SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์คืออะไร??
• โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมองที่ประชากร
ประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4
อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบใน
ชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน
• โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของโรคไบโพลาร์เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้ง
พล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่มีอาการซึมเศร้า (Depressive Episode)
อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุกเดินไป
มา ความคิดแล่นเร็ว พูดเร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอน
หงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทาอันตรายต่อผู้
ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic Episode
ซึ่งจะมีความรุนแรงน้อยกว่า Manic Episode
• อารมณ์ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคไบโพล่าร์สามารถเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายใน
ระยะเวลาสั้นๆ อาการเหล่านี้ทาให้เป็นเรื่องยากที่จะวินิจฉัยโรคเพราะทุกคนต่างก็
มีทั้งวันที่ดีและไม่ดีทั้งนั้น วันนี้เดอะ เคบิน กรุงเทพฯ ได้รวบรวม 8 สัญญาณ
ต่างๆ ที่จะช่วยให้คนตระหนักและหันมาสนใจเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น อีกทั้งเราจะ
บอกความแตกต่างของโรคไบโพล่าร์กับโรคซึมเศร้า
สาเหตุของโรคไบโพล่าร์
หากกล่าวถึงความผิดปกติด้านอารมณ์ บางคนอาจจะเข้าใจไปว่าคงเป็นเพราะ
ความเครียด ความกังวลจนเกิดเหตุ แต่แท้จริงแล้ว ผู้ที่เป็นโรคนี้มีสาเหตุเริ่มต้นมา
จากความผิดปกติทางสมอง โดยภายในมีการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาทของสมอง
• และสารเคมีในสมองที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ปกติมีความแปรปรวน เมื่อพบ
เหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความกดดันทางจิตใจ หรือมีการใช้สารกระตุ้นต่าง ๆ ก็จะ
เป็นการกระตุ้นทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา
อาการของโรคไบโพล่าร์
โรคไบโพลาร์เป็นโรคที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับการแสดงออกทางอารมณ์ จะพบว่าผู้ที่เป็น
โรคนี้มีอาการ 2 แบบ ดังนี้
อาการระยะซึมเศร้า
ระยะของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย จะทาให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกเบื่อหน่าย
อ่อนไหว ซึมเศร้า อยู่ ๆ ก็ร้องไห้ เบื่ออาหาร หลง ๆ ลืม ๆ ขาดความมั่นใจในตนเอง
มองสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในแง่ลบไปหมด
• อาการระยะเมเนีย
สาหรับอาการระยะนี้จะผิดแปลกจากอารมณ์ที่มีความเศร้าปกติ จะอารมณ์ดี มี
ความมั่นใจในตนเอง คิดเร็ว ทาเร็ว คล่องแคล่ว มีมนุษยสัมพันธ์ดี ชอบช่วยเหลือ
ผู้อื่น
• ผู้ป่วยจะมีความขยันขันแข็ง มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นศูนย์กลาง ต้องทาทุกอย่าง
ไปหมด มีความอดทนน้อยในเรื่องใดเรื่องหนึ่งนาน ๆ หากจะทาอะไรก็จะทาทันที
จะแสดงอารมณ์รุนแรงเมื่อมีใครขัดขวาง ทาให้ไม่พอใจ
8 สัญญาของโรคไบโพล่าร์
• 1. มีปัญหาในการทางานให้สาเร็จ
บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยไบโพล่าร ์จะไม่มีปัญหาในการเริ่มต้นทางาน
ของผู้ป่วยเริ่มเปลี่ยนแปลง การทางานให้สาเร็จลุล่วงจะเป็ น
เพราะฉะนั้นงานต่างๆที่ยังค้างคายาวเป็ นหางว่าวคือหนึ่งใน
คุณอาจจะเป็ นโรคไบโพล่าร ์
• แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะมีอาการนี้เพราะมีหลายคนที่สามารถเรียนรู้
วิธีการจัดการตัวเองและพัฒนาให้เป็นคนขยันในขณะที่กาลังเป็นไบโพล่าร์
• 2. มีอาการต่างๆของโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร ้า คืออะไร?? โรคซึมเศร้า เป็ นโรคหนึ่งซึ่งสามารถ
ของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความ
ซึมเศร ้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็ นนั้นจะเป็ นคนอ่อนแอ
ความสามารถ แต่เป็ นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมี
