SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง ปัญหายาเสพติด
(Drugs)
นางสาวจิตรฤดี อุทัยคา เลขที่ 26
นางสาวภทรพรรณ เกียรติศิริกุล เลขที่ 27
นางสาวชนัญชิดา มั่นคา เลขที่ 29
นางสาวนพนี ม่วงแก้ว เลขที่ 31
นางสาวพิศุทธิ์ วีระหงษ์ เลขที่ 32
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
วิชา IS2 รหัสวิชา 30201
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งรายงานฉบับนี้มี
เนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย ประเภทของยาเสพติด สาเหตุของการติดยาเสพติด ลักษณะของผู้ติดยาเสพติติด
และการป้องกันการติดยาเสพติด
ผู้จัดทาหวังว่าเป็นอย่างยิ่ง รายงานฉบับนี้จักให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่านไม่มากก็
น้อย หากผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ก
กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีจากครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนวิชา
IS2 ที่ให้คาปรึกา ที่กรุณาให้ข้อคิดเห็น คาแนะนา ตลอดจนแก้ไข้ข้อบกพร่องของรายงานมาด้วยดีตลอด
คณะครู-อาจารย์และ ห้องสมุดโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ที่ได้สละ
เวลาแล้วให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลแก่คณะผู้จัดทา
คณะผู้จัดทาจึ่งขอขอบพระคุณทุกท่านที่มรส่วนช่วยเหลือ มา ณ ที่นี้ด้วย สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการทารายงานเรื่องยาเสพติด
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
บทที่ 1 ความหมายของยาเสพติด
1.1ความหมายโดยทั่วไป 1
1.2 ความหมายทางวิทยาศาตร์ 1-2
บทที่ 2 โทษของยาเสพติด
2.1 โทษพิษภัยต่อครอบครัว 3
2.2 โทษทางร่างกาย และจิตใจ 3-5
บทที่ 3 ประเภทของยาเสพติด
3.1 จาแนกนาสิ่งเสพติดที่มา 6
3.2 จาแนกสิ่งเสพติดตามกฎหมาย 6
3.3 การจาแนกสิ่งเสพติดตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง 6-7
บทที่ 4 สาเหตุการติดยาเสพติด
4.1 ติดเพราะฤทธิ์ของยา 8
4.2 ติดยาเสพติดเพราะสิ่งแวดล้อม 8-9
บทที่ 5 วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติด
5.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 10
ค
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
5.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ 10
5.3 แสดงอาการอยากยาเสพติด 10
5.4 อาสัยเทคนิคทางการแพทย์ 11
บรรณานุกรม 12
ภาคผนวก 13-16
ผู้จัดทา 17
สารบัญภาพ
ภาพที่... หน้า
ภาพที่ 1.1 อย่าเสพยาเสพติด 1
ภาพที่ 1.2 “เกลียด กลัว หนี” เทคนิคป้องกันยาเสพติด 2
ภาพที่ 2.1 กฎหมาย/ข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด 3
ภาพที่ 2.2 กระท่อม 5
ภาพที่ 3.1 เซกโคบาล,บาร์มิกูเรต 6
ภาพที่ 3.2 ยาบ้า 7
ภาพที่ 4.1 ยาอี 8
ภาพที่ 4.2 ฝิ่น 9
ภาพที่ 5.1 กัญชา 10
ภาพที่ 5.2 เฮโรอีน 11
ง
1
บทที่ 1 ความหมายของยาเสพติด
ภาพที่ 1.1 อย่าเสพยาเสพติด
1.1ความหมายโดยทั่วไป
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนเราฉีดสารเสพ
ติดเข้าไปไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและ
จิตใจนอกจากนี้ยังจะทาให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้งจะทา
ให้บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและ จิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่าง
เดียว และต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทาให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง เมื่อถึงเวลาอยาก
เสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและ จิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ
1.2 ความหมายทางวิทยาศาตร์
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นเมี่อนาเข้าสู่ร่างกาย ไม่
ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้
ยังจะทาให้เกิดการเสพติดได้หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง
ลักษณะสาคัญของสารเสพติดจะทาให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้
1.เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
2
2. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
3. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
4. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
ภาพที่ 1.2 “เกลียด กลัว หนี” เทคนิคป้องกันยาเสพติด
