SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
โรคจิตเภท (Schizophrenia) พญ.รัชฎาพร  สีลา 28 กันยายน 2554
โรคจิตเภท (schizophrenia)
Positive Symptoms แสดงออกในด้านความผิดปกติของความคิด การรับรู้ การติดต่อสื่อสาร และพฤติกรรม ซึ่งแบ่งตามลักษณะอาการออกเป็น 2 ด้านใหญ่  Psychotic dimension อาการหลงผิด (Delusion)  อาการหลงผิดที่มีน้ำหนักในการวินิจฉัย ได้แก่ bizarre delusion อาการประสาทหลอน (Hallucination) Disorganization dimension  disorganized behavior เป็นพฤติกรรมที่ผิดไปจากปกติอย่างมาก disorganized speech ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ลักษณะอาการทางคลินิก
Negative Symptoms เป็นภาวะที่ขาดในสิ่งที่คนทั่ว ๆ ไปควรมี Alogiaพูดน้อย เนื้อหาที่พูดมีน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ  Affective flattening การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลงมาก หน้าตาเฉยเมย ไม่ค่อยสบตา Avolitionขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชาลง ไม่สนใจเรื่องการแต่งกาย ผู้ป่วยอาจนั่งอยู่เฉย ๆ ทั้งวันโดยไม่ทำอะไร  Asocialityเก็บตัว เฉย ๆ ไม่ค่อยแสดงออก หรือไม่มีกิจกรรมที่สนุกสนาน  ลักษณะอาการทางคลินิก
ในระยะอาการกำเริบ อาการสำคัญส่วนใหญ่จะเป็นอาการในกลุ่มอาการด้านบวก ส่วนกลุ่มอาการด้านลบนั้นมักพบในระยะหลังของโรค และไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาเหมือนกลุ่มอาการด้านบวก ลักษณะอาการทางคลินิก
การวินิจฉัย DSM - IV(American PsychiatricAssociation,1994)  A. มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป นาน 1 เดือน  อาการหลงผิด (Delusion) อาการประสาทหลอน (Hallucination) Disorganized speech  Disorganized behavior หรือ catatonic behavior  Negative Symptoms ได้แก่  flat affect, alogiaหรือ avolition หมายเหตุ แม้มีเพียงอาการเดียวก็ถือว่าเข้าเกณฑ์ หากเป็น bizarre delusion, หรือ Auditory hallucination
การวินิจฉัย  B. มีความบกพร่องหรือปัญหาในด้าน social/ occupational function มาก เช่น ด้านการงาน สัมพันธภาพต่อผู้อื่น หรือสุขอนามัยของตนเอง  C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยต้องมี active phase (ตามข้อ A) อย่างน้อยนาน 1 เดือน  และระยะที่เหลืออาจเป็น prodromalหรือ residual phase D. ไม่รวมถึง schizoaffective disorder และ mood disorder ต้องแยกโรค schizoaffective และ mood disorder ที่มีอาการโรคจิต
การวินิจฉัย  E. ไม่รวมถึงภาวะจากการใช้สารหรือโรคทางกาย อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงด้านสรีร วิทยาจากสาร เช่น สารเสพติด ยา หรือจากภาวะความเจ็บป่วยทางกาย  F.ความเกี่ยวเนื่องกับ pervasive developmental disorder หากมีประวัติ autistic disorder หรือ pervasive developmental disorder อื่นๆ จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเภท ต่อเมื่อผู้ป่วยมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนอย่างชัดเจนนานอย่างน้อย 1 เดือน (หรือน้อยกว่านี้หากรักษาได้ผล)
DSM-IV โรคจิตเภทแบ่งออกตามลักษณะอาการทางคลินิก 5 กลุ่มย่อย 1 Catatonic type เป็นกลุ่มที่มีความผิดปกติเด่นด้านการเคลื่อนไหวได้แก่ stupor, negativism, rigidity, excitement หรือ posturing  2Disorganized typeลักษณะสำคัญคือ ความคิดกระจัดกระจายไม่เป็นไปในแนวเดียวกัน แสดงออกมาทางคำพูดหรือท่าทาง เช่น incoherence, loosening of association ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการระหว่างอายุ 15-25 ปี การพยากรณ์โรคมักไม่ดี เนื่องจากมีอาการด้านลบเกิดขึ้นเร็ว  การจำแนกกลุ่มย่อย
3 Paranoid type ลักษณะสำคัญคือ มีความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด หรือหูแว่ว ทั้งนี้ผู้ป่วยต้องไม่มีอาการของ catatonic หรือ disorganized type เป็นโรคจิตเภทชนิดที่พบบ่อยบุคลิกภาพโดยรวมไม่เสื่อมเท่า 2 ชนิดแรก  4 Undifferentiated type เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภท แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้อย่างชัดเจนว่าเป็นชนิดใดใน 3 ชนิดข้างต้น  5 Residual type ผู้ป่วยเคยป่วยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง ในขณะที่ประเมินไม่พบอาการด้านบวก หรืออาจมีแต่ไม่ใช่อาการเด่น ลักษณะอาการที่มีหลงเหลืออยู่ส่วนใหญ่เป็นอาการด้านลบ เช่น เก็บตัว เฉื่อยชา ไม่สนใจตัวเอง เป็นต้น  การจำแนกกลุ่มย่อย
อุบัติการณ์ 0.1-0.5 ต่อ 1000 ความชุก 2.5-5.3 ต่อ 1000  หญิงและชายพบได้พอ ๆ กัน ชายเริ่มเป็นอายุน้อยกว่าหญิง  Onset  พบในช่วง 15-54 ปี ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการช่วงวัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ตอนต้น ชาย 15- 25ปี หญิง  25- 35 ปี ระบาดวิทยา
สาเหตุ  ก. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ  พันธุกรรม จากการศึกษาพบว่าญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากรทั่วไป ยิ่งมีความใกล้ชิดทางสายเลือดมากยิ่งมีโอกาสสูง (ดูตารางที่ 2)  ระบบสารชีวเคมีในสมอง คือ สมมุติฐานโดปามีน (dopamine hypothesis) กายวิภาคของสมอง มีผู้ป่วยโรคจิตเภทอยู่จำนวนหนึ่งที่มีความผิดปกติทางด้านกายวิภาคของสมอง เช่น มี ventricle โตกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอาการด้านลบ ประสาทสรีรวิทยา พบว่า cerebral blood flow และ glucose metabolism ลดลงในบริเวณ frontal lobe