สูญเสีย การหย่าร ้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มี
• สาเหตุของโรคซึมเศร้า
• โรคซึมเศร้าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีที่อยู่
ในสมองที่มีชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) เมื่อ
สารเคมีดังกล่าวมีปริมาณน้อยลงจากเดิมก็ทาให้ผู้ป่วยมี
ร่างกาย จิตใจและทางความคิด ซึ่งโดยรวมจะสังเกตเห็นได้ว่า
ความรู้สึกท้อแท้ เบื่อหน่าย เหงา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่
นอนไม่หลับ มักสะดุ้งตื่นในกลางดึก ฝันร ้ายบ่อย เหล่านี้ยัง
กระทบต่อความสามารถในการทางานที่ลดลง
• สาหรับสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการซึมเศร้านั้นมาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่
ว่าจะเป็นในด้านของกรรมพันธุ์ ด้านพัฒนาการของจิตใจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อม
ที่ต้องเผชิญ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยประสบกับความเครียดที่แสนหนัก เจอมรสุมชีวิต
ที่ไม่ทันได้ตั้งตัว เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังจนทาให้หมดกาลังใจ ตกงาน มีปัญหา
เรื่องการเงินที่หาทางออกไม่ได้ มีปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด
รวมทั้งพบเจอกับความสูญเสียในชีวิตที่ทาให้เสียใจเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น
การสูญเสียพ่อแม่ในขณะที่ยังอยู่ในช่วงของวัยเด็ก สูญเสียคนรัก สูญเสีย
ครอบครัว และยังรวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับ
สารเคมีในสมองบางชนิด ก็สามารถส่งผลทาให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นเดียวกัน
• ชนิดของโรคซึมเศร้า
• โรคซึมเศร ้าแบ่งออกเป็ น 3 ชนิดด้วยกัน ซึ่งแต่ละชนิดมี
ไปดังนี้
• Major depression (โรคซึมเศร้าแบบรุนแรง) โรค
ซึมเศร ้าชนิดนี้จะรบกวนการทางาน การรับประทาน
เรียน รวมทั้งอารมณ์สุนทรีย์ ซึ่งอาการของโรคซึมเศร ้าชนิด
หายไป แต่ทั้งนี้ก็สามารถเกิดได้บ่อยครั้ง
• Dysthymia (โรคซึมเศร้าเรื้อรัง) เป็ นโรคซึมเศร ้าชนิดที่
อยู่ในภาวะที่รุนแรง และสามารถเป็ นแบบเรื้อรัง ทั้งนี้มัน
การสูญเสียความสามารถในการทางานและความรู้สึกที่ดีได้
• Bipolar หรือ Manic-depressive illness (โรค
ซึมเศร้าอารมณ์ตก) เป็ นโรคซึมเศร ้าชนิดที่ผู้ป่วยมีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ซึ่งสาหรับบางคนอาจจะ
รวดเร็ว โดยส่วนมากจะค่อยเป็ นค่อยไป เมื่อซึมเศร ้าก็จะมี
บ้าง แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็ นช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก
ผู้ป่วยมีอาการพูดมากกว่าที่เคยเป็ น มีความกระฉับกระเฉง
พลังงานในร่างกายที่เหลือเฟือ ในช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก
ผลกระทบต่อความคิดและการตัดสินใจของผู้ป่วย รวมทั้ง
อาจจะหลงผิด หากผู้ป่วยในภาวะนี้ไม่ได้รับการรักษาจะทา
จิต
• ความแตกต่างของโรคซึมเศร้า และโรคเครียด
• โรคซึมเศร ้ากับโรคเครียด ดูเหมือนจะมีลักษณะอาการที่
บางครั้งผู้ป่วยไม่สามารถแยกตัวเองออกมาได้ว่า อาการที่
ความเครียด หรือโรคซึมเศร ้ากันแน่ เราสามารถมีวิธีสังเกต
ทั้ง 2 โรคได้ด้วยอาการขั้นพื้นฐานดังนี้
• อาการที่มาจากความเครียด (Stress)
• ความเครียดหรือโรคเครียด โดยทั่วไปจะเป็นเพียงอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้นๆ
เท่านั้น หากเป็นความเครียดธรรมดา สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศทุกวัย
ความเครียดจะไปสั่งผลกระตุ้นทั้งในแง่ดีและแง่ลบ ขึ้นอยู่กับว่าเราสามารถตั้งรับ
กับความเครียดได้มากน้อยแค่ไหน โดยพบว่าอาการทั่วไปของความเครียดคือ
• ไม่สามารถทนต่อความรู้สึกได้
• นอนหลับยาก หรือนอนไม่หลับ
• กระสับกระส่าย กังวล และเหมือนจะประสาทเสีย
• รู้สึกไม่มีแรง หมดแรง
• รู้สึกว่าปัญหาที่เข้ามาในชีวิตยุ่งยากมากเกินจนรับได้
• มีปัญหาเรื่องสมาธิและความจาสั้น
• อาการที่มาจากโรคซึมเศร้า (Depression)
• แตกต่างจากความเครียดอย่างไร? ความแตกต่างของโรคนี้กับความเครียดคือ
โรคนี้กับความเครียดคือ จะเกิดขึ้นใน "ระยะยาว" การปล่อยผ่านโดยรู้สึกว่ามัน
