SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
1
Fatal Drug Interactions
2
นิยาม
Fatal Drug Interactions
3
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal drug interactions)
จะมีลักษณะดังนี้
Significance rating: สรุปการประเมินความรุนแรงของอันตรกิริยาที่เกิดขึ้นและหลักฐานยืนยันประกอบ
ว่าเกิด drug interaction ขึ้นจริง
ระดับนัยสาคัญ: 1
Onset : ระยะเวลาที่เริ่มปรากฏผลทางคลินิก
Rapid: ปฏิกิริยาเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง
Severity: การประเมินความรุนแรงของอันตรกิริยาที่เกิดขึ้น
Major: life-threatening or permanent damage
Documentation: หลักฐานยืนยันประกอบว่าเกิด drug interaction ขึ้นจริง
Established: proven to occur well-controlled studies
Probable: very likely, but not proven clinically
Suspected: may occur, some good data, needs more study
4
Fatal Drug Interactions
ในโรงพยาบาลสงขลา
5
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal drug interaction) โรงพยาบาลสงขลา
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ
1) Aminoglycoside (Amikacin,
Gentamicin, Streptomycin) –
Loop diuretics (Furosemide,
Torsemide)
ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดการ
เสริมฤทธิ์การเป็นพิษต่อหู
โดย Aminoglycosides
รบกวน cell membrane ของ
หูชั้นในทาให้ Loop
diuretics ซึมผ่านเข้า cell ได้
มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้น
เกิดการทาลายที่รุนแรง
เพิ่ม auditory toxicity,
เกิด hearing loss,
irreversible hearing
1. ตรวจการได้ยินของผู้ป่วย
2. ขนาดยามีความสัมพันธ์กับการเกิด ADR
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาขนาดที่สูงมากเกินไป
3. ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไตอาจต้องลดขนาดยา
ตัวหนึ่งหรือ 2 ตัว
2)Amiodarone - Fentanyl ไม่ทราบ เกิด bradycardia ทาให้
cardiac output ลดลง,
เกิด sinus arrest ,
hypotension
1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกัน
2. monitor hemodynamic function (BP,HR)
และให้ inotropic, chronotropic และ pressure
support (หากเกิด bradycardia ให้ใช้
vasopressors ขนาดสูง ได้แก่ Epinephrine,
phenylephrine ไม่ใช้ atropine เพราะไม่
ตอบสนอง)
3)Carbamazepine –
Macrolides (Clarithromycin,
Erythromycin)
Macrolide ไปยับยั้งการแปร
รูปที่ตับของ Cabamazepine
จึงถูกกาจัดออกลดลง ทาให้
มีระดับยา Cabamazepine ใน
กระแสเลือดเพิ่มขึ้น
เกิดความเป็นพิษจากยา
Carbamazepine
1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน
2. ควบคุมระดับความเข้มข้นของยา
Carbamazepine ในเลือดและสังเกตอาการเป็น
พิษ (ataxia, nystagmus, diplopia, vomiting,
apnea,seizures,coma)
3. หยุดยาตัวใดตัวหนึ่งหรือลดขนาดยาของ
Carbamazepine หรือเปลี่ยนใช้ Macrolide ตัว
อื่น (เช่น Azithromycin) หรือ ATB ตัวอื่นที่
ไม่เกิดปฏิกิริยากับ Carbamazepine
4) Erkot alkaloids (Ergotamine)
- Macrolides (Clarithromycin,