3
บทที่ 2 โทษของยาเสพติด
ภาพที่ 2.1 กฎหมาย/ข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด
2.1 โทษพิษภัยต่อครอบครัว
1. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และญาติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว
2. ทาให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอื่น และต้องเสียเงิน
รักษาตัวเอง
3.ทางานไม่ได้ขาดหลักประกันของครอบครัว และนายจ้างหมดความไว้วางใจ
4. สูญเสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นาความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาติพี่น้อง
2.2 โทษทางร่างกาย และจิตใจ
1.สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษภัยของ
สารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทางานไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจ
เป็นโรคจิตได้ง่าย
4
2.ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมดขาดความสนใจในตนเองทั้งความประพฤติความสะอาดและสติสัมปชัญญะ มี
อากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยนไปจากเดิม
3. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจคร้าน เฉื่อย
ชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกายและกล้ามเนื้อ
ต่างๆ ผิดปกติ
4.ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายถูกพิษยา
ทาให้เสื่อมลง น้าหนักตัวลด ผิวคล้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน
5.เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่ายเพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติทาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และเมื่อเกิด
แล้วจะมีความรุนแรงมาก รักษาหายได้ยาก
6. อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุมกล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจลอย ทางาน
ด้วยความประมาท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลา
7. เกิดโทษที่รุนแรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุ้มคลั่ง ถึงขั้นอาละวาด เมื่อหิวยาเสพติดและหายาไม่ทัน เริ่มด้วย
อาการนอนไม่หลับ น้าตาไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก กระวนกระวาย
แบ่งตามกฎหมาย
ได้ดังนี้ แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือ ยาบ้า ยาอี หรือ ยาเลิฟ
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่
ต้องใช้ภายใต้ การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จาเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือ โค
คาอีน โคเคอีน และเมทาโดน
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้ เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ 2
ผสมอยู่ด้วยมีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษ
กากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับ
ปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
5
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภท
ที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์ในการบาบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกากับไว้
ด้วย ได้แก่น้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยน มอร์ฟีน เป็น เฮโรอีน สาร
คลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิต ยาบ้า ได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถ
นามาผลิตยาอีและยาบ้าได้
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ 1 ถึง 4
ได้แก่ ทุกส่วนของพืช กัญชา ทุกส่วนของพืช กระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
ภาพที่ 2.2 กระท่อม
6
บทที่3 ประเภทของยาเสพติด
ภาพที่ 3.1 เซกโคบาล,บาร์มิกูเรต
3.1 จาแนกนาสิ่งเสพติดที่มา
แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
3.1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา เป็นต้น
3.1.2 ยาเสพติดสังเคราะห์ คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน ยาอี
เอ็คตาซี เป็นต้น
3.2 จาแนกสิ่งเสพติดตามกฎหมาย
3.2.1 ประเภทถูกกฎหมาย เช่น ยาแก้ไอน้าดา บุหรี่ เหล้า กาแฟ ฯลฯ
3.2.2 ประเภทผิดกฎหมาย เช่น มอร์ฟีน ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา กระท่อม แอมเฟตามีน ฯลฯ
3.3 การจาแนกสิ่งเสพติดตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