เป็นแค่ความเครียด จะไม่ช่วยทาให้อาการดีขึ้น แต่จะยิ่งแย่ลงเรื่อยๆ ผู้ป่วยจึง
จาเป็นต้องได้รับการรักษา เนื่องจากสารเคมีในสมองผิดปกติ เพราะความเศร้าจะ
ควบคุมความรู้สึกอยู่ตลอดเวลา
• ความเครียดไม่ใช่มาจากโรคซึมเศร้า ไม่ว่าจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ใดก็ตาม ก็
จากเหตุการณ์ใดก็ตาม ก็จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้ ไม่นานก็จะกลับมาเป็น
ปกติ แต่โรคซึมเศร้าแม้จะพยายามดึงใจตัวเองกลับมาอย่างไรก็ไม่สามารถทาให้
รู้สึกดีขึ้น โรคซึมเศร้าจะมีอาการต่อเนื่องตั้งแต่เช้าจนเข้านอน ติดต่อกันมากกว่า 2
สัปดาห์ จึงควรได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
• อาการของโรคซึมเศร้า
• หากคุณกาลังกังวลว่าตัวเองหรือคนรอบข้างกาลัง
หรือไม่ เบื้องต้นสามารถสังเกตได้จากอาการเศร ้า เสียใจ และ
ทาอะไร บางครั้งก็เป็ นไปอย่างไม่ทราบสาเหตุ ถึงแม้มีเรื่อง
ความสุขเลย และนอกจากนี้ ผู้ที่เข้าข่ายเป็ นโรคซึมเศร ้ามัก
ออกมาพร ้อมๆกันภายในระยะเวลา 2 อาทิตย์
• รู้สึกหมดหวัง ไม่รู้ว่าจะทาอะไรต่อไปหรือจะทาไปเพื่ออะไร
• ไม่มีความสุขกับสิ่งของหรือกิจกรรมที่ชอบ เช่น รู้สึกเบื่อ
การร่วมเพศ
• น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นเร็วมากอันเนื่องมาจากการ
เหมือนเดิม
• นอนไม่หลับมาเป็นระยะเวลานาน แต่ในผู้ป่วยบางรายก็นอนนานผิดปกติ
• มีอาการเครียด หงุดหงิดง่ายขึ้น ไม่รู้สึกผ่อนคลาย
• ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถจดจ่อกับสิ่งที่ทาได้เลย บางครั้งก็แสดงอาการหลงๆลืมๆ
และใช้เวลานานในการตัดสินใจ
• มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ช้าลง รวมถึงการพูด เพราะรู้สึกว่าร่างกายอ่อนแรง
• รู้สึกอยากฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย บางครั้งผู้ที่มีอาการนี้ก็ไม่รู้ตัวเอง
• 3. พูดเร็ว
การที่คนส่วนใหญ่พูดเร็วขึ้นเมื่อพวกเขารู้สึกตื่นเต้นถือว่าเป็ น
บางคนพูดเร็วกว่าคนอื่นถึงแม้ว่าสถานการณ์จะปกติ อย่างไรก็
พูดเร็วเป็ นสัญญาณหนึ่งของโรคไบไพล่าร ์โชคดีที่มีหลายวิธีที่
เร็วแบบนี้ถือว่าเป็ นอาการหนึ่งของโรคไบโพล่าร ์หรือไม่
คนที่เป็ นไบโพล่าร ์จะพูดแทรกคนอื่นและไม่สนใจบทสนทนา
เปลี่ยนหัวข้อสนทนาอยู่บ่อยๆ ทาให้เป็ นเรื่องยากสาหรับคน
กาลังพูดถึงอะไรอยู่ เขาจะพูดแบบนี้ก็ต่อเมื่อพวกเขากาลังอยู่
พล่าน (Mania Episode)
• 4. หงุดหงิดง่าย
• ในบางกรณี คนที่เป็ นไบโพล่าร ์อาจจะมีอาการฟุ้ งพล่านและ
กัน เมื่อมีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น พวกเขาจะหงุดหงิดง่าย
เป็ นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่าอาการที่เขากาลังเป็ นตอนนี้เกิด
ไบโพล่าร ์หรือแค่อาการหงุดหงิดเท่านั้น แต่ผู้ป่วยโรค
หงุดหงิดเริ่มส่งผลเสียต่อการใช ้ชีวิตประจาวันโดยเฉพาะใน
ต่างๆกับคนรอบข้าง นอกเหนือจากนั้นพวกเขาอาจจะ
เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมตัวเองแต่รู้สึกว่าไม่สามารถ
• 5. ใช้ยาเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
• ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์ส่วนมากจะเริ่มต้นใช ้ยาเสพติด กินเหล้า
ร่วมกันเพื่อช่วยคลายอาการซึมเศร ้าระหว่างที่อยู่ในช่วง
Episode) แต่พอใช้วิธีการแบบนี้บ่อยๆเพื่อบาบัดความ
ภาวะการติดสารเสพติด ยิ่งไปกว่านั้นยาเสพติดและเครื่องดื่ม
อุปสรรคในการรักษาเพราะจะทาให้ประสิทธิภาพในการออก
ให้ผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงที่ไม่ต้องการ และลดคุณภาพชีวิต
อีกด้วย
• 6. อารมณ์ดีมากเกินไป (ไฮเปอร ์)
• อาจฟังดูแปลกแต่การแสดงออกทางอารมณ์ที่ดีมากเกินไป
โรคไบโพล่าร ์ได้เช่นกัน แน่นอนว่าอาการนี้จะเกิดขึ้นสลับกับ
(Depressive States) อาการสุดโต่งแบบนี้เรียกว่า Manic
ไบโพล่าร ์หลายคนก็ไม่ได้มีอารมณ์สุดโต่งแบบนี้ ผู้ป่วย
ค่อนข้างดี (Hypomanic Episode) คล้ายๆกับคนปกติและ
ชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ส่วนมากผู้ที่เป็ นโรค
ภาวะทั้ง 2 แบบสลับกันไปคือ บางครั้งจะเป็ น Manic
เป็ น Hypomanic Episode
• 7. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