ข. ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม  ในแง่ของครอบครัวนั้น พบว่าสภาพครอบครัวมีผลต่อการกำเริบของโรค โดยในครอบครัวของผู้ป่วยที่อาการกำเริบบ่อย ๆ พบว่ามีการใช้อารมณ์ต่อกัน (expressed-emotion) สูง ได้แก่ การตำหนิวิพากษ์วิจารณ์ (criticism) มีท่าทีไม่เป็นมิตร (hostility) หรือจู้จี้ยุ่งเกี่ยวกับผู้ป่วยมากเกินไป (emotional over involvement)  ผู้ป่วยที่เป็นโรคจิตเภทพบมากในสังคมที่มีเศรษฐานะต่ำ ซึ่งอาจเป็นจากการที่ผู้ป่วยมีอาการโรคจิตอยู่เรื่อย ๆ ทำให้การดำรงชีพไม่สามารถคงอยู่ได้ในสถานภาพเดิม (downward drift hypothesis) หรือการที่สภาพสังคมบีบคั้นทำให้คนเป็นโรคจิตเภทมากขึ้น (social causation hypothesis สาเหตุ
ความเสียงต่อการเกิดโรคจิตเภทในเครือญาติ .  ความสัมพันธ์                      ความเสี่ยง (%)  ประชากรทั่วไป                             1.0  พี่น้องของผู้ป่วย                            8.0  ลูกที่พ่อหรือแม่ป่วย                      12.0  คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่คนละใบ)         12.0  ลูกที่พ่อและแม่ป่วย                      40.0  คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่ใบเดียวกัน)      47.0
การพยากรณ์โรคในผู้ป่วยโรคจิตเภท
Organic disease Temporal lobe epilepsy Brain tumor, brain trauma CNS infection Endocrine disorder Autoimmune disorder Psychotic disorder  Brief psychotic disorder Delusional disorder Mood disorder Substance induced Alcohol induced psychosis Amphetamine induced psychosis การวินิจฉัยแยกโรค
แนวทางการวินิจฉัย...
prodromal phase  เริ่มมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไป มักมีปัญหาในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ หรือด้านสัมพันธภาพ การเรียนหรือการทำงานเริ่มแย่ลง เก็บตัวอยู่แต่ในห้อง ละเลยเรื่องสุขอนามัยหรือการแต่งกาย อาจหันมาสนใจในด้านปรัชญา ศาสนา หรือจิตวิทยา มีการใช้คำหรือสำนวนแปลก ๆ  ระยะเวลาช่วงนี้ไม่ โดยเฉลี่ยนานประมาณ 1 ปีก่อนอาการกำเริบ active phase  เป็นระยะที่ผู้ป่วยมีอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัยข้อ A โดยส่วนใหญ่มักเป็นกลุ่มอาการด้านบวก  residual phase  อาการคล้ายคลึงกับระยะเริ่มมีอาการ อาจพบ flat affect หรือเสื่อมลงมากกว่า อาการโรคจิต เช่น ประสาทหลอนหรือหลงผิด อาจยังมีอยู่ แต่มิได้มีผลต่อผู้ป่วยมากเหมือนในช่วงแรก พบว่าร้อยละ 25 ของผู้ป่วยโรคจิตเภทมีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย การดำเนินโรค
การรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล จะรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาลในกรณีต่อไปนี้  1. มีพฤติกรรมเป็นอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือก่อความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อื่น  2. มีปัญหาอื่น ๆ ที่ต้องดูแลใกล้ชิด เช่น มีอาการข้างเคียงจากยารุนแรง  3. เพื่อควบคุมเรื่องยา ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ยอมรับประทานยา  4. มีปัญหาในการวินิจฉัย การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy) การรักษาด้านจิตสังคม แนวทางการรักษา
แนวทางการรักษา
หลักการใช้ยาantipsychotics กำหนดอาการเป้าหมายที่จะรักษา ยาทุกตัวประสิทธิภาพเท่าเทียมกันต่างกันที่ผลข้างเคียง เลือกยาตามประวัติการตอบสนองต่อยาและผลข้างเคียงที่เกิดกับผู้ป่วย ระยะเวลายาเริ่มออกฤทธิ์ 2 สัปดาห์ ระยะเวลายาออกฤทธิ์เต็มที่ 4-6 สัปดาห์ ปรับขนาดยาให้สูงขึ้นจนกว่า  อาการเป้าหมายสงบลง ผู้ป่วยทนอาการข้างเคียงไม่ได้  ใช้ยาขนาดสูงสุดแล้ว ผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกรักษาด้วยยานาน 2 ปี ผู้ป่วยมีอาการกำเริบครั้งที่ 2 ใช้ยานาน 5 ปี  ผู้ป่วยมีอาการกำเริบมากกว่า 2 ครั้ง รักษาด้วยยาตลอดชีวิต
ยารักษาโรคจิตทั่วไปจะออกฤทธิ์ในการรักษาโดยไปจับกับ D2 receptor (D2 receptor antagonism) ผลการออกฤทธิ์ของยาตาม dopamine pathway  Mesolimbic pathway เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านบวก(positive symptoms) Mesocortical pathway เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านลบ (negative symptoms) และอาการด้าน cognitive Nigrostriatal pathway เกี่ยวกับการเกิดการข้างเคียง extrapyramidal (extrapyramidal side effects : EPS) Tuberoinfundibular pathway ยารักษาโรคจิตทำให้ prolactinหลั่งมาก เกิด galactorrheaและ gynecomastia ยารักษาโรคจิต
1. Typical Antipsychotic Drugs  2. Atypical Antipsychotic Drugs Clozapine Risperidone Olanzapino Quetiapine การจำแนกกลุ่มยาจิตเวช
ยารักษาโรคจิตกลุ่ม  typical  antipsychotic  drug  ออกฤทธิ์แบบ  postsynaptic  dopamine  receptor  blocker  โดยเฉพาะ  dopamine – 2  receptor  ที่mesolimbic  pathway  สำหรับรักษาอาการทางจิตแต่ออกฤทธิ์ที่  dopamine  pathway  อื่นด้วย ยาในกลุ่มใหม่  (atypical  antipsychotic  drug )  ออกฤทธิ์ที่  serotonin  system  มากกว่า  dopamine  system  ใช้ชื่อย่อว่า  SDA   ได้แก่risperidalolanzapineเป็นต้น กลไกการออกฤทธิ์
Typical antipsychotic drugs แบ่งตามขนาดยา เป็น 3 กลุ่ม  1. High potency  - Haloperidol (Haldol) - Fluphenazine (Fendec) - Flupentixol (Fluanxol) - Trifluoperazine (Stelazine) - Pimozide (Orap) 2. Moderate potency  - Perphenazine (Pernazine) - Zuclopenthixol (Clopixol) 3. Low potency  - Chlorpromazine (CPZ) (Largactil) - Thioridazine (Melleril)
28 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) Generic  name ขนาดมิลลิกรัมเทียบเท่า Chlorpromazine 100 มก. ขนาดที่ใช้ในการรักษา High  potency          -  haloperidol          -  trifluoperazine   2-5 5   6-20 6-20 Low  potency          -  chlopromazine          -  thioridazine   100 100   300-800 300-800 Medium  polency          -  perphenazine   8   8-40 ตารางที่  1  ยารักษาโรคจิตแบ่งตาม  potency  และขนาดที่ใช้รักษา  