3.3.1 ประเภทกดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท ยาระงับประทสาท ยานอนหลับ
สารระเหย เครื่องดื่มมึนเมา เช่น เหล้า เบียร์
3.3.2 ประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน ยาม้า ใบกระท่อม บุหรี่ กาแฟ โคคาอีน
3.3.3 ประเภทหลอนประสาท เช่น แอล เอส ดี , เอส ที พี , น้ามันระเหย
7
3.3.4 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น หรือหลอนประสาทผสมรวมกันได้แก่ กัญชา
ภาพที่ 3.2 ยาบ้า
8
บทที่ 4 สาเหตุการติดยาเสพติด
ภาพที่ 4.1 ยาอี
4.1 ติดเพราะฤทธิ์ของยา
เมื่อร่างกายมนุษย์ได้รับยาเสพติดเข้าไปฤทธิ์ของยาเสพติด จะทาให้ระบบต่างๆ ของร่างกาย
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถ้าการใช้ยาไม่บ่อยหรือนานครั้ง ไม่ค่ยมีผลต่อร่างกาย แต่ถ้าใช้ติดต่อเพียงชั่วระยะเวลา
หนึ่งจะทาให้มีผลต่อร่างกายและจิตใจ มีลักษณะ 4 ประการ คือ
1.มีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะเสพยาหรือสารนั้นอีกต่อไปเรื่อๆ
2.มีความโน้มเอียงที่จะเพิ่มปริมาณของยาเสพติดขึ้นทุดขณะ
3.ถ้าถึงเวลาที่เกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการขาดยา เช่น หาว
อาจียน น้าตาน้ามูกไหล ทุรนทุราย คลุ้มคลั้ง โมโห ขาสติ
4.ยาที่เสพนั้นจะไปทาลายสุขภาพของผู้เสพทั้งร่างกาย ทาให้ซูบผอม มีโรคแทรกซ้อน และทาง
จิตใจ เกิดอาการทางประสาท จิตใจไม่ปกติ
4.2 ติดยาเสพติดเพราะสิ่งแวดล้อม
1.สภาพแวดล้อมภายนอกของบ้านที่อยู่อาศัย เต้มไปด้วยแหล่งค้ายาเสพติด เช่น ใกล้บริเวณ
ศูนย์การค้า หน้าโรงหนัง ซึ่งเป็นการซื้อยาเสพติดทุกรูปแบบ
9
2. สิ่งแวดล้อมภายในบ้านขาดความอบอุ่น รวมไปถึงปัญหาชีวิตคนในครอบครัวและฐานะทาง
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมจะทาให้เด้กหันไปพึ่งยาเสพติด การขาดความเอาใจใส่ดูแลจากพ่อแม่ และขาดการ
ยอมรับจากครอบครัว เด็กจะหันไปคบเพื่อนร่อมกลุ่มเพื่อต้องการความอบอุ่น สภาพของกลุ่มเพื่อน สภาพ
ของเพื่อนบ้านใกล้เคียง
3. สิ่งแวดล้อมทางโรงเรียน เด็กมีปัญหาทางการเรียน เนื่องจากเรียนไม่ทันเพื่อน เบื่อครู เบื่อ
โรงเรียน ทาให้หนีโรงเรียนไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ตนพอใจ เป็นเหตุให้ตกเป็นเหยื่อของการติดยาเสพติด
4.3 ติดเพราะความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ
ในสังคมที่วุ่นวายสับสน เปลี่ยนแปลงรวดเร้วดังเช่นปัจจุบัน ทาให้จิตใจผิดปกติง่าย หากเป็นบุคคลที่
มีบุคลิกภาพอ่อนแอในทุกด้านทั้งอารมณ์และสติปัญญา รวมทั้งร่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรงก็จะหาสิ่งยึด
เหนี่ยว จะตกเป้นทาสยาเสพติดได้ง่าย ผู้ที่มีอารมณ์วู่วามไม่ค่อยยั้งคิดจะหันเข้าหายาเสพติดเพื่อระงับ
อารมณ์ วู่วามของตน เนื่องจากยาเสพติดมีคุณสมบัติในการกดประสาทและกระตุ้นประสาท ผู้มีจิตใจมั่นคง
ขาดความมั่นใจ มีแนวโน้มในการใช้ยาเพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของตนให้หมดไปและมีโอกาสติดยา ได้
ง่ายกว่าผู้อื่น
ภาพที่ 4.2 ฝิ่น
10
บทที่ 5 วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติด
ภาพที่ 5.1 กัญชา
5.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
สุขภาพทรุดโทรม ผอมซีด ทางานหนักไม่ไหว ริมฝีปากเขียวคล้าและแห้ง ร่างกายสกปรกมีกลิ่น
เหม็น ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ใส่แว่นดาเพื่อปกปิด
5.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
อารมณ์หงุดงิดง่าย พูดจาร้าวขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มั่วสุมกับคนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับยาเสพ
ติด สุบบุหรี่จัด มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด หน้าตาซึมเศร้า ขาดความเชื่อมั่น จิตใจอ่อนแอ ใช้เงินเปลือง
สิ่งของภายในบ้านสูญหายบ่อย
5.3 แสดงอาการอยากยาเสพติด
ตัวสั่น กระตุก ชัก จาม น้าหมูกไหล ท้องเดิน ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดที่เรียกว่า "ลงแดง" มีไข้ปวดเมื่อย
ตามร่างกายอย่างรนแรงนอนไม่หลับ ทุรนทุราย
11
5.4 อาสัยเทคนิคทางการแพทย์
โดยการเก็บปัสสาวะบุคคลที่สงสัยว่าจะติดยาเสพติดส่งตรวจ ใช้ยาบางชนิดที่สามารถล้างฤทธิ์ของยา
เสพติด
ภาพที่ 5.2 เฮโรอีน
12
บรรณนานุกรม
“ความหมายของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://blog.eduzones.com/jipatar/85849/.
สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“ประเภทพของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d10.html.
สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“กฏหมายของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.mukdahannews.com/h-ampata.htm.
สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“สารเสพติด”[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สารเสพติด.สืบค้น 14 กันยายน
2559.
13
ภาคผนวก
- ภาพการประชุมกลุ่ม
- ภาพการนาเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
- ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
14
- PPT
15
16
17
- งานย่อย 4
- งานก#1
18
19
-
20
21
งานย่อย 8
22
23
24
ผู้จัดทา
1.น.ส.จิตรฤดี อุทัยคา เลขที่ 26 ม.5/4
2. น.ส.ภทรพรรณ เกียรติศิริกุล เลขที่ 27 ม.5/4
3. น.ส.ชนัญชิดา มั่นคา เลขที่ 29 ม.5/4
4. น.ส.นพนี ม่วงแก้ว เลขที่ 31 ม.5/4
5. น.ส.พิศุทธิ์ วีระหงษ์ เลขที่ 32 ม.5/4

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Similar to เรื่องปัญหายาเสพติด

ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
พัน พัน
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
พัน พัน
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
Gitniphat Prom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
Wichitchai Buathong
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
Jettanut Poonlaptavee
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
Ice Ice
 
5555
55555555
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Pornsitaintharak
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Pornsitaintharak
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
AntoineYRC04
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8
tassanee chaicharoen
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Pornsitaintharak
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 

Similar to เรื่องปัญหายาเสพติด (20)

ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
5555
55555555
5555
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

เรื่องปัญหายาเสพติด

  • 1. เรื่อง ปัญหายาเสพติด (Drugs) นางสาวจิตรฤดี อุทัยคา เลขที่ 26 นางสาวภทรพรรณ เกียรติศิริกุล เลขที่ 27 นางสาวชนัญชิดา มั่นคา เลขที่ 29 นางสาวนพนี ม่วงแก้ว เลขที่ 31 นางสาวพิศุทธิ์ วีระหงษ์ เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม วิชา IS2 รหัสวิชา 30201 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งรายงานฉบับนี้มี เนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย ประเภทของยาเสพติด สาเหตุของการติดยาเสพติด ลักษณะของผู้ติดยาเสพติติด และการป้องกันการติดยาเสพติด ผู้จัดทาหวังว่าเป็นอย่างยิ่ง รายงานฉบับนี้จักให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่านไม่มากก็ น้อย หากผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีจากครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนวิชา IS2 ที่ให้คาปรึกา ที่กรุณาให้ข้อคิดเห็น คาแนะนา ตลอดจนแก้ไข้ข้อบกพร่องของรายงานมาด้วยดีตลอด คณะครู-อาจารย์และ ห้องสมุดโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ที่ได้สละ เวลาแล้วให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลแก่คณะผู้จัดทา คณะผู้จัดทาจึ่งขอขอบพระคุณทุกท่านที่มรส่วนช่วยเหลือ มา ณ ที่นี้ด้วย สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการทารายงานเรื่องยาเสพติด คณะผู้จัดทา ข