• เป็ นเรื่องปกติที่โรคไบโพล่าร ์จะมีผลข้างเคียงต่อการนอนของ
ประสบการณ์ของภาวะฟุ้ งผล่าน (Manic Episode) จะมี
พักผ่อนให้เพียงพอแต่จะไม่เคยรู้สึกเหนื่อยล้า ในทาง
ซึมเศร ้าจะนอนหลับมากขึ้นแต่ยังรู้สึกเหน็ดเหนื่อยอยู่ดี
มากเกินไปหรือนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเป็ นสิ่งที่ไม่
ยังสามารถทาให้อาการของโรคไบโพล่าร ์แย่ลง ดังนั้นการ
เพียงพอต่อความต้องการของร่ายกายในแต่ละวันจึงเป็ นสิ่งที่
ที่เป็ นโรคไบโพล่าร ์
• 8. มีพฤติกรรมที่สม่าเสมอ – ไม่คิดหน้าคิดหลัง
• เวลาที่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์อยู่ในช่วงฟุ้ งพล่าน (Manic Episode)
ในตัวเองสูงมากจึงทาให้มักจะแสดงกิริยาโอ้อวด ซึ่งจะเป็ นสาเหตุ
โดยที่ไม่คานึงถึงผลกระทบต่างๆที่จะตามมาในภายหลัง ทาให้
เขาไม่มีทางทาหากอยู่ในภาวะปกติ บ่อยครั้งที่โรคไบโพล่าร ์เป็น
พฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงหรือใช ้เงินฟุ้ มเฟือยอย่างน่ากลัว และ
รูปแบบของพฤติกรรมอื่นๆร่วมด้วยเช่นกัน
• ลักษณะพฤติกรรมและอาการต่างๆที่ได้ระบุไว้ข้างต้นคือสิ่งที่
ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์แต่อาการต่างๆเหล่านี้ก็อาจเป็นสัญญาณของ
โรคไบโพล่าร ์สามารถรักษาได้หากได้รับการรักษาที่ตรงจุดและถูก
จะทาให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตตามปกติได้อย่างมีความสุข
วิธีการรักษาโรคไบโพลาร ์
• สาหรับการรักษาโรคความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น โรค
ไบโพลาร ์นี้ แพทย์จะมีการใช ้ยาเป็ นวิธีหนึ่งในการรักษา โดย
จะมีการจ่ายยาไปพร ้อม ๆ กับการให้ความช่วยเหลือทางด้าน
จิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและจัดการกับปัญหาต่าง
ๆ ได้มากขึ้น
โดยหากผู้ป่วยอยู่ในระยะซึมเศร ้าแพทย์จะรักษาอาการโดยให้
ยาแก้ซึมเศร ้าและยาป้องกันอาการเมเนีย และหากผู้ป่วยมี
อาการเมเนีย แพทย์จะให้ยาที่ช่วยควบคุมรักษาอาการทางจิต
เช่น ยาลิเทียม คาร ์บามาซีปีน วาลโปรเอท ผู้ป่วยได้รับยา
ต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่งราว 1-2 ปี หากน้อยกว่านี้อาจจะทา
• อย่างไรก็ตามในการตรวจพบว่าเป็นโรคไบโพลาร์ ผู้ใกล้ชิดควรสังเกตอาการใน
ระยะเบื้องต้น เพราะโรคนี้ผู้ป่วยเองจะไม่รู้ตัวว่ากาลังเป็นโรคไบโพลาร์อยู่ ผู้
ใกล้ชิดจะทราบจากการสังเกตว่าลักษณะการแสดงออกทางอารมณ์ที่
เปลี่ยนแปลงไป เป็นซึมเศร้าสลับกับอาการเมเนียไม่ใช่ตัวตนของผู้ป่วย ซึ่งมี
โอกาสพบได้ทั้งจากเพศหญิงและเพศชาย โดยพบได้ในช่วงอาการครั้งแรกอายุ
ระหว่าง 15-24 ปี และอาจพบกับผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 50-60 ปี
• และถ้าหากใครที่ทราบว่าตนเองหรือคนใกล้ชิดกาลังเป็นโรคไบโพลาร์ สิ่งสาคัญ
ของการรักษาตัวคือ การปฏิบัติตนในการรักษาวินัยในการรับประทานยาอย่าง
สม่าเสมอ และควรระมัดระวังในการดาเนินชีวิตประจาวันทางด้านอารมณ์ และใส่
ใจนอนหลับให้เพียงพอ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพราะอาจจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการ
หลอนเพิ่มเติม ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ของผู้ป่วย
แหล่งข้อมูล
• https://www.honestdocs.co/understanding-
bipolar
• https://th.thecabinbangkok.co.th/
• https://www.honestdocs.co/most-common-
psychiatric-disorders

More Related Content

What's hot

การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...maxx061
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทCotton On
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)zweetiiz
 

What's hot (20)

การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
 
Moyamoya Disease
Moyamoya DiseaseMoyamoya Disease
Moyamoya Disease
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
 

Similar to โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตgeekan
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกphurinwisachai
 
Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Thanatchaya21