Erythromycin)
Macrolide ไปรบกวนการ
แปรรูปที่ตับของ
Ergotamine ทาให้มีระดับยา
Ergotamine ในกระแสเลือด
สูงขึ้น
อาจเกิด acute
ergotism (N/V,
vasospastic, peripheral
ischemia)
1. ติดตามและแนะนาผู้ป่วยให้สังเกตอาการ
แสดงของ ergotism
2. ลดขนาดยา ergotamine หรือหยุดใช้ยาตัว
ใดตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว
3. หากเกิดภาวะ Macrolide-Ergot-induced
vasospasm แก้ไขโดย Sodium nitroprusside
6
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ
5) doPAmine - Phenytoin inj. ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก
doPAmine ทาให้มี
catecholamines ลดลง และ
Phenytoin กดการทางาน
ของกล้ามเนื้อหัวใจ
hypotension และอาจ
เกิด cardiac arrest ได้
1. ควรระมัดระวังอย่างมากที่สุดเมื่อให้
Phenytoin ในผู้ป่วยที่กาลังได้รับ doPAmine
iv drip
2. วัด BP ถ้าเกิด hypotension ต้องหยุดให้ยา
Phenytoin
6) Risperidone – Serotonin
Reuptake Inhibitors
(Fluoxetine, Sertraline)
Fluoxetine ไปยับยั้งการแปร
รูปที่ตับของ Risperidone
ส่งผลให้มีระดับยา
Risperidone ในกระแสเลือด
เพิ่มขึ้น serotonin จึงสะสม
ใน CNS อย่างรวดเร็ว
เพิ่มความเสี่ยงการเกิด
ภาวะ Serotonin
syndrome (CNS
irritability, เพิ่ม muscle
tone, myoclonus,
altered consciousness)
ให้สังเกตอาการแสดงทางคลินิกของผู้ป่วย
จากยา Risperidone เมื่อเริ่มให้ยา หยุดยา หรือ
เปลี่ยนขนาดยา Fluoxetine หรือ ให้ยา
Sertaline ในขนาดสูง (>100 mg/day) ถ้า
จาเป็นอาจปรับขนาดยา Risperidone
7) Nondepol.muscle relaxants
(Pancuronium, Rocuronium,
Vecuronium) - Aminoglycoside
(Amikacin, Gentamicin,
Neomycin, Streptomycin)
เกิดการเสริมฤทธิ์ เนื่องจาก
Aminoglycoside มีฤทธิ์
neuromuscular blocking
เช่นกัน
เกิด non depolarizing
muscle relaxation
สูงขึ้นทาให้เกิด
respiratiory depression
มากขึ้น
ใช้ยาร่วมกันเมื่อจาเป็นเท่านั้น ปรับขนาด
ของยาคลายกล้ามเนื้อ โดยดูจากอาการทาง
neuromuscular ไม่ควรใช้ Calcium salt และ
Anticholinesterase เป็น antidote ควรมี
เครื่องช่วยหายใจเตรียมไว้ให้พร้อม
8) Alteplase- Warfarin เกิดการเสริมฤทธิ์ เพิ่มฤทธิ์ภาวะ
เลือดออกที่รุนแรง
ห้ามใช้ร่วมกัน
9) Metformin- Iodinated
contrast material patenteral
(Diatrizoate Meglumine
(Angiografin), Maglumine + Na
Ioxithalamate (Telebrix)
,Iohexol (Omnipaque), Iodixanol
(Visipaque))
Iodinated contrast material
กระตุ้นให้เกิด renal failure
ส่งผลให้ Metformin ถูก
กาจัดออกทางไตลดลง
เพิ่มความเสี่ยงในการ
เกิด metformin-
induced lactic acidosis
ห้ามใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน หากจาเป็นให้หยุด
ยา Metformin ไม่น้อยกว่า 48 ชม. ก่อนและ
หลังฉีด contrast media
เอกสารอ้างอิง:
1. Tatro DS. Drug interaction facts. Missouri: Fact and Comparisons; 2006.
2. Nephrology Pharmacy Associates. Medfacts pocket guide of drug information. n.p.:
Nephrology Pharmacy Associates; 2000.