Typical Antipsychotic Drugs
1. ผลจากการเป็น dopamine blocker ใน pathway อื่น Acute dystonia Akathisia Parkinsonism Tardivedyskinesia Neuroleptic malignant syndrome 2. ผลจากการเป็น alpha-1 adrenergic blocker ลุกขึ้นหน้ามืด ความดันโลหิตลดต่ำ 3. ผลจากการเป็น anticholinergic agent (muscarinic type) น้ำลายน้อย ปากคอแห้ง เกิดฟันผุง่ายขึ้น ตาพร่า เหงื่อไม่ออก 4. ผลข้างเคียงอื่น ๆ ที่มีความสำคัญแต่พบไม่บ่อย Cardiotoxicity Hematological effects Dermatological effects Weight gain ผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต Antipsychotic drugs
Anticholinergicและขนาดที่ใช้
32 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug )       ข้อห้ามใช้ 1.narrow  angle  glaucoma 2.  recent  MI 3.  conduction  abnormality  เช่น  prolong  QT 4.  benign  prostate  hypertrophy
33 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) ข้อบ่งชี้สำหรับการใช้ยารักษาโรคจิต โรคจิต  (psychosis)  ได้แก่  schizophrenia ,  brief  psychotic  disorder พฤติกรรมก้าวร้าวที่พบในโรคปัญญาอ่อนบุคลิกภาพแปรปรวนเป็นต้น โรคทางจิตเวชเด็กเช่นtourette’s  disorder   autistic  disorder  เป็นต้น โรคทางจิตเวชที่มีอาการโรคจิตร่วมได้แก่  major  depression  disorder  with  psychotic  features ,  substance  induced  psychosis  เป็นต้น
34 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) ผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต 1.extrapyramidal  side  effects  (EPS)  เป็นผลมาจากการ  block  dopamine  แบ่งเป็น 1.1    parkinsonism  มีอาการเดินตัวแข็งจากที่กล้ามเนื้อเกร็ง  (rigidity)   มือสั่น  (resting  tremor)  ก้าวเดินสั้นๆหน้าตาเฉยเมยเชื่องช้า  (bradykinesia)  มักเกิดในช่วงสัปดาห์ที่  2  ถึง  3  เดือนแรกของการได้ยาเกิดขึ้นประมาณ  15  %   วิธีการรักษาanticholinergic  drug  ได้แก่benztropinemesylateหรือtrihexyphenidyl  hydrochloride  ขนาด  2-5  มิลลิกรัมวันละ  2 – 4 ครั้งเป็นระยะเวลา  4-8  สัปดาห์แล้วประเมินว่าจำเป็นต้องให้หรือไม่หากไม่จำเป็นควรลดยาจนหมดภายในระยะเวลา  2  สัปดาห์
35 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 1.2  acute  dystoniaมีอาการบิดเกร็งของกล้ามเนื้อเป็นพักๆมักเกิดที่กล้ามเนื้อตา  (occulogyric  crisis)  กล้ามเนื้อคอ  (torticollis)  กล้ามเนื้อหลัง  (opisthotonus)  มักเกิดในคนหนุ่มอายุน้อยกว่า  30  อาการมักเกิดภายในสัปดาห์แรกของการได้รับยาเกิดขึ้นประมาณ  10  % วิธีการรักษาให้anticholinergic  drug  ฉีดได้แก่benztropine  0.5 – 1  มิลลิกรัมเข้าเส้นเลือดหรือ  1-2  มิลลิกรัมเข้ากล้ามเนื้อและให้ยารับประทานต่อประเมินอาการทุก  2  อาทิตย์
36 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 1.3  akathisiaมีอาการย่ำเท้าเดินไปเดินมากระสับกระส่ายผุดลุกผุดนั่งไม่สบายในกล้ามเนื้ออาการมักเกิดภายในสัปดาห์แรกของการได้รับยา  วิธีการรักษา 1.  ลดขนาดยารักษาโรคจิตลงหรือเปลี่ยนชนิดของยารักษาโรคจิต  2.  ให้ยาBadrenergic  receptor  antagonist,  antichoinergic  drug    benzodiazepines  หรือcyproheptadine
37 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 1.4  tardivedyskinesiaเป็นการขยับของกล้ามเนื้อที่ควบคุมไม่ได้บริเวณปากลิ้นใบหน้าแขนขาหรือลำตัว  (choreoathetoid  movement)  มักเกิดหลังจากได้รับยานานเกิน  6  เดือนแล้วมักพบในผู้สูงอายุเพศหญิงอายุมากกกว่า  50  ปีโอกาสเกิด  10 – 20 %  ของผู้ที่ได้รับมากกกว่า  1  ปีสาเหตุมาจากdopaminegic  receptor  supersensitivityใน  basal  ganglia  จากการที่  dopamine  receptor  ถูก  block  นาน วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยากลุ่ม  serotonin – dopamine  antagonist  (SDA)
38 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 2. cardiac  effect  มีผลทำให้  QT  และ  PR  interval  ยาวขึ้นได้แก่  chlorpromazine  ส่วนthioridazneอาจมีผลกับ  t – wave  3. orthostatic  (postural  hypotension)เป็นผลจาก  alpha  adrenergic  blocker  ทำให้เวลาเปลี่ยนท่าแล้วหน้ามืดมักเกิดใน  2-3 วันแรกของการรักษามักเกิดจากยารักษาโรคจิตกลุ่ม  low  potency  4. peripheral  anticholinergic  effects  มีอาการปากคอแห้งตาพร่ามัวท้องผูกปัสสาวะคั่งมักเกิดกับกลุ่มยารักษาโรคจิต  low  potency  วิธีการรักษา -  บ้วนปากบ่อยๆสำหรับปากคอแห้ง -  bethanechol  (urecholine )  20-40  มิลลิกรัม/วันสำหรับผู้ป่วยปัสสาวะคั่ง
39 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 5. hematological  effects  มักเกิดในช่วง  3  เดือนแรกของการรักษาอัตราส่วน  1 :  10,000  ดูจากการที่ผู้ป่วยเจ็บคอมีไข้ถ้าเกิดต้องหยุดยาเพราะอัตราตายสูงถึง  30  %  6. endocrine  effects  เป็นผลมาจาก  bock  dopamine  receptors  ในtuberoinfundibular  tract  ผลมีการหลั่งprolactinเพิ่มขึ้นทำให้นมโตน้ำนมไหลและ  impotence  ในผู้ชายส่วนในผู้หญิงเกิดamemorrheaและnibibited  orgasm  วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยากลุ่ม  SDA  เช่นquatiepine
40 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 7.weight  gain   วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยาที่ไม่เพิ่มน้ำหนักได้แก่ziprazidone 8.   dermatological  effects  เป็นลักษณะผื่นแพ้และผื่นที่ไวต่อแสงมักเกิดกับยาcholorpromazine วิธีการรักษาไม่ควรอยู่กลางแดดนานเกิน  30 - 60  นาทีและควรใช้ครีมกันแดด