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
Psychiatric emergency (Thai Version)
Psychiatric emergency (Thai Version)Psychiatric emergency (Thai Version)
Psychiatric emergency (Thai Version)Patinya Yutchawit
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14ssuser0f2424
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substancetaveena
 

Similar to โรคไบโพล่าร์ (Bipolar) (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
 
Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36
 
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
Psychiatric emergency (Thai Version)
Psychiatric emergency (Thai Version)Psychiatric emergency (Thai Version)
Psychiatric emergency (Thai Version)
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ปานรภา
ปานรภาปานรภา
ปานรภา
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 

โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)

  • 2. โรคไบโพล่าร์คืออะไร?? • โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมองที่ประชากร ประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบใน ชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน
  • 3. • โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของโรคไบโพลาร์เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้ง พล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่มีอาการซึมเศร้า (Depressive Episode) อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุกเดินไป มา ความคิดแล่นเร็ว พูดเร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอน หงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทาอันตรายต่อผู้ ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic Episode ซึ่งจะมีความรุนแรงน้อยกว่า Manic Episode
  • 4. • อารมณ์ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคไบโพล่าร์สามารถเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายใน ระยะเวลาสั้นๆ อาการเหล่านี้ทาให้เป็นเรื่องยากที่จะวินิจฉัยโรคเพราะทุกคนต่างก็ มีทั้งวันที่ดีและไม่ดีทั้งนั้น วันนี้เดอะ เคบิน กรุงเทพฯ ได้รวบรวม 8 สัญญาณ ต่างๆ ที่จะช่วยให้คนตระหนักและหันมาสนใจเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น อีกทั้งเราจะ บอกความแตกต่างของโรคไบโพล่าร์กับโรคซึมเศร้า
  • 5. สาเหตุของโรคไบโพล่าร์ หากกล่าวถึงความผิดปกติด้านอารมณ์ บางคนอาจจะเข้าใจไปว่าคงเป็นเพราะ ความเครียด ความกังวลจนเกิดเหตุ แต่แท้จริงแล้ว ผู้ที่เป็นโรคนี้มีสาเหตุเริ่มต้นมา จากความผิดปกติทางสมอง โดยภายในมีการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาทของสมอง
  • 6. • และสารเคมีในสมองที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ปกติมีความแปรปรวน เมื่อพบ เหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความกดดันทางจิตใจ หรือมีการใช้สารกระตุ้นต่าง ๆ ก็จะ เป็นการกระตุ้นทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา
  • 7. อาการของโรคไบโพล่าร์ โรคไบโพลาร์เป็นโรคที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับการแสดงออกทางอารมณ์ จะพบว่าผู้ที่เป็น โรคนี้มีอาการ 2 แบบ ดังนี้ อาการระยะซึมเศร้า ระยะของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย จะทาให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกเบื่อหน่าย อ่อนไหว ซึมเศร้า อยู่ ๆ ก็ร้องไห้ เบื่ออาหาร หลง ๆ ลืม ๆ ขาดความมั่นใจในตนเอง มองสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในแง่ลบไปหมด
  • 8. • อาการระยะเมเนีย สาหรับอาการระยะนี้จะผิดแปลกจากอารมณ์ที่มีความเศร้าปกติ จะอารมณ์ดี มี ความมั่นใจในตนเอง คิดเร็ว ทาเร็ว คล่องแคล่ว มีมนุษยสัมพันธ์ดี ชอบช่วยเหลือ ผู้อื่น
  • 9. • ผู้ป่วยจะมีความขยันขันแข็ง มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นศูนย์กลาง ต้องทาทุกอย่าง ไปหมด มีความอดทนน้อยในเรื่องใดเรื่องหนึ่งนาน ๆ หากจะทาอะไรก็จะทาทันที จะแสดงอารมณ์รุนแรงเมื่อมีใครขัดขวาง ทาให้ไม่พอใจ