7
กรณีศึกษา Fatal drug interactions
8
กรณีศึกษา
1) Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Streptomycin) – Loop diuretics (Furosemide, Torsemide)
A case of ototoxicity induced by Furosemide and once-daily Gentamicin therapy
ผู้ป่วยหญิงผิวขาว อายุ 60 ปี มารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรค CAP และ UTI หลังจาก
ได้รับยา Gentamicin 5 dose มีรายงานเกิด bilateral hearing loss มีปัจจัยเสี่ยงคือ อายุ ได้รับยา Furosemide
ร่วมด้วย และอุณหภูมิร่างกายเพิ่มสูงขึ้น เกิดจาก Aminoglycosides รบกวน cell membrane ของหูชั้นใน
ทาให้ Loop diuretics ซึมผ่านเข้า cell ได้มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้นจึงเกิดการทาลายที่รุนแรง พบว่าพิษ
ต่อหูเกิดหลังจากได้รับยา gentamicin เพียง 5 วัน และ furosemide เพียง 1 dose
2)Amiodarone - Fentanyl
ผู้ป่วยชาย อายุ 54 ปี ได้รับ Amiodarone ในระหว่างการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจได้รับ Fentanyl
เป็นยาสลบ ทาให้มีอาการ bradycardia, hypotension และ cardiac output ลดลง รักษาโดยให้ pressor
agent หลายตัว ได้แก่ epinephrine, norepinephrine, metaraminol แบบ iv infusion และต้องใช้
hemodynamic support เป็นเวลานาน
ผู้ป่วยหญิง อายุ 72 ปี ได้รับ Amiodarone แล้วเกิด sinus arrest, bradycardia หลังจากได้
Fentanyl ร่วมด้วย ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเมื่อให้การรักษาด้วย ephedrine iv และ isoproterenol iv bolus then
iv infusion
ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์ อายุ 33 ปี ได้รับ Amiodarone แล้วเกิด ventricular arrhythmias,
hypotension หลังจากได้ Fentanyl ทาง epidural และ chloroprocaine เป็นยาสลบ ก่อนทา Cesarean
section รักษาโดยให้ phenylephrine
จากการศึกษาแบบ retrospective พบว่า 60% ของผู้ป่วยที่ได้รับ Amiodarone ร่วมกับ Fentanyl จะเกิด
bradycardia, complete heart block เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ได้รับ Fentanyl เพียงอย่างเดียว เกิด 17%
3)Carbamazepine (CBZ) – Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin)
มีรายงานว่าพบระดับยา CBZ ในกระแสเลือดสูงขึ้นจนเกิดพิษภายใน 1 ชั่วโมงถึงระยะเวลาไม่กี่
วันในเด็กและผู้ใหญ่หลังได้รับยา Erythromycin อาการดีขึ้นและระดับยา CBZ ลดลงหลังหยุดให้ยา
erythromycin
ผู้ป่วยที่ได้รับยา CBZ มาต่อเนื่อง ต่อมาได้รับ Clarithromycin 250 mg PO วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา
10 วัน พบว่าระดับยา CBZ ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น 60% แม้ว่าลดขนาดยา CBZ ลง 20% มีผู้ป่วย 2 ราย ที่
พบอาการพิษจากยา CBZ ที่ระดับความเข้มข้น 15 และ 19 mcg/ml หลังเริ่มให้ยา Clarithromycin อาการดี
ขึ้นหลังหยุดยา Clarithromycin
9
4) Erkot alkaloids (Ergotamine) - Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin)
มีรายงานพบผู้ป่วย 18 รายเกิดภาวะ vasospasm ที่รุนแรง เมื่อได้รับยาที่มีส่วนประกอบของ ergot
ในขนาดต่าร่วมกับ Clarithromycin, Erythromycin ขนาดยาของ ergot ที่มีรายงานคือขนาดต่า 0.4 mg/day,
ขนาดสูง 30 mg/day ผู้ป่วยส่วนใหญ่กลับมาปกติหลังจากรักษาด้วย sodium nitroprusside, nitroglycerine
iv, prazosin, nifedipine หรือ captopril มีผู้ป่วย 1 รายต้องให้ limb amputation และผู้ป่วย 4 รายยังคงมี
อาการ paresthesia
5) doPAmine - Phenytoin inj.
มีรายงานพบผู้ป่วย 5 ราย ได้รับ doPAmine infusion เพื่อลด sBP ที่สูงมากกว่า 100 mmHg เมื่อ
ผู้ป่วยมีอาการชักจะให้ phenytoin infusion พบผู้ป่วย 2 รายเกิด cardiac arrest และเสียชีวิต ผู้ป่วยอีก 3
รายเกิด hypotension มีผู้ป่วย 2 ใน 3 รายนี้อาการดีขึ้นเมื่อหยุดให้ phenytoin อาการเหล่านี้พบหลังจาก
ให้ phenytoin infusion ไม่กี่นาที
6) Risperidone – Serotonin Reuptake Inhibitors (Fluoxetine, Sertraline)
ผู้ป่วยได้รับ Risperidone 4-6 mg/day ต่อมาได้ Fluoxetine ร่วมด้วยขนาด 20 mg/day ระยะเวลา 4
สัปดาห์ พบว่าระดับ risperidone ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นจาก 12 ng/ml เป็น 56 ng/ml (367%)
7) Nondepol.muscle relaxants (Pancuronium, Rocuronium, Vecuronium) - Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin,
Neomycin, Streptomycin)
-
8) Alteplase- Warfarin
-
9) Metformin- Iodinated contrast material patenteral (Diatrizoate Meglumine (Angiografin), Maglumine + Na
Ioxithalamate (Telebrix) ,Iohexol (Omnipaque), Iodixanol (Visipaque))
-
เอกสารอ้างอิง:
Tatro DS. Drug interaction facts. Missouri: Fact and Comparisons; 2006.