41 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) 9. opthalmological  effects  ทำให้เกิดการสะสมของเม็ดสีที่จอประสาทอย่างแก้ไขไม่ได้  (retinitis  pigmentosa)  มีสาเหตุจากการ           รับประทานthioridazineเกิน  800  มิลลิกรัม/วันส่วน  chlorpromazine  อาจทำให้เลนส์ตาขุ่น 10. jaundice  มักเกิดในช่วง  1  เดือนแรก  มีลักษณะอาการปวดท้องด้านบน  คลื่นไส้อาเจียน  ไข้  ผื่นeonsinophilia  ,  bilirubinในปัสสาวะ  , bilirubin ,  alkaline  phosphataseและ  hepatic transaminasesในเลือดสูงขึ้น
42 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug )   11. neuroleptic  malignant  syndrome  เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้มีอาการกล้ามเนื้อแข็งแกร็งไข้สูงเหงื่อแตกชีพจรเร็วและความดันโลหิตขึ้นสูงเจาะเลือดพบมีการเพิ่มขึ้นของ  WBC  creatininephosphokinase , เอ็นไซม์ของตับ ,     myoglobinและมีmyoglobinในปัสสาวะทำให้ไตวายได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการคงอยู่นาน  10-14  วันมักเกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงและในคนอายุน้อยมากกว่าคนอายุมากอัตราการตาย  20-30  % วิธีการรักษา	-  หยุดยา  dopamine  receptor  antagonist   -  ลดไข้ 	-  ดูแล  vital  signs  ,  เกลือแร่ ,  น้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย 	-  ยาที่รักษาdantrolene -  เริ่มรักษาครั้งใหม่ให้ใช้ยาโรคจิตกลุ่ม  low potencyหรือ  SDA
43 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug )     12.   epileptogenic  effects  กลุ่ม  low  potency  และclozapineทำให้ผู้ป่วยที่เสี่ยงหรือมีโรคลมชักอยู่มีโอกาสชักได้ง่ายขึ้น      13.  sedation  เป็นผลจากการ  block  H1  receptors  ยาที่ง่วงนอนมากที่สุดคือ  chlorpromazine      14.  pregnancy  และ  lactation  หลีกเลี่ยงการให้ใน  3  เดือนแรกและช่วงให้นมบุตร
44 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) atypical  antipsychotic  drug เป็นยารักษาโรคจิตกลุ่มใหม่ที่ออกฤทธิ์  block  ทั้งdopaminagicและserotonergic  receptor  ทำให้มีฤทธิ์ข้างเคียงน้อยลงเมื่อเทียบกับยารุ่นเก่า
45     Typical  drug clozapine risporidone olanzapine quetiapine sertindole ziprazidone กระสับกระส่าย agranulocytosis anticholinergic  effects เอ็นไซม์ตับSGOT , SGPT  EPS EPS เพิ่มขึ้นตามขนาดยา คลื่นไส้ , ท้องอืด Orthostatic  hypotension การเพิ่มขึ้นของระดับprolactin ง่วงนอน มีผลต่อการชัก Tardivedyskinesia น้ำหนักขึ้น +  ถึง  ++ พบน้อยมาก +  ถึง  +++ + +  ถึง  +++ ใช่ + +  ถึง  +++ +  ถึง  ++ ++  ถึง  +++ + +++ +  ถึง  ++ 0 +++ +++ + 0 0 0 +++ 0 +++ +++(ขึ้นกับขนาดยา) 0 +++ ++ พบน้อยมาก + 0 + ใช่ + + ++ + 0 + + + พบน้อยมาก ++ + 0 ใช่ + ++ + ++ + ยังไม่แน่ ++ + พบน้อยมาก + + 0 ยังไม่แน่ 0 ++ 0 ++ 0 ยังไม่แน่ + 0 พบน้อยมาก 0 0 0 ไม่มี + + 0 0 0 ยังไม่แน่ ++ 0 พบน้อยมาก + + + ยังไม่แน่ + + + + 0 ยังไม่แน่ 0 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต  ( antipsychotic  drug ) ตารางที่  2  ฤทธิ์ข้างเคียงของยา  atypical  antipsychotic  drug  เทียบกับ  typical  antipsychotic  drug   0  = ไม่มีอะไร+  =เล็กน้อย++   =ปานกลาง+++  =มาก
ผู้ป่วยมีความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายสูง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงไม่สามารถควบคุมได้ด้วยวิธีอื่น ผู้ป่วย catatonia ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา ผู้ป่วยไม่สามารถทนผลข้างเคียงของยาได้ การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
จิตบำบัดรายบุคคลแบบประคับประคอง การให้คำปรึกษาแก่ครอบครัวและผู้ดูแล ให้ความรู้เรื่องโรค การดำเนินโรค การดูแล ปรับความคาดหวังให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของโรค ตั้งเป้าหมายการรักษาร่วมกัน ลดการใช้อารมณ์และความรุนแรงในครอบครัว ลดการตำหนิ วิภาควิจารณ์ผู้ป่วย ฝึกทักษะทางสังคม และฝึกอาชีพ การดูแลทางด้านจิตสังคม
เอกสารอ้างอิง มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมทย์ สุคนิชย์. 2542. โรคจิตเภท. พิมพ์ครั้งที่ 1. เมดอินโฟร์ จีดีกรุงเทพมหานคร.  ศิริยุพา นันสุนานนท์. 2543. โรคจิตเภท. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มดั้งเดิมและกลุ่มใหม่. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาสุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย American Psychiatric Association. 1994. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 4thed. American Psychiatric Association, Washington DC : 273-315.  NorquistGS and Narrow WE. 2000. Schizophrenia: epidemiology. In : Sadock BJ, Sadock VA, editors. Kaplan & Sadock’ s comprehensive textbook of psychiatry. 7th ed. Vol.I. Williams & Wilkins, Philadelphia : 1110-6.  Siris SG. Diagnosis of secondary depression in schizophrenia : Implication for DSM-IV. Schizophr Bull 1991; 17(1):75-98.  World Health Organization. The ICD-10 classification of mental and behavioral disorders. Geneva: World Health Organization, 1992: 86-95 Psychotic Disorders and Antipsychotic Therapy: A Consensus Statement, MJA 2004, 181 (10): 544-548, or www.psychiatry.unimelb.edu.au/open/diabetes_consensus/index.html www.nph.go.th/doc/7.pdf www.ra.mahidol.ac.th/mental/topics/int483.pdf www.skphweb.skph.go.th/skphpic/drug_maual.pdf elearning.medicine.swu.ac.th/edu/images/stories/mirco.ppt www.srbr.in.th/Pharmacy/Web_Saraburi/Quality/G.../monitorจิตเวช.doc