  • 11. • 1. มีปัญหาในการทางานให้สาเร็จ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยไบโพล่าร ์จะไม่มีปัญหาในการเริ่มต้นทางาน ของผู้ป่วยเริ่มเปลี่ยนแปลง การทางานให้สาเร็จลุล่วงจะเป็ น เพราะฉะนั้นงานต่างๆที่ยังค้างคายาวเป็ นหางว่าวคือหนึ่งใน คุณอาจจะเป็ นโรคไบโพล่าร ์
  • 13. • 2. มีอาการต่างๆของโรคซึมเศร้า โรคซึมเศร ้า คืออะไร?? โรคซึมเศร้า เป็ นโรคหนึ่งซึ่งสามารถ ของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความ ซึมเศร ้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็ นนั้นจะเป็ นคนอ่อนแอ ความสามารถ แต่เป็ นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมี สูญเสีย การหย่าร ้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มี
  • 14. • สาเหตุของโรคซึมเศร้า • โรคซึมเศร้าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีที่อยู่ ในสมองที่มีชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) เมื่อ สารเคมีดังกล่าวมีปริมาณน้อยลงจากเดิมก็ทาให้ผู้ป่วยมี ร่างกาย จิตใจและทางความคิด ซึ่งโดยรวมจะสังเกตเห็นได้ว่า ความรู้สึกท้อแท้ เบื่อหน่าย เหงา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่ นอนไม่หลับ มักสะดุ้งตื่นในกลางดึก ฝันร ้ายบ่อย เหล่านี้ยัง กระทบต่อความสามารถในการทางานที่ลดลง
  • 15. • สาหรับสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการซึมเศร้านั้นมาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ ว่าจะเป็นในด้านของกรรมพันธุ์ ด้านพัฒนาการของจิตใจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อม ที่ต้องเผชิญ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยประสบกับความเครียดที่แสนหนัก เจอมรสุมชีวิต ที่ไม่ทันได้ตั้งตัว เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังจนทาให้หมดกาลังใจ ตกงาน มีปัญหา เรื่องการเงินที่หาทางออกไม่ได้ มีปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด รวมทั้งพบเจอกับความสูญเสียในชีวิตที่ทาให้เสียใจเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น การสูญเสียพ่อแม่ในขณะที่ยังอยู่ในช่วงของวัยเด็ก สูญเสียคนรัก สูญเสีย ครอบครัว และยังรวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับ สารเคมีในสมองบางชนิด ก็สามารถส่งผลทาให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นเดียวกัน
  • 16. • ชนิดของโรคซึมเศร้า • โรคซึมเศร ้าแบ่งออกเป็ น 3 ชนิดด้วยกัน ซึ่งแต่ละชนิดมี ไปดังนี้ • Major depression (โรคซึมเศร้าแบบรุนแรง) โรค ซึมเศร ้าชนิดนี้จะรบกวนการทางาน การรับประทาน เรียน รวมทั้งอารมณ์สุนทรีย์ ซึ่งอาการของโรคซึมเศร ้าชนิด หายไป แต่ทั้งนี้ก็สามารถเกิดได้บ่อยครั้ง • Dysthymia (โรคซึมเศร้าเรื้อรัง) เป็ นโรคซึมเศร ้าชนิดที่ อยู่ในภาวะที่รุนแรง และสามารถเป็ นแบบเรื้อรัง ทั้งนี้มัน การสูญเสียความสามารถในการทางานและความรู้สึกที่ดีได้
  • 17. • Bipolar หรือ Manic-depressive illness (โรค ซึมเศร้าอารมณ์ตก) เป็ นโรคซึมเศร ้าชนิดที่ผู้ป่วยมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ซึ่งสาหรับบางคนอาจจะ รวดเร็ว โดยส่วนมากจะค่อยเป็ นค่อยไป เมื่อซึมเศร ้าก็จะมี บ้าง แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็ นช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก ผู้ป่วยมีอาการพูดมากกว่าที่เคยเป็ น มีความกระฉับกระเฉง พลังงานในร่างกายที่เหลือเฟือ ในช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก ผลกระทบต่อความคิดและการตัดสินใจของผู้ป่วย รวมทั้ง อาจจะหลงผิด หากผู้ป่วยในภาวะนี้ไม่ได้รับการรักษาจะทา จิต
  • 18. • ความแตกต่างของโรคซึมเศร้า และโรคเครียด • โรคซึมเศร ้ากับโรคเครียด ดูเหมือนจะมีลักษณะอาการที่ บางครั้งผู้ป่วยไม่สามารถแยกตัวเองออกมาได้ว่า อาการที่ ความเครียด หรือโรคซึมเศร ้ากันแน่ เราสามารถมีวิธีสังเกต ทั้ง 2 โรคได้ด้วยอาการขั้นพื้นฐานดังนี้