  • 4. สารบัญ หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 ความหมายของยาเสพติด 1.1ความหมายโดยทั่วไป 1 1.2 ความหมายทางวิทยาศาตร์ 1-2 บทที่ 2 โทษของยาเสพติด 2.1 โทษพิษภัยต่อครอบครัว 3 2.2 โทษทางร่างกาย และจิตใจ 3-5 บทที่ 3 ประเภทของยาเสพติด 3.1 จาแนกนาสิ่งเสพติดที่มา 6 3.2 จาแนกสิ่งเสพติดตามกฎหมาย 6 3.3 การจาแนกสิ่งเสพติดตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง 6-7 บทที่ 4 สาเหตุการติดยาเสพติด 4.1 ติดเพราะฤทธิ์ของยา 8 4.2 ติดยาเสพติดเพราะสิ่งแวดล้อม 8-9 บทที่ 5 วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติด 5.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 10 ค
  • 5. สารบัญ (ต่อ) หน้า 5.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ 10 5.3 แสดงอาการอยากยาเสพติด 10 5.4 อาสัยเทคนิคทางการแพทย์ 11 บรรณานุกรม 12 ภาคผนวก 13-16 ผู้จัดทา 17
  • 6. สารบัญภาพ ภาพที่... หน้า ภาพที่ 1.1 อย่าเสพยาเสพติด 1 ภาพที่ 1.2 “เกลียด กลัว หนี” เทคนิคป้องกันยาเสพติด 2 ภาพที่ 2.1 กฎหมาย/ข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด 3 ภาพที่ 2.2 กระท่อม 5 ภาพที่ 3.1 เซกโคบาล,บาร์มิกูเรต 6 ภาพที่ 3.2 ยาบ้า 7 ภาพที่ 4.1 ยาอี 8 ภาพที่ 4.2 ฝิ่น 9 ภาพที่ 5.1 กัญชา 10 ภาพที่ 5.2 เฮโรอีน 11 ง
  • 7. 1 บทที่ 1 ความหมายของยาเสพติด ภาพที่ 1.1 อย่าเสพยาเสพติด 1.1ความหมายโดยทั่วไป ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนเราฉีดสารเสพ ติดเข้าไปไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและ จิตใจนอกจากนี้ยังจะทาให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้งจะทา ให้บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและ จิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่าง เดียว และต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทาให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง เมื่อถึงเวลาอยาก เสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและ จิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ 1.2 ความหมายทางวิทยาศาตร์ ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นเมี่อนาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ ยังจะทาให้เกิดการเสพติดได้หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสาคัญของสารเสพติดจะทาให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้ 1.เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
  • 8. 2 2. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้ 3. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา 4. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ ภาพที่ 1.2 “เกลียด กลัว หนี” เทคนิคป้องกันยาเสพติด
  • 9. 3 บทที่ 2 โทษของยาเสพติด ภาพที่ 2.1 กฎหมาย/ข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด 2.1 โทษพิษภัยต่อครอบครัว 1. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และญาติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว 2. ทาให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอื่น และต้องเสียเงิน รักษาตัวเอง 3.ทางานไม่ได้ขาดหลักประกันของครอบครัว และนายจ้างหมดความไว้วางใจ 4. สูญเสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นาความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาติพี่น้อง 2.2 โทษทางร่างกาย และจิตใจ 1.สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษภัยของ สารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทางานไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจ เป็นโรคจิตได้ง่าย