10
คู่ยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน
(Drug interactions) โรงพยาบาลสงขลา
11
คู่ยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions) โรงพยาบาลสงขลา
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ
1) Propranolol – Chlorpromazine
(Significance rating=1,
Onset=delayed:day to wk,
Severeity=major: life-threatening or
permanent damage,
Documentation=probable:very likely but
not proven clinically)
CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic
metabolism ของ PPNL เพิ่ม
ฤทธิ์ของยา PPNL
เพิ่มฤทธิ์ของยาตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัว
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: สับสน ประสาท
หลอน เลือดไปเลี้ยงปลายมือปลายเท้าลดลง (ปลายมือ
ปลายเท้าเย็น) ปวดหลัง ปวดข้อ
ลดขนาดยาระหว่างที่ให้
ร่วมกัน
2) Propranolol – Thioridazine
(Significance rating=1,
Onset=delayed:day to wk,
Severeity=major: life-threatening or
permanent damage,
Documentation=probable:very likely but
not proven clinically)
PPNL ยับยั้ง metabolism ของ
Thioridazine
เพิ่มฤทธิ์ของยาตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัว
Thioridazine ทาให้เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด cardiac
arrhythmias
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ความดันต่าเมื่อ
เปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลาย
ไหล ลิ้นคับปาก มือสั่นขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด
ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง
ลดขนาดยาระหว่างที่ให้
ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อ
ห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน
3) Lithium – Haloperidol (Significance
rating=1, Onset=delayed:day to wk,
Severeity=major: life-threatening or
permanent damage,
Documentation=suspected:may occur
some good data but needs more study)
ไม่ทราบ แต่จะทาให้เกิด
Lithium intoxication, EPS
Alterations in consciousness, encephalopathy, EPS,
fever, leukocytosis, increased serum enzyme
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน มือสั่น
ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หน้าตาเฉยไร้อารมณ์
น้าลายไหล ลิ้นคับปาก ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
เมื่อให้ยา 2 ตัวร่วมกันให้
ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดย
ตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่
ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติ
ให้หยุดยาตัวใดตัวหนึ่ง และ
ให้การรักษาตามอาการ
4) Thioridazine - Fluoxetine
(Significance rating=1,
Onset=delayed:day to wk,
Severeity=major: life-threatening or
permanent damage,
Documentation=suspected:may occur
some good data but needs more study)
Fluoxetine ยับยั้ง metabolism
ของ Thioridazine
ผลทาให้ระดับยา Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่ม
ความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง
torsades de pointes
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ความดันต่าเมื่อ
เปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลาย
ไหล ลิ้นคับปาก มือสั่นขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด
ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง
ห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน
5) Clozapine – SRIs (Fluoxetine,
Sertraline)
(Significance rating=1, Onset=
delayed:day to wk, Severeity= major:
life-threatening or permanent damage,
Documentation= established: proven to
occur in well-controlled studies)
SSRIs ยับยั้ง hepatic
metabolism ของ Clozapine
เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัช
วิทยาและเกิดพิษได้
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: อ่อนเพลีย
วิงเวียน ปวดศีรษะ สั่น กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก น้าหนักตัวเพิ่ม ปากแห้ง
คอแห้ง ใจสั่น ตาพร่า เหงื่อออก น้าลายไหล ปัสสาวะ
ลาบาก อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ อาการเหมือน
ไข้หวัด หรืออาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
ตรวจวัดระดับ Clozapine
และสังเกตอาการทางคลินิก
ปรับลดขนาดยา Clozapine
ตามความจาเป็น
12
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ
6) Lithium – ACEIs (Captopril,
Enalapril, Quinapril, Ramipril)
(Significance rating=2,
Onset=delayed:day to wk,
Severeity=moderated:deteration of
patient’s status,
Documentation=suspected:may
occur some good data but needs
more study)
ไม่ทราบ (ภาวะขาดน้าจะทาให้
เพิ่มผลทางคลินิก) อาจเกิดจาก
- ACEIs ลด glomerrular
perfusion pressure ทาให้เพิ่ม
การดูดซึมกลับของ Lithium ที่
ท่อไต ผลทาให้ระดับยา
Lithium ในเลือดสูงขึ้น
- ACEIs ทาให้ระดับ
aldersterone ลดลง ทาให้ Na+
depletion ทาให้เกิดการคั่งของ
Lithium
- ACEIs ลด Angiotension II
dehydration ทาให้เกิด
impairment ของ Lithium
excretion ทาให้เพิ่ม blood