  • 19. • อาการที่มาจากความเครียด (Stress) • ความเครียดหรือโรคเครียด โดยทั่วไปจะเป็นเพียงอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้นๆ เท่านั้น หากเป็นความเครียดธรรมดา สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศทุกวัย ความเครียดจะไปสั่งผลกระตุ้นทั้งในแง่ดีและแง่ลบ ขึ้นอยู่กับว่าเราสามารถตั้งรับ กับความเครียดได้มากน้อยแค่ไหน โดยพบว่าอาการทั่วไปของความเครียดคือ • ไม่สามารถทนต่อความรู้สึกได้ • นอนหลับยาก หรือนอนไม่หลับ • กระสับกระส่าย กังวล และเหมือนจะประสาทเสีย • รู้สึกไม่มีแรง หมดแรง • รู้สึกว่าปัญหาที่เข้ามาในชีวิตยุ่งยากมากเกินจนรับได้ • มีปัญหาเรื่องสมาธิและความจาสั้น
  • 20. • อาการที่มาจากโรคซึมเศร้า (Depression) • แตกต่างจากความเครียดอย่างไร? ความแตกต่างของโรคนี้กับความเครียดคือ โรคนี้กับความเครียดคือ จะเกิดขึ้นใน "ระยะยาว" การปล่อยผ่านโดยรู้สึกว่ามัน เป็นแค่ความเครียด จะไม่ช่วยทาให้อาการดีขึ้น แต่จะยิ่งแย่ลงเรื่อยๆ ผู้ป่วยจึง จาเป็นต้องได้รับการรักษา เนื่องจากสารเคมีในสมองผิดปกติ เพราะความเศร้าจะ ควบคุมความรู้สึกอยู่ตลอดเวลา • ความเครียดไม่ใช่มาจากโรคซึมเศร้า ไม่ว่าจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ใดก็ตาม ก็ จากเหตุการณ์ใดก็ตาม ก็จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้ ไม่นานก็จะกลับมาเป็น ปกติ แต่โรคซึมเศร้าแม้จะพยายามดึงใจตัวเองกลับมาอย่างไรก็ไม่สามารถทาให้ รู้สึกดีขึ้น โรคซึมเศร้าจะมีอาการต่อเนื่องตั้งแต่เช้าจนเข้านอน ติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ จึงควรได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
  • 21. • อาการของโรคซึมเศร้า • หากคุณกาลังกังวลว่าตัวเองหรือคนรอบข้างกาลัง หรือไม่ เบื้องต้นสามารถสังเกตได้จากอาการเศร ้า เสียใจ และ ทาอะไร บางครั้งก็เป็ นไปอย่างไม่ทราบสาเหตุ ถึงแม้มีเรื่อง ความสุขเลย และนอกจากนี้ ผู้ที่เข้าข่ายเป็ นโรคซึมเศร ้ามัก ออกมาพร ้อมๆกันภายในระยะเวลา 2 อาทิตย์ • รู้สึกหมดหวัง ไม่รู้ว่าจะทาอะไรต่อไปหรือจะทาไปเพื่ออะไร • ไม่มีความสุขกับสิ่งของหรือกิจกรรมที่ชอบ เช่น รู้สึกเบื่อ การร่วมเพศ • น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นเร็วมากอันเนื่องมาจากการ เหมือนเดิม
  • 22. • นอนไม่หลับมาเป็นระยะเวลานาน แต่ในผู้ป่วยบางรายก็นอนนานผิดปกติ • มีอาการเครียด หงุดหงิดง่ายขึ้น ไม่รู้สึกผ่อนคลาย • ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถจดจ่อกับสิ่งที่ทาได้เลย บางครั้งก็แสดงอาการหลงๆลืมๆ และใช้เวลานานในการตัดสินใจ • มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ช้าลง รวมถึงการพูด เพราะรู้สึกว่าร่างกายอ่อนแรง • รู้สึกอยากฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย บางครั้งผู้ที่มีอาการนี้ก็ไม่รู้ตัวเอง
  • 23. • 3. พูดเร็ว การที่คนส่วนใหญ่พูดเร็วขึ้นเมื่อพวกเขารู้สึกตื่นเต้นถือว่าเป็ น บางคนพูดเร็วกว่าคนอื่นถึงแม้ว่าสถานการณ์จะปกติ อย่างไรก็ พูดเร็วเป็ นสัญญาณหนึ่งของโรคไบไพล่าร ์โชคดีที่มีหลายวิธีที่ เร็วแบบนี้ถือว่าเป็ นอาการหนึ่งของโรคไบโพล่าร ์หรือไม่ คนที่เป็ นไบโพล่าร ์จะพูดแทรกคนอื่นและไม่สนใจบทสนทนา เปลี่ยนหัวข้อสนทนาอยู่บ่อยๆ ทาให้เป็ นเรื่องยากสาหรับคน กาลังพูดถึงอะไรอยู่ เขาจะพูดแบบนี้ก็ต่อเมื่อพวกเขากาลังอยู่ พล่าน (Mania Episode)
  • 24. • 4. หงุดหงิดง่าย • ในบางกรณี คนที่เป็ นไบโพล่าร ์อาจจะมีอาการฟุ้ งพล่านและ กัน เมื่อมีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น พวกเขาจะหงุดหงิดง่าย เป็ นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่าอาการที่เขากาลังเป็ นตอนนี้เกิด ไบโพล่าร ์หรือแค่อาการหงุดหงิดเท่านั้น แต่ผู้ป่วยโรค หงุดหงิดเริ่มส่งผลเสียต่อการใช ้ชีวิตประจาวันโดยเฉพาะใน ต่างๆกับคนรอบข้าง นอกเหนือจากนั้นพวกเขาอาจจะ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมตัวเองแต่รู้สึกว่าไม่สามารถ
