อยๆ ไหลมาเองตลอดเวลาส่งผลให้ปริมาณน้าท่วมพื้นที่ลดน้อยลง 4. เมื่อระดับน้าทะเลสูงกว่าระดับน้าในลาคลองให้ทาการปิดประตูระบายน้า เพื่อป้องกันมิให้ น้าย้อนกลับ โดยยึดหลักน้าไหลทางเดียว(One Way Flow) หลักการ 3 ประเด็น ทีโครงการแก้มลิงจะสามารถมีประสิทธิภาพบรรลุผลสาเร็จตามแนว ่ พระราชดาริ คือ 1.การพิจารณาสถานที่ที่จะทาหน้าที่เป็นบ่อพักและวิธีการชักน้าท่วมไหลเข้าสู่บ่อพักน้า 2.เส้นทางน้าไหลที่สะดวกต่อการระบายน้าเข้าสู่แหล่งที่ทาหน้าที่บ่อพักน้า 3.การระบายน้าออกจากบ่อพักน้าอย่างต่อเนื่อง
  • 9. การแก้ปัญหาการขาดแคลนน้า เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสก นิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยาก ของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหา กรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กบ ม.ร.ว.เทพ ั ฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือ ฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วย ความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นใน ปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการ พระราชดาริฝนหลวงต่อไป การทาฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุ สารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพ ในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้นมาก พอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้น บนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย "สูตรร้อน" ใช้เพื่อ กระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัว ของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูง ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน" เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้มุ่งใช้ สารเคมีกระตุ้นให้มวลอากาศลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือ ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของ แต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้ แม้จะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้น สัมพัทธ์ต่า (มีค่า critical relative humidity ต่า) เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอ น้าในมวลอากาศ (เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย)
  • 10. ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมี ที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้น ๆ เข้า สู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (main cloud core) ในบริเวณ ปฏิบัติการสาหรับใช้ เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอนที่สอง : "เลี้ยงให้อ้วน" เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการปฏิบัติการ เพราะจะต้องเพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์ การทาฝนควบคู่ไปพร้อมกันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และใน อัตราใดจึงเหมาะสม เพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลาย ขั้นตอนที่สาม : "โจมตี" เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมีความ หนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หาก เครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบิน เป็น ขั้นตอนที่สาคัญ ต้องอาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft หรือทาให้อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ จะต้อง พิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก และ เพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ในการทาฝนหลวง 1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการวางแผน ปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็น ประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่ เครื่องวัดลมชั้นบน (pilot balloon) ใช้ ตรวจวัดทิศทางและความเร็วลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป , เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซึ่งจะติดไปกับ บอลลูน และเครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้น ของ บรรยากาศในระดับต่าง ๆ , เครื่องเรดาร์ตรวจอากาศ ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์
  • 11. เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพ สามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรง หรือปริมาณ น้าฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้ว ยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝน หลวงอีกด้วย , เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องวัด ความเร็วและทิศทางลม เครื่องวัดปริมาณน้าฝน เป็นต้น 2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมี ทั้งแบบน้าและแบบ ผง ถังและกรวยโปรยสารเคมี เป็นต้น 3. เครื่องมือสื่อสาร ใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบินกับ ฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน ปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจ ศูนย์สื่อสาร สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร และกรมไปรษณีย์โทรเลข เครื่องมือ สื่อสารที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องโทรพิมพ์ เป็นต้น 4. เครื่องมือทางวิชาการอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ แผนที่ กล้อง ส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถ่ายภาพ ฯลฯ 5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง หรือ เรดาร์ดอปเปลอร์ (Doppler radar) ในบรรดาเครื่องมือ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศประยุกต์จานวน 8 รายการนั้น เรดาร์ดอปเปลอร์จัดเป็นเครื่องมือที่มีมูลค่าสูงสุด เรดาร์นี้ใช้เพื่อวาง แผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิต เครื่องมือชนิดนี้ ทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax 3400) ควบคุมสั่งการ เก็บบันทึก รวบรวม ข้อมูล สามารถนาข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึก ในรูปแบบการทางานของ IRIS (IRIS Software) ผ่านโพรเซสเซอร์ (RUP-6) กล่าวคือ ข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ใน เทปบันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถนามาใช้ได้ตลอด ซึ่งเชื่อมต่อกับ ระบบเรดาร์ การแสดงผล/ข้อมูล โดยจอภาพ สถานที่ตั้งเรดาร์ดอปเปลอร์นี้อยู่ที่ ตำบล ยำงเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
  • 12. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้าบริโภค (น้าประปา) มาตรฐาน คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย เกณฑ์กาหนดสูงสุด เกณฑ์อนุโลมสูงสุดa ทางกายภาพ 1.สี (Colour) ปลาตินัม-โคบอลด์ 5 15 (Platinum-Cobalt) 2.รส (Taste) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ 3.กลิ่น (Odour) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ ซิลิกา สเกล ยูนิต 4.ความขุ่น (Turbidity) 5 20 (Silica scale unit) 5.ความเป็นกรด-ด่าง(pH) - 6.5-8.5 9.2 ทางเคมี 6.ปริมาณสารทั้งหมด มก./ล. 500 1,500 (Total Solids) 7.เหล็ก (Fe) มก./ล. 0.5 1.0 8.มังกานีส (Mn) มก./ล. 0.3 0.5 9.เหล็กและมังกานีส (Fe& Mn) มก./ล. 0.5 1.0 10.ทองแดง (cu) มก./ล. 1.0 1.5 11.สังกะสี (Zn) มก./ล. 5.0 15.0 12.คัลเซียม (Ca) มก./ล. 75b 200 13.แมกนีเซียม (Mg) มก./ล. 50 150 14.ซัลเฟต (SO4) มก./ล. 200 250c 15.คลอไรต์ (Cl) มก./ล. 250 600 16.ฟลูออไรด์ (F) มก./ล. 0.7 1.0 17.ไนเตรต (NO3) มก./ล. 45 45 18.อัลคิลเบนซิลซัลโฟเนต มก./ล. 0.5 1.0 (Alkylbenzyl Sulfonate,ABS) 19.ฟีโนลิกซับสแตนซ์(Phenolic มก./ล. 0.001 0.002 substances as phenol)
  • 13. สารเป็นพิษ 20.ปรอท (Hg) มก./ล. 0.001 - 21.ตะกั่ว (Pb) มก./ล. 0.05 - 22.อาร์เซนิก (As) มก./ล. 0.05 - 23.ซิลิเนียม (Se) มก./ล. 0.01 - 24.โครเมียม มก./ล. 0.05 - (Cr hexavalent) 25.ไซยาไนด์ (CN) มก./ล. 0.2 - 26.แคดเมียม (Cd) มก./ล. 0.01 - 27.แบเรียม (Ba) มก./ล. 1.0 - ทางจุล 28.แสตนดาร์ดเพลตเคานต์ โคโลนีต่อลูบาศก์ 500 - ชีววิทยา (Standard Plate Count) เซนติเมตร(Colonies/cm3 โคลิฟอร์มออร์แกนิสซัม ต่อ 100 ลูกบาศก์ 29.เอ็มพีเอ็น (MPN) เซนติเมตร น้อยกว่า 2.2 - (Coliform Organism/100 cm3 30.อีโคไล (E.coli) ไม่มี -
  • 14. เครื่องมือที่ใช้วัดมาตรฐานน้า pH Meter เครื่องวัดกรดด่าง Chlorine Meter เครื่องวัดคลอรีน Turbidity Meter เครื่องวัดค่าความขุ่น ชุดทดสอบคุณภาพน้า กระดาษทดสอบคุณภาพน้า