Lithium
เพิ่มระดับ Lithium ในเลือดอาจเกิด neurotoxicity
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน
มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
ตรวจวัดระดับ Lithium และ
สังเกตอาการพิษจาก
Lithium พิจารณาเลือกใช้ยา
ลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น
7) Lithium – Thiazide diuretics
(HCTZ, Indapamide) (Significance
rating=2, Onset=delayed:day to wk,
Severeity=moderated:deteration of
patient’s status, Documentation=
established:proven to occur in well-
controlled studies)
ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ใน
เลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน
มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
ตรวจวัดระดับ Lithium และ
สังเกตอาการพิษจาก
Lithium ปรับลดขนาดยา
ตามความเหมาะสม
8) Lithium – ARBs (Irbesartan,
Losartan,Valsartan) (Significance
rating=2, Onset=delayed:day to wk,
Severeity=moderated:deteration of
patient’s status, Documentation=
suspected:may occur some good
data but needs more study)
ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต
โดยเพิ่มการดูดซึมกลับ
ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
เกิดพิษจากยา Lithium(เดินโซเซ สับสน เพ้อคลั่ง)
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน
มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
ตรวจวัดระดับ Lithium และ
สังเกตอาการพิษจาก
Lithium ปรับลดขนาดยา
ตามความจาเป็น
9) Lithium – Carbamazepine
(Significance rating=2,
Onset=delayed:day to wk,
Severeity=moderated:deteration of
patient’s status, Documentation=
suspected:may occur some good
data but needs more study)
ไม่ทราบ ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects
ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง 2 ตัวในขนาดรักษา
ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ซึม
กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินโซเซ สั่น และ hyper
reflexia
ติดตามอาการ neurotoxicity
ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัว
หนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว
13
แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้ยาที่เกิด
อันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal drug interactions)
และยาจิตเวช
14
เรียน แพทย์…..…………………………………………..…………….….วันที่........................................
เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug Interactions) ดังนี้
 Propranolol – Chlorpromazine (Sig1): CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ PPNL เพิ่มฤทธิ์
ของยา PPNL ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน
 Propranolol – Thioridazine(Sig1): PPNL ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด
cardiac arrhythmias ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน
 Lithium – Haloperidol (Sig1): ไม่ทราบกลไกการเกิด แต่จะทาให้เกิด Lithium intoxication, EPS เมื่อให้
ยา 2 ตัวร่วมกันให้ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดยตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติให้หยุด
ยาตัวใดตัวหนึ่ง และให้การรักษาตามอาการ
 Thioridazine – Fluoxetine (Sig1): Fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine ผลทาให้ระดับยา
Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้าม
ให้ร่วมกัน
 Clozapine – SRIs(Sig1): SSRIs ยับยั้ง hepatic metabolism ของ Clozapine เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด
ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและเกิดพิษได้ ให้สังเกตอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา Clozapine ตามความ
จาเป็น
 Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) (Sig2):
- ACEIs ลด glomerrular perfusion pressure ทาให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ Lithium ที่ท่อไต ผลทาให้ระดับยา
Lithium ในเลือดสูงขึ้น,ACEIs ทาให้ระดับ aldersterone ลดลง ทาให้ Na+ depletion ทาให้เกิดการคั่งของ
Lithium,ACEIs ลด Angiotension II dehydration ทาให้เกิด impairment ของ Lithium excretion ทาให้เพิ่ม blood
Lithium,สังเกตอาการพิษจาก lithium เลือกใช้ยาลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น
 Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide
diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจากยา Lithium
ปรับลดขนาดยาตามความเหมาะสม
 Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต โดยเพิ่มการดูด
ซึมกลับ ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจาก
Lithium ปรับลดขนาดยาตามความจาเป็น
Lithium – Carbamazepine(Sig2):ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง
2 ตัวในขนาดรักษา ให้ติดตามอาการ neurotoxicity ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว
เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา........................................................................