  • 25. • 5. ใช้ยาเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ • ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์ส่วนมากจะเริ่มต้นใช ้ยาเสพติด กินเหล้า ร่วมกันเพื่อช่วยคลายอาการซึมเศร ้าระหว่างที่อยู่ในช่วง Episode) แต่พอใช้วิธีการแบบนี้บ่อยๆเพื่อบาบัดความ ภาวะการติดสารเสพติด ยิ่งไปกว่านั้นยาเสพติดและเครื่องดื่ม อุปสรรคในการรักษาเพราะจะทาให้ประสิทธิภาพในการออก ให้ผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงที่ไม่ต้องการ และลดคุณภาพชีวิต อีกด้วย
  • 26. • 6. อารมณ์ดีมากเกินไป (ไฮเปอร ์) • อาจฟังดูแปลกแต่การแสดงออกทางอารมณ์ที่ดีมากเกินไป โรคไบโพล่าร ์ได้เช่นกัน แน่นอนว่าอาการนี้จะเกิดขึ้นสลับกับ (Depressive States) อาการสุดโต่งแบบนี้เรียกว่า Manic ไบโพล่าร ์หลายคนก็ไม่ได้มีอารมณ์สุดโต่งแบบนี้ ผู้ป่วย ค่อนข้างดี (Hypomanic Episode) คล้ายๆกับคนปกติและ ชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ส่วนมากผู้ที่เป็ นโรค ภาวะทั้ง 2 แบบสลับกันไปคือ บางครั้งจะเป็ น Manic เป็ น Hypomanic Episode
  • 27. • 7. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ • เป็ นเรื่องปกติที่โรคไบโพล่าร ์จะมีผลข้างเคียงต่อการนอนของ ประสบการณ์ของภาวะฟุ้ งผล่าน (Manic Episode) จะมี พักผ่อนให้เพียงพอแต่จะไม่เคยรู้สึกเหนื่อยล้า ในทาง ซึมเศร ้าจะนอนหลับมากขึ้นแต่ยังรู้สึกเหน็ดเหนื่อยอยู่ดี มากเกินไปหรือนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเป็ นสิ่งที่ไม่ ยังสามารถทาให้อาการของโรคไบโพล่าร ์แย่ลง ดังนั้นการ เพียงพอต่อความต้องการของร่ายกายในแต่ละวันจึงเป็ นสิ่งที่ ที่เป็ นโรคไบโพล่าร ์
  • 28. • 8. มีพฤติกรรมที่สม่าเสมอ – ไม่คิดหน้าคิดหลัง • เวลาที่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์อยู่ในช่วงฟุ้ งพล่าน (Manic Episode) ในตัวเองสูงมากจึงทาให้มักจะแสดงกิริยาโอ้อวด ซึ่งจะเป็ นสาเหตุ โดยที่ไม่คานึงถึงผลกระทบต่างๆที่จะตามมาในภายหลัง ทาให้ เขาไม่มีทางทาหากอยู่ในภาวะปกติ บ่อยครั้งที่โรคไบโพล่าร ์เป็น พฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงหรือใช ้เงินฟุ้ มเฟือยอย่างน่ากลัว และ รูปแบบของพฤติกรรมอื่นๆร่วมด้วยเช่นกัน • ลักษณะพฤติกรรมและอาการต่างๆที่ได้ระบุไว้ข้างต้นคือสิ่งที่ ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร ์แต่อาการต่างๆเหล่านี้ก็อาจเป็นสัญญาณของ โรคไบโพล่าร ์สามารถรักษาได้หากได้รับการรักษาที่ตรงจุดและถูก จะทาให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตตามปกติได้อย่างมีความสุข
  • 29. วิธีการรักษาโรคไบโพลาร ์ • สาหรับการรักษาโรคความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น โรค ไบโพลาร ์นี้ แพทย์จะมีการใช ้ยาเป็ นวิธีหนึ่งในการรักษา โดย จะมีการจ่ายยาไปพร ้อม ๆ กับการให้ความช่วยเหลือทางด้าน จิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยหากผู้ป่วยอยู่ในระยะซึมเศร ้าแพทย์จะรักษาอาการโดยให้ ยาแก้ซึมเศร ้าและยาป้องกันอาการเมเนีย และหากผู้ป่วยมี อาการเมเนีย แพทย์จะให้ยาที่ช่วยควบคุมรักษาอาการทางจิต เช่น ยาลิเทียม คาร ์บามาซีปีน วาลโปรเอท ผู้ป่วยได้รับยา ต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่งราว 1-2 ปี หากน้อยกว่านี้อาจจะทา
  • 30. • อย่างไรก็ตามในการตรวจพบว่าเป็นโรคไบโพลาร์ ผู้ใกล้ชิดควรสังเกตอาการใน ระยะเบื้องต้น เพราะโรคนี้ผู้ป่วยเองจะไม่รู้ตัวว่ากาลังเป็นโรคไบโพลาร์อยู่ ผู้ ใกล้ชิดจะทราบจากการสังเกตว่าลักษณะการแสดงออกทางอารมณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป เป็นซึมเศร้าสลับกับอาการเมเนียไม่ใช่ตัวตนของผู้ป่วย ซึ่งมี โอกาสพบได้ทั้งจากเพศหญิงและเพศชาย โดยพบได้ในช่วงอาการครั้งแรกอายุ ระหว่าง 15-24 ปี และอาจพบกับผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 50-60 ปี
  • 31. • และถ้าหากใครที่ทราบว่าตนเองหรือคนใกล้ชิดกาลังเป็นโรคไบโพลาร์ สิ่งสาคัญ ของการรักษาตัวคือ การปฏิบัติตนในการรักษาวินัยในการรับประทานยาอย่าง สม่าเสมอ และควรระมัดระวังในการดาเนินชีวิตประจาวันทางด้านอารมณ์ และใส่ ใจนอนหลับให้เพียงพอ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพราะอาจจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการ หลอนเพิ่มเติม ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ของผู้ป่วย