  • 10. 4 2.ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมดขาดความสนใจในตนเองทั้งความประพฤติความสะอาดและสติสัมปชัญญะ มี อากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยนไปจากเดิม 3. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจคร้าน เฉื่อย ชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกายและกล้ามเนื้อ ต่างๆ ผิดปกติ 4.ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายถูกพิษยา ทาให้เสื่อมลง น้าหนักตัวลด ผิวคล้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน 5.เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่ายเพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติทาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และเมื่อเกิด แล้วจะมีความรุนแรงมาก รักษาหายได้ยาก 6. อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุมกล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจลอย ทางาน ด้วยความประมาท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลา 7. เกิดโทษที่รุนแรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุ้มคลั่ง ถึงขั้นอาละวาด เมื่อหิวยาเสพติดและหายาไม่ทัน เริ่มด้วย อาการนอนไม่หลับ น้าตาไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก กระวนกระวาย แบ่งตามกฎหมาย ได้ดังนี้ แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือ ยาบ้า ยาอี หรือ ยาเลิฟ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ ต้องใช้ภายใต้ การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จาเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือ โค คาอีน โคเคอีน และเมทาโดน ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้ เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วยมีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษ กากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับ ปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
  • 11. 5 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภท ที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์ในการบาบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกากับไว้ ด้วย ได้แก่น้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยน มอร์ฟีน เป็น เฮโรอีน สาร คลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิต ยาบ้า ได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถ นามาผลิตยาอีและยาบ้าได้ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ 1 ถึง 4 ได้แก่ ทุกส่วนของพืช กัญชา ทุกส่วนของพืช กระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น ภาพที่ 2.2 กระท่อม
  • 12. 6 บทที่3 ประเภทของยาเสพติด ภาพที่ 3.1 เซกโคบาล,บาร์มิกูเรต 3.1 จาแนกนาสิ่งเสพติดที่มา แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ 3.1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา เป็นต้น 3.1.2 ยาเสพติดสังเคราะห์ คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน ยาอี เอ็คตาซี เป็นต้น 3.2 จาแนกสิ่งเสพติดตามกฎหมาย 3.2.1 ประเภทถูกกฎหมาย เช่น ยาแก้ไอน้าดา บุหรี่ เหล้า กาแฟ ฯลฯ 3.2.2 ประเภทผิดกฎหมาย เช่น มอร์ฟีน ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา กระท่อม แอมเฟตามีน ฯลฯ 3.3 การจาแนกสิ่งเสพติดตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง 3.3.1 ประเภทกดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท ยาระงับประทสาท ยานอนหลับ สารระเหย เครื่องดื่มมึนเมา เช่น เหล้า เบียร์ 3.3.2 ประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน ยาม้า ใบกระท่อม บุหรี่ กาแฟ โคคาอีน 3.3.3 ประเภทหลอนประสาท เช่น แอล เอส ดี , เอส ที พี , น้ามันระเหย
  • 13. 7 3.3.4 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น หรือหลอนประสาทผสมรวมกันได้แก่ กัญชา ภาพที่ 3.2 ยาบ้า