เรียน แพทย์…..…………………………………………..…………….….วันที่........................................
เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug Interactions) ดังนี้
 Propranolol – Chlorpromazine (Sig1): CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ PPNL เพิ่มฤทธิ์
ของยา PPNL ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน
 Propranolol – Thioridazine(Sig1): PPNL ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด
cardiac arrhythmias ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน
 Lithium – Haloperidol (Sig1): ไม่ทราบกลไกการเกิด แต่จะทาให้เกิด Lithium intoxication, EPS เมื่อให้ยา
2 ตัวร่วมกันให้ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดยตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติให้หยุดยา
ตัวใดตัวหนึ่ง และให้การรักษาตามอาการ
 Thioridazine – Fluoxetine (Sig1): Fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine ผลทาให้ระดับยา
Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้าม
ให้ร่วมกัน
 Clozapine – SRIs(Sig1): SSRIs ยับยั้ง hepatic metabolism ของ Clozapine เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด
ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและเกิดพิษได้ ให้สังเกตอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา Clozapine ตามความ
จาเป็น
 Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) (Sig2):
- ACEIs ลด glomerrular perfusion pressure ทาให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ Lithium ที่ท่อไต ผลทาให้ระดับยา
Lithium ในเลือดสูงขึ้น,ACEIs ทาให้ระดับ aldersterone ลดลง ทาให้ Na+ depletion ทาให้เกิดการคั่งของ
Lithium,ACEIs ลด Angiotension II dehydration ทาให้เกิด impairment ของ Lithium excretion ทาให้เพิ่ม blood
Lithium,สังเกตอาการพิษจาก lithium เลือกใช้ยาลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น
 Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide
diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจากยา Lithium
ปรับลดขนาดยาตามความเหมาะสม
 Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต โดยเพิ่มการดูด
ซึมกลับ ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจาก
Lithium ปรับลดขนาดยาตามความจาเป็น
Lithium – Carbamazepine(Sig2):ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง
2 ตัวในขนาดรักษา ให้ติดตามอาการ neurotoxicity ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว
เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา........................................................................
15
เรียน แพทย์…..…………………………………….………..……………........................................................................................วันที่...........................................................
เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal Drug Interactions) ดังนี้
คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ
Aminoglycoside (Amikacin,
Gentamicin, Streptomycin) –Loop
diuretics (Furosemide, Torsemide)
เสริมฤทธิ์การเป็นพิษต่อหูโดย
Aminoglycosides รบกวน cell membrane
ของหูชั้นในทาให้ Loop diuretics ซึมผ่าน
เข้า cell ได้มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้น
เพิ่ม auditory toxicity,
เกิด hearing loss,
irreversible hearing
1. ตรวจการได้ยินของผู้ป่วย
2. ขนาดยามีความสัมพันธ์กับการเกิด ADR ควรหลีกเลี่ยง
การใช้ยาขนาดที่สูงมากเกินไป
3. ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไตต้องลดขนาดยาตัวหนึ่งหรือ 2 ตัว
Amiodarone - Fentanyl ไม่ทราบ เกิด bradycardia ทาให้
cardiac output ลดลง,
เกิด sinus arrest ,
hypotension
1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกัน
2. monitor hemodynamic function (BP,HR) และให้
inotropic, chronotropic และ pressure support (หากเกิด
bradycardia ให้ใช้ vasopressors ขนาดสูง ได้แก่
Epinephrine, phenylephrine ไม่ใช้ atropine ไม่ตอบสนอง)