More Related Content

What's hot

วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลPreeyanush Rodthongyoo
 

What's hot (20)

วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 

Viewers also liked

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53Watcharapong Rintara
 
Case D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง รัชฎาพร 27 ก.ค. 54
Case  D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง  รัชฎาพร 27 ก.ค. 54Case  D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง  รัชฎาพร 27 ก.ค. 54
Case D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง รัชฎาพร 27 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (15)

Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
 
Case D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง รัชฎาพร 27 ก.ค. 54
Case  D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง  รัชฎาพร 27 ก.ค. 54Case  D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง  รัชฎาพร 27 ก.ค. 54
Case D M Foot หม้อยาแห่งความหวัง รัชฎาพร 27 ก.ค. 54
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf609262
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4RVSCHO
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรfifa23122544
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substancetaveena
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)satjakornii
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด AntoineYRC04
 

Similar to Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54 (20)

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
Nl
NlNl
Nl
 
emergency_2552.ppt
emergency_2552.pptemergency_2552.ppt
emergency_2552.ppt
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 

Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54

  • 3. Positive Symptoms แสดงออกในด้านความผิดปกติของความคิด การรับรู้ การติดต่อสื่อสาร และพฤติกรรม ซึ่งแบ่งตามลักษณะอาการออกเป็น 2 ด้านใหญ่ Psychotic dimension อาการหลงผิด (Delusion) อาการหลงผิดที่มีน้ำหนักในการวินิจฉัย ได้แก่ bizarre delusion อาการประสาทหลอน (Hallucination) Disorganization dimension disorganized behavior เป็นพฤติกรรมที่ผิดไปจากปกติอย่างมาก disorganized speech ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะอาการทางคลินิก
  • 4. Negative Symptoms เป็นภาวะที่ขาดในสิ่งที่คนทั่ว ๆ ไปควรมี Alogiaพูดน้อย เนื้อหาที่พูดมีน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ Affective flattening การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลงมาก หน้าตาเฉยเมย ไม่ค่อยสบตา Avolitionขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชาลง ไม่สนใจเรื่องการแต่งกาย ผู้ป่วยอาจนั่งอยู่เฉย ๆ ทั้งวันโดยไม่ทำอะไร Asocialityเก็บตัว เฉย ๆ ไม่ค่อยแสดงออก หรือไม่มีกิจกรรมที่สนุกสนาน ลักษณะอาการทางคลินิก
  • 5. ในระยะอาการกำเริบ อาการสำคัญส่วนใหญ่จะเป็นอาการในกลุ่มอาการด้านบวก ส่วนกลุ่มอาการด้านลบนั้นมักพบในระยะหลังของโรค และไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาเหมือนกลุ่มอาการด้านบวก ลักษณะอาการทางคลินิก
  • 6. การวินิจฉัย DSM - IV(American PsychiatricAssociation,1994) A. มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป นาน 1 เดือน อาการหลงผิด (Delusion) อาการประสาทหลอน (Hallucination) Disorganized speech Disorganized behavior หรือ catatonic behavior Negative Symptoms ได้แก่ flat affect, alogiaหรือ avolition หมายเหตุ แม้มีเพียงอาการเดียวก็ถือว่าเข้าเกณฑ์ หากเป็น bizarre delusion, หรือ Auditory hallucination
  • 7. การวินิจฉัย B. มีความบกพร่องหรือปัญหาในด้าน social/ occupational function มาก เช่น ด้านการงาน สัมพันธภาพต่อผู้อื่น หรือสุขอนามัยของตนเอง C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยต้องมี active phase (ตามข้อ A) อย่างน้อยนาน 1 เดือน และระยะที่เหลืออาจเป็น prodromalหรือ residual phase D. ไม่รวมถึง schizoaffective disorder และ mood disorder ต้องแยกโรค schizoaffective และ mood disorder ที่มีอาการโรคจิต
  • 8. การวินิจฉัย E. ไม่รวมถึงภาวะจากการใช้สารหรือโรคทางกาย อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงด้านสรีร วิทยาจากสาร เช่น สารเสพติด ยา หรือจากภาวะความเจ็บป่วยทางกาย F.ความเกี่ยวเนื่องกับ pervasive developmental disorder หากมีประวัติ autistic disorder หรือ pervasive developmental disorder อื่นๆ จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเภท ต่อเมื่อผู้ป่วยมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนอย่างชัดเจนนานอย่างน้อย 1 เดือน (หรือน้อยกว่านี้หากรักษาได้ผล)
  • 9. DSM-IV โรคจิตเภทแบ่งออกตามลักษณะอาการทางคลินิก 5 กลุ่มย่อย 1 Catatonic type เป็นกลุ่มที่มีความผิดปกติเด่นด้านการเคลื่อนไหวได้แก่ stupor, negativism, rigidity, excitement หรือ posturing 2Disorganized typeลักษณะสำคัญคือ ความคิดกระจัดกระจายไม่เป็นไปในแนวเดียวกัน แสดงออกมาทางคำพูดหรือท่าทาง เช่น incoherence, loosening of association ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการระหว่างอายุ 15-25 ปี การพยากรณ์โรคมักไม่ดี เนื่องจากมีอาการด้านลบเกิดขึ้นเร็ว การจำแนกกลุ่มย่อย
  • 10. 3 Paranoid type ลักษณะสำคัญคือ มีความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด หรือหูแว่ว ทั้งนี้ผู้ป่วยต้องไม่มีอาการของ catatonic หรือ disorganized type เป็นโรคจิตเภทชนิดที่พบบ่อยบุคลิกภาพโดยรวมไม่เสื่อมเท่า 2 ชนิดแรก 4 Undifferentiated type เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภท แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้อย่างชัดเจนว่าเป็นชนิดใดใน 3 ชนิดข้างต้น 5 Residual type ผู้ป่วยเคยป่วยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง ในขณะที่ประเมินไม่พบอาการด้านบวก หรืออาจมีแต่ไม่ใช่อาการเด่น ลักษณะอาการที่มีหลงเหลืออยู่ส่วนใหญ่เป็นอาการด้านลบ เช่น เก็บตัว เฉื่อยชา ไม่สนใจตัวเอง เป็นต้น การจำแนกกลุ่มย่อย