  • 14. 8 บทที่ 4 สาเหตุการติดยาเสพติด ภาพที่ 4.1 ยาอี 4.1 ติดเพราะฤทธิ์ของยา เมื่อร่างกายมนุษย์ได้รับยาเสพติดเข้าไปฤทธิ์ของยาเสพติด จะทาให้ระบบต่างๆ ของร่างกาย เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถ้าการใช้ยาไม่บ่อยหรือนานครั้ง ไม่ค่ยมีผลต่อร่างกาย แต่ถ้าใช้ติดต่อเพียงชั่วระยะเวลา หนึ่งจะทาให้มีผลต่อร่างกายและจิตใจ มีลักษณะ 4 ประการ คือ 1.มีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะเสพยาหรือสารนั้นอีกต่อไปเรื่อๆ 2.มีความโน้มเอียงที่จะเพิ่มปริมาณของยาเสพติดขึ้นทุดขณะ 3.ถ้าถึงเวลาที่เกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการขาดยา เช่น หาว อาจียน น้าตาน้ามูกไหล ทุรนทุราย คลุ้มคลั้ง โมโห ขาสติ 4.ยาที่เสพนั้นจะไปทาลายสุขภาพของผู้เสพทั้งร่างกาย ทาให้ซูบผอม มีโรคแทรกซ้อน และทาง จิตใจ เกิดอาการทางประสาท จิตใจไม่ปกติ 4.2 ติดยาเสพติดเพราะสิ่งแวดล้อม 1.สภาพแวดล้อมภายนอกของบ้านที่อยู่อาศัย เต้มไปด้วยแหล่งค้ายาเสพติด เช่น ใกล้บริเวณ ศูนย์การค้า หน้าโรงหนัง ซึ่งเป็นการซื้อยาเสพติดทุกรูปแบบ
  • 15. 9 2. สิ่งแวดล้อมภายในบ้านขาดความอบอุ่น รวมไปถึงปัญหาชีวิตคนในครอบครัวและฐานะทาง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมจะทาให้เด้กหันไปพึ่งยาเสพติด การขาดความเอาใจใส่ดูแลจากพ่อแม่ และขาดการ ยอมรับจากครอบครัว เด็กจะหันไปคบเพื่อนร่อมกลุ่มเพื่อต้องการความอบอุ่น สภาพของกลุ่มเพื่อน สภาพ ของเพื่อนบ้านใกล้เคียง 3. สิ่งแวดล้อมทางโรงเรียน เด็กมีปัญหาทางการเรียน เนื่องจากเรียนไม่ทันเพื่อน เบื่อครู เบื่อ โรงเรียน ทาให้หนีโรงเรียนไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ตนพอใจ เป็นเหตุให้ตกเป็นเหยื่อของการติดยาเสพติด 4.3 ติดเพราะความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ ในสังคมที่วุ่นวายสับสน เปลี่ยนแปลงรวดเร้วดังเช่นปัจจุบัน ทาให้จิตใจผิดปกติง่าย หากเป็นบุคคลที่ มีบุคลิกภาพอ่อนแอในทุกด้านทั้งอารมณ์และสติปัญญา รวมทั้งร่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรงก็จะหาสิ่งยึด เหนี่ยว จะตกเป้นทาสยาเสพติดได้ง่าย ผู้ที่มีอารมณ์วู่วามไม่ค่อยยั้งคิดจะหันเข้าหายาเสพติดเพื่อระงับ อารมณ์ วู่วามของตน เนื่องจากยาเสพติดมีคุณสมบัติในการกดประสาทและกระตุ้นประสาท ผู้มีจิตใจมั่นคง ขาดความมั่นใจ มีแนวโน้มในการใช้ยาเพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของตนให้หมดไปและมีโอกาสติดยา ได้ ง่ายกว่าผู้อื่น ภาพที่ 4.2 ฝิ่น
  • 16. 10 บทที่ 5 วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติด ภาพที่ 5.1 กัญชา 5.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย สุขภาพทรุดโทรม ผอมซีด ทางานหนักไม่ไหว ริมฝีปากเขียวคล้าและแห้ง ร่างกายสกปรกมีกลิ่น เหม็น ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ใส่แว่นดาเพื่อปกปิด 5.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ อารมณ์หงุดงิดง่าย พูดจาร้าวขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มั่วสุมกับคนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับยาเสพ ติด สุบบุหรี่จัด มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด หน้าตาซึมเศร้า ขาดความเชื่อมั่น จิตใจอ่อนแอ ใช้เงินเปลือง สิ่งของภายในบ้านสูญหายบ่อย 5.3 แสดงอาการอยากยาเสพติด ตัวสั่น กระตุก ชัก จาม น้าหมูกไหล ท้องเดิน ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดที่เรียกว่า "ลงแดง" มีไข้ปวดเมื่อย ตามร่างกายอย่างรนแรงนอนไม่หลับ ทุรนทุราย
  • 18. 12 บรรณนานุกรม “ความหมายของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://blog.eduzones.com/jipatar/85849/. สืบค้น 14 กันยายน 2559. “ประเภทพของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d10.html. สืบค้น 14 กันยายน 2559. “กฏหมายของยาเสพติด”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.mukdahannews.com/h-ampata.htm. สืบค้น 14 กันยายน 2559. “สารเสพติด”[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สารเสพติด.สืบค้น 14 กันยายน 2559.
  • 21. 15
  • 22. 16
  • 24. 18
  • 25. 19 -
  • 26. 20
  • 28. 22
  • 29. 23
  • 30. 24 ผู้จัดทา 1.น.ส.จิตรฤดี อุทัยคา เลขที่ 26 ม.5/4 2. น.ส.ภทรพรรณ เกียรติศิริกุล เลขที่ 27 ม.5/4 3. น.ส.ชนัญชิดา มั่นคา เลขที่ 29 ม.5/4 4. น.ส.นพนี ม่วงแก้ว เลขที่ 31 ม.5/4 5. น.ส.พิศุทธิ์ วีระหงษ์ เลขที่ 32 ม.5/4