  • 11. อุบัติการณ์ 0.1-0.5 ต่อ 1000 ความชุก 2.5-5.3 ต่อ 1000 หญิงและชายพบได้พอ ๆ กัน ชายเริ่มเป็นอายุน้อยกว่าหญิง Onset พบในช่วง 15-54 ปี ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการช่วงวัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ตอนต้น ชาย 15- 25ปี หญิง 25- 35 ปี ระบาดวิทยา
  • 12. สาเหตุ ก. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ พันธุกรรม จากการศึกษาพบว่าญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากรทั่วไป ยิ่งมีความใกล้ชิดทางสายเลือดมากยิ่งมีโอกาสสูง (ดูตารางที่ 2) ระบบสารชีวเคมีในสมอง คือ สมมุติฐานโดปามีน (dopamine hypothesis) กายวิภาคของสมอง มีผู้ป่วยโรคจิตเภทอยู่จำนวนหนึ่งที่มีความผิดปกติทางด้านกายวิภาคของสมอง เช่น มี ventricle โตกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอาการด้านลบ ประสาทสรีรวิทยา พบว่า cerebral blood flow และ glucose metabolism ลดลงในบริเวณ frontal lobe
  • 13. ข. ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม ในแง่ของครอบครัวนั้น พบว่าสภาพครอบครัวมีผลต่อการกำเริบของโรค โดยในครอบครัวของผู้ป่วยที่อาการกำเริบบ่อย ๆ พบว่ามีการใช้อารมณ์ต่อกัน (expressed-emotion) สูง ได้แก่ การตำหนิวิพากษ์วิจารณ์ (criticism) มีท่าทีไม่เป็นมิตร (hostility) หรือจู้จี้ยุ่งเกี่ยวกับผู้ป่วยมากเกินไป (emotional over involvement) ผู้ป่วยที่เป็นโรคจิตเภทพบมากในสังคมที่มีเศรษฐานะต่ำ ซึ่งอาจเป็นจากการที่ผู้ป่วยมีอาการโรคจิตอยู่เรื่อย ๆ ทำให้การดำรงชีพไม่สามารถคงอยู่ได้ในสถานภาพเดิม (downward drift hypothesis) หรือการที่สภาพสังคมบีบคั้นทำให้คนเป็นโรคจิตเภทมากขึ้น (social causation hypothesis สาเหตุ
  • 14. ความเสียงต่อการเกิดโรคจิตเภทในเครือญาติ . ความสัมพันธ์ ความเสี่ยง (%) ประชากรทั่วไป 1.0 พี่น้องของผู้ป่วย 8.0 ลูกที่พ่อหรือแม่ป่วย 12.0 คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่คนละใบ) 12.0 ลูกที่พ่อและแม่ป่วย 40.0 คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่ใบเดียวกัน) 47.0
  • 16. Organic disease Temporal lobe epilepsy Brain tumor, brain trauma CNS infection Endocrine disorder Autoimmune disorder Psychotic disorder Brief psychotic disorder Delusional disorder Mood disorder Substance induced Alcohol induced psychosis Amphetamine induced psychosis การวินิจฉัยแยกโรค
  • 18.
  • 19. prodromal phase เริ่มมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไป มักมีปัญหาในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ หรือด้านสัมพันธภาพ การเรียนหรือการทำงานเริ่มแย่ลง เก็บตัวอยู่แต่ในห้อง ละเลยเรื่องสุขอนามัยหรือการแต่งกาย อาจหันมาสนใจในด้านปรัชญา ศาสนา หรือจิตวิทยา มีการใช้คำหรือสำนวนแปลก ๆ ระยะเวลาช่วงนี้ไม่ โดยเฉลี่ยนานประมาณ 1 ปีก่อนอาการกำเริบ active phase เป็นระยะที่ผู้ป่วยมีอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัยข้อ A โดยส่วนใหญ่มักเป็นกลุ่มอาการด้านบวก residual phase อาการคล้ายคลึงกับระยะเริ่มมีอาการ อาจพบ flat affect หรือเสื่อมลงมากกว่า อาการโรคจิต เช่น ประสาทหลอนหรือหลงผิด อาจยังมีอยู่ แต่มิได้มีผลต่อผู้ป่วยมากเหมือนในช่วงแรก พบว่าร้อยละ 25 ของผู้ป่วยโรคจิตเภทมีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย การดำเนินโรค
  • 20. การรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล จะรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาลในกรณีต่อไปนี้ 1. มีพฤติกรรมเป็นอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือก่อความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อื่น 2. มีปัญหาอื่น ๆ ที่ต้องดูแลใกล้ชิด เช่น มีอาการข้างเคียงจากยารุนแรง 3. เพื่อควบคุมเรื่องยา ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ยอมรับประทานยา 4. มีปัญหาในการวินิจฉัย การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy) การรักษาด้านจิตสังคม แนวทางการรักษา
  • 22.
  • 23. หลักการใช้ยาantipsychotics กำหนดอาการเป้าหมายที่จะรักษา ยาทุกตัวประสิทธิภาพเท่าเทียมกันต่างกันที่ผลข้างเคียง เลือกยาตามประวัติการตอบสนองต่อยาและผลข้างเคียงที่เกิดกับผู้ป่วย ระยะเวลายาเริ่มออกฤทธิ์ 2 สัปดาห์ ระยะเวลายาออกฤทธิ์เต็มที่ 4-6 สัปดาห์ ปรับขนาดยาให้สูงขึ้นจนกว่า อาการเป้าหมายสงบลง ผู้ป่วยทนอาการข้างเคียงไม่ได้ ใช้ยาขนาดสูงสุดแล้ว ผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกรักษาด้วยยานาน 2 ปี ผู้ป่วยมีอาการกำเริบครั้งที่ 2 ใช้ยานาน 5 ปี ผู้ป่วยมีอาการกำเริบมากกว่า 2 ครั้ง รักษาด้วยยาตลอดชีวิต
  • 24. ยารักษาโรคจิตทั่วไปจะออกฤทธิ์ในการรักษาโดยไปจับกับ D2 receptor (D2 receptor antagonism) ผลการออกฤทธิ์ของยาตาม dopamine pathway Mesolimbic pathway เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านบวก(positive symptoms) Mesocortical pathway เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านลบ (negative symptoms) และอาการด้าน cognitive Nigrostriatal pathway เกี่ยวกับการเกิดการข้างเคียง extrapyramidal (extrapyramidal side effects : EPS) Tuberoinfundibular pathway ยารักษาโรคจิตทำให้ prolactinหลั่งมาก เกิด galactorrheaและ gynecomastia ยารักษาโรคจิต
  • 25. 1. Typical Antipsychotic Drugs 2. Atypical Antipsychotic Drugs Clozapine Risperidone Olanzapino Quetiapine การจำแนกกลุ่มยาจิตเวช
  • 26. ยารักษาโรคจิตกลุ่ม typical antipsychotic drug ออกฤทธิ์แบบ postsynaptic dopamine receptor blocker โดยเฉพาะ dopamine – 2 receptor ที่mesolimbic pathway สำหรับรักษาอาการทางจิตแต่ออกฤทธิ์ที่ dopamine pathway อื่นด้วย ยาในกลุ่มใหม่ (atypical antipsychotic drug ) ออกฤทธิ์ที่ serotonin system มากกว่า dopamine system ใช้ชื่อย่อว่า SDA ได้แก่risperidalolanzapineเป็นต้น กลไกการออกฤทธิ์
  • 27. Typical antipsychotic drugs แบ่งตามขนาดยา เป็น 3 กลุ่ม 1. High potency - Haloperidol (Haldol) - Fluphenazine (Fendec) - Flupentixol (Fluanxol) - Trifluoperazine (Stelazine) - Pimozide (Orap) 2. Moderate potency - Perphenazine (Pernazine) - Zuclopenthixol (Clopixol) 3. Low potency - Chlorpromazine (CPZ) (Largactil) - Thioridazine (Melleril)
  • 28. 28 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) Generic name ขนาดมิลลิกรัมเทียบเท่า Chlorpromazine 100 มก. ขนาดที่ใช้ในการรักษา High potency - haloperidol - trifluoperazine   2-5 5   6-20 6-20 Low potency - chlopromazine - thioridazine   100 100   300-800 300-800 Medium polency - perphenazine   8   8-40 ตารางที่ 1 ยารักษาโรคจิตแบ่งตาม potency และขนาดที่ใช้รักษา  
  • 30. 1. ผลจากการเป็น dopamine blocker ใน pathway อื่น Acute dystonia Akathisia Parkinsonism Tardivedyskinesia Neuroleptic malignant syndrome 2. ผลจากการเป็น alpha-1 adrenergic blocker ลุกขึ้นหน้ามืด ความดันโลหิตลดต่ำ 3. ผลจากการเป็น anticholinergic agent (muscarinic type) น้ำลายน้อย ปากคอแห้ง เกิดฟันผุง่ายขึ้น ตาพร่า เหงื่อไม่ออก 4. ผลข้างเคียงอื่น ๆ ที่มีความสำคัญแต่พบไม่บ่อย Cardiotoxicity Hematological effects Dermatological effects Weight gain ผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต Antipsychotic drugs
  • 32. 32 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) ข้อห้ามใช้ 1.narrow angle glaucoma 2. recent MI 3. conduction abnormality เช่น prolong QT 4. benign prostate hypertrophy
  • 33. 33 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) ข้อบ่งชี้สำหรับการใช้ยารักษาโรคจิต โรคจิต (psychosis) ได้แก่ schizophrenia , brief psychotic disorder พฤติกรรมก้าวร้าวที่พบในโรคปัญญาอ่อนบุคลิกภาพแปรปรวนเป็นต้น โรคทางจิตเวชเด็กเช่นtourette’s disorder autistic disorder เป็นต้น โรคทางจิตเวชที่มีอาการโรคจิตร่วมได้แก่ major depression disorder with psychotic features , substance induced psychosis เป็นต้น
  • 34. 34 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) ผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต 1.extrapyramidal side effects (EPS) เป็นผลมาจากการ block dopamine แบ่งเป็น 1.1 parkinsonism มีอาการเดินตัวแข็งจากที่กล้ามเนื้อเกร็ง (rigidity) มือสั่น (resting tremor) ก้าวเดินสั้นๆหน้าตาเฉยเมยเชื่องช้า (bradykinesia) มักเกิดในช่วงสัปดาห์ที่ 2 ถึง 3 เดือนแรกของการได้ยาเกิดขึ้นประมาณ 15 % วิธีการรักษาanticholinergic drug ได้แก่benztropinemesylateหรือtrihexyphenidyl hydrochloride ขนาด 2-5 มิลลิกรัมวันละ 2 – 4 ครั้งเป็นระยะเวลา 4-8 สัปดาห์แล้วประเมินว่าจำเป็นต้องให้หรือไม่หากไม่จำเป็นควรลดยาจนหมดภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์
  • 35. 35 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 1.2 acute dystoniaมีอาการบิดเกร็งของกล้ามเนื้อเป็นพักๆมักเกิดที่กล้ามเนื้อตา (occulogyric crisis) กล้ามเนื้อคอ (torticollis) กล้ามเนื้อหลัง (opisthotonus) มักเกิดในคนหนุ่มอายุน้อยกว่า 30 อาการมักเกิดภายในสัปดาห์แรกของการได้รับยาเกิดขึ้นประมาณ 10 % วิธีการรักษาให้anticholinergic drug ฉีดได้แก่benztropine 0.5 – 1 มิลลิกรัมเข้าเส้นเลือดหรือ 1-2 มิลลิกรัมเข้ากล้ามเนื้อและให้ยารับประทานต่อประเมินอาการทุก 2 อาทิตย์
  • 36. 36 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 1.3 akathisiaมีอาการย่ำเท้าเดินไปเดินมากระสับกระส่ายผุดลุกผุดนั่งไม่สบายในกล้ามเนื้ออาการมักเกิดภายในสัปดาห์แรกของการได้รับยา วิธีการรักษา 1. ลดขนาดยารักษาโรคจิตลงหรือเปลี่ยนชนิดของยารักษาโรคจิต 2. ให้ยาBadrenergic receptor antagonist, antichoinergic drug benzodiazepines หรือcyproheptadine
  • 37. 37 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 1.4 tardivedyskinesiaเป็นการขยับของกล้ามเนื้อที่ควบคุมไม่ได้บริเวณปากลิ้นใบหน้าแขนขาหรือลำตัว (choreoathetoid movement) มักเกิดหลังจากได้รับยานานเกิน 6 เดือนแล้วมักพบในผู้สูงอายุเพศหญิงอายุมากกกว่า 50 ปีโอกาสเกิด 10 – 20 % ของผู้ที่ได้รับมากกกว่า 1 ปีสาเหตุมาจากdopaminegic receptor supersensitivityใน basal ganglia จากการที่ dopamine receptor ถูก block นาน วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยากลุ่ม serotonin – dopamine antagonist (SDA)
  • 38. 38 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 2. cardiac effect มีผลทำให้ QT และ PR interval ยาวขึ้นได้แก่ chlorpromazine ส่วนthioridazneอาจมีผลกับ t – wave 3. orthostatic (postural hypotension)เป็นผลจาก alpha adrenergic blocker ทำให้เวลาเปลี่ยนท่าแล้วหน้ามืดมักเกิดใน 2-3 วันแรกของการรักษามักเกิดจากยารักษาโรคจิตกลุ่ม low potency 4. peripheral anticholinergic effects มีอาการปากคอแห้งตาพร่ามัวท้องผูกปัสสาวะคั่งมักเกิดกับกลุ่มยารักษาโรคจิต low potency วิธีการรักษา - บ้วนปากบ่อยๆสำหรับปากคอแห้ง - bethanechol (urecholine ) 20-40 มิลลิกรัม/วันสำหรับผู้ป่วยปัสสาวะคั่ง
  • 39. 39 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 5. hematological effects มักเกิดในช่วง 3 เดือนแรกของการรักษาอัตราส่วน 1 : 10,000 ดูจากการที่ผู้ป่วยเจ็บคอมีไข้ถ้าเกิดต้องหยุดยาเพราะอัตราตายสูงถึง 30 % 6. endocrine effects เป็นผลมาจาก bock dopamine receptors ในtuberoinfundibular tract ผลมีการหลั่งprolactinเพิ่มขึ้นทำให้นมโตน้ำนมไหลและ impotence ในผู้ชายส่วนในผู้หญิงเกิดamemorrheaและnibibited orgasm วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยากลุ่ม SDA เช่นquatiepine
  • 40. 40 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 7.weight gain วิธีการรักษาเปลี่ยนเป็นยาที่ไม่เพิ่มน้ำหนักได้แก่ziprazidone 8. dermatological effects เป็นลักษณะผื่นแพ้และผื่นที่ไวต่อแสงมักเกิดกับยาcholorpromazine วิธีการรักษาไม่ควรอยู่กลางแดดนานเกิน 30 - 60 นาทีและควรใช้ครีมกันแดด
  • 41. 41 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 9. opthalmological effects ทำให้เกิดการสะสมของเม็ดสีที่จอประสาทอย่างแก้ไขไม่ได้ (retinitis pigmentosa) มีสาเหตุจากการ รับประทานthioridazineเกิน 800 มิลลิกรัม/วันส่วน chlorpromazine อาจทำให้เลนส์ตาขุ่น 10. jaundice มักเกิดในช่วง 1 เดือนแรก มีลักษณะอาการปวดท้องด้านบน คลื่นไส้อาเจียน ไข้ ผื่นeonsinophilia , bilirubinในปัสสาวะ , bilirubin , alkaline phosphataseและ hepatic transaminasesในเลือดสูงขึ้น
  • 42. 42 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 11. neuroleptic malignant syndrome เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้มีอาการกล้ามเนื้อแข็งแกร็งไข้สูงเหงื่อแตกชีพจรเร็วและความดันโลหิตขึ้นสูงเจาะเลือดพบมีการเพิ่มขึ้นของ WBC creatininephosphokinase , เอ็นไซม์ของตับ , myoglobinและมีmyoglobinในปัสสาวะทำให้ไตวายได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการคงอยู่นาน 10-14 วันมักเกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงและในคนอายุน้อยมากกว่าคนอายุมากอัตราการตาย 20-30 % วิธีการรักษา - หยุดยา dopamine receptor antagonist - ลดไข้ - ดูแล vital signs , เกลือแร่ , น้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย - ยาที่รักษาdantrolene - เริ่มรักษาครั้งใหม่ให้ใช้ยาโรคจิตกลุ่ม low potencyหรือ SDA
  • 43. 43 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) 12. epileptogenic effects กลุ่ม low potency และclozapineทำให้ผู้ป่วยที่เสี่ยงหรือมีโรคลมชักอยู่มีโอกาสชักได้ง่ายขึ้น 13. sedation เป็นผลจากการ block H1 receptors ยาที่ง่วงนอนมากที่สุดคือ chlorpromazine 14. pregnancy และ lactation หลีกเลี่ยงการให้ใน 3 เดือนแรกและช่วงให้นมบุตร
  • 44. 44 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) atypical antipsychotic drug เป็นยารักษาโรคจิตกลุ่มใหม่ที่ออกฤทธิ์ block ทั้งdopaminagicและserotonergic receptor ทำให้มีฤทธิ์ข้างเคียงน้อยลงเมื่อเทียบกับยารุ่นเก่า
  • 45. 45     Typical drug clozapine risporidone olanzapine quetiapine sertindole ziprazidone กระสับกระส่าย agranulocytosis anticholinergic effects เอ็นไซม์ตับSGOT , SGPT  EPS EPS เพิ่มขึ้นตามขนาดยา คลื่นไส้ , ท้องอืด Orthostatic hypotension การเพิ่มขึ้นของระดับprolactin ง่วงนอน มีผลต่อการชัก Tardivedyskinesia น้ำหนักขึ้น + ถึง ++ พบน้อยมาก + ถึง +++ + + ถึง +++ ใช่ + + ถึง +++ + ถึง ++ ++ ถึง +++ + +++ + ถึง ++ 0 +++ +++ + 0 0 0 +++ 0 +++ +++(ขึ้นกับขนาดยา) 0 +++ ++ พบน้อยมาก + 0 + ใช่ + + ++ + 0 + + + พบน้อยมาก ++ + 0 ใช่ + ++ + ++ + ยังไม่แน่ ++ + พบน้อยมาก + + 0 ยังไม่แน่ 0 ++ 0 ++ 0 ยังไม่แน่ + 0 พบน้อยมาก 0 0 0 ไม่มี + + 0 0 0 ยังไม่แน่ ++ 0 พบน้อยมาก + + + ยังไม่แน่ + + + + 0 ยังไม่แน่ 0 รายละเอียดของกลุ่มยารักษาโรคจิต ( antipsychotic drug ) ตารางที่ 2 ฤทธิ์ข้างเคียงของยา atypical antipsychotic drug เทียบกับ typical antipsychotic drug   0 = ไม่มีอะไร+ =เล็กน้อย++ =ปานกลาง+++ =มาก
  • 46. ผู้ป่วยมีความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายสูง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงไม่สามารถควบคุมได้ด้วยวิธีอื่น ผู้ป่วย catatonia ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา ผู้ป่วยไม่สามารถทนผลข้างเคียงของยาได้ การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
  • 47. จิตบำบัดรายบุคคลแบบประคับประคอง การให้คำปรึกษาแก่ครอบครัวและผู้ดูแล ให้ความรู้เรื่องโรค การดำเนินโรค การดูแล ปรับความคาดหวังให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของโรค ตั้งเป้าหมายการรักษาร่วมกัน ลดการใช้อารมณ์และความรุนแรงในครอบครัว ลดการตำหนิ วิภาควิจารณ์ผู้ป่วย ฝึกทักษะทางสังคม และฝึกอาชีพ การดูแลทางด้านจิตสังคม
  • 48. เอกสารอ้างอิง มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมทย์ สุคนิชย์. 2542. โรคจิตเภท. พิมพ์ครั้งที่ 1. เมดอินโฟร์ จีดีกรุงเทพมหานคร. ศิริยุพา นันสุนานนท์. 2543. โรคจิตเภท. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มดั้งเดิมและกลุ่มใหม่. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาสุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย American Psychiatric Association. 1994. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 4thed. American Psychiatric Association, Washington DC : 273-315. NorquistGS and Narrow WE. 2000. Schizophrenia: epidemiology. In : Sadock BJ, Sadock VA, editors. Kaplan & Sadock’ s comprehensive textbook of psychiatry. 7th ed. Vol.I. Williams & Wilkins, Philadelphia : 1110-6. Siris SG. Diagnosis of secondary depression in schizophrenia : Implication for DSM-IV. Schizophr Bull 1991; 17(1):75-98. World Health Organization. The ICD-10 classification of mental and behavioral disorders. Geneva: World Health Organization, 1992: 86-95 Psychotic Disorders and Antipsychotic Therapy: A Consensus Statement, MJA 2004, 181 (10): 544-548, or www.psychiatry.unimelb.edu.au/open/diabetes_consensus/index.html www.nph.go.th/doc/7.pdf www.ra.mahidol.ac.th/mental/topics/int483.pdf www.skphweb.skph.go.th/skphpic/drug_maual.pdf elearning.medicine.swu.ac.th/edu/images/stories/mirco.ppt www.srbr.in.th/Pharmacy/Web_Saraburi/Quality/G.../monitorจิตเวช.doc