Carbamazepine – Macrolides
(Clarithromycin, Erythromycin)
Macrolide ไปยับยั้งการแปรรูปที่ตับของ
Cabamazepine จึงถูกกาจัดออกลดลง ทา
ให้มีระดับยา Cabamazepine ในกระแส
เลือดเพิ่มขึ้น
เกิดความเป็นพิษจากยา
Carbamazepine
1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน
2. ควบคุมระดับความเข้มข้นของยา Carbamazepine ใน
เลือดและสังเกตอาการเป็นพิษ (ataxia, nystagmus,
diplopia, vomiting, apnea,seizures,coma)
3. หยุดยาตัวใดตัวหนึ่งหรือลดขนาดยาของ Carbamazepine
หรือเปลี่ยนใช้ Macrolide ตัวอื่น (เช่น Azithromycin) หรือ
ATB ตัวอื่นที่ไม่เกิดปฏิกิริยากับ Carbamazepine
 Erkot alkaloids (Ergotamine) -
Macrolides (Clarithromycin,
Erythromycin)
Macrolide ไปรบกวนการแปรรูปที่ตับของ
Ergotamine ทาให้มีระดับยา Ergotamine
ในกระแสเลือดสูงขึ้น
อาจเกิด acute
ergotism (N/V,
vasospastic, peripheral
ischemia)
1. ติดตามและแนะนาผู้ป่วยให้สังเกตอาการแสดงของ
ergotism
2. ลดขนาดยา ergotamine หรือหยุดใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งหรือ
ทั้ง 2 ตัว
3. หากเกิดภาวะ Macrolide-Ergot-induced vasospasm
แก้ไขโดย Sodium nitroprusside
doPAmine - Phenytoin inj. ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก doPAmine ทา
ให้มี catecholamines ลดลง และ
Phenytoin กดการทางานกล้ามเนื้อหัวใจ
hypotension และอาจเกิด
cardiac arrest ได้
1. ควรระมัดระวังอย่างมากที่สุดเมื่อให้ Phenytoin ในผู้ป่วย
ที่กาลังได้รับ doPAmine iv drip
2. วัด BP ถ้าเกิด hypotension ต้องหยุดให้ยา Phenytoin
Risperidone – Serotonin
Reuptake Inhibitors (Fluoxetine,
Sertraline)
Fluoxetine ไปยับยั้งการแปรรูปที่ตับของ
Risperidone ส่งผลให้มีระดับยา
Risperidone ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น
serotonin จึงสะสมใน CNS อย่างรวดเร็ว
เพิ่มความเสี่ยงการเกิด
ภาวะ Serotonin
syndrome (CNS irritability,
เพิ่ม muscle tone, myoclonus,
altered consciousness)
ให้สังเกตอาการแสดงทางคลินิกของผู้ป่วยจากยา
Risperidone เมื่อเริ่มให้ยา หยุดยา หรือเปลี่ยนขนาดยา
Fluoxetine หรือ ให้ยา Sertaline ในขนาดสูง (>100
mg/day) ถ้าจาเป็นอาจปรับขนาดยา Risperidone
Nondepol.muscle relaxants
(Pancuronium, Rocuronium,
Vecuronium) - Aminoglycoside
(Amikacin, Gentamicin, Neomycin,
Streptomycin)
เกิดการเสริมฤทธิ์ เนื่องจาก
Aminoglycoside มีฤทธิ์ neuromuscular
blocking เช่นกัน
เกิด non depolarizing
muscle relaxation สูงขึ้น
ทาให้เกิด respiratiory
depression มากขึ้น
ใช้ยาร่วมกันเมื่อจาเป็นเท่านั้น ปรับขนาดของยาคลาย
กล้ามเนื้อ โดยดูจากอาการทาง neuromuscular ไม่ควรใช้
Calcium salt และ Anticholinesterase เป็น antidote ควรมี
เครื่องช่วยหายใจเตรียมไว้ให้พร้อม
Alteplase- Warfarin เกิดการเสริมฤทธิ์ เพิ่มฤทธิ์เลือดออกรุนแรง ห้ามใช้ร่วมกัน
 Metformin- Iodinated
contrast material patenteral
Iodinated contrast material กระตุ้นให้เกิด
renal failure ส่งผลให้ Metformin ถูก
กาจัดออกทางไตลดลง
เพิ่มความเสี่ยงในการเกิด
metformin-induced
lactic acidosis
ห้ามใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน หากจาเป็นให้หยุดยา Metformin
ไม่น้อยกว่า 48 ชม. ก่อนและหลังฉีด contrast media
เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา...........................................................................................
16
เฉพาะผู้ป่วยใน
คาสั่งการรักษาของแพทย์
 เปลี่ยนแปลงรายการยา…………………………………..…………………………………………...
เปลี่ยนแปลงรายการยา………………………………………………………………………………..
เปลี่ยนแปลงรายการยา………………………………………………………………………………..
เปลี่ยนแปลงรายการยา………………………………………………………………………………..
 เปลี่ยนแปลงขนาดยา……………………..…………………………………………………………..
เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...………………………………………………………..
เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...………………………………………………………..
เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...………………………………………………………..
 ยืนยันการใช้ยาคู่เดิม และติดตามผู้ป่วยตามแนวทางการจัดการที่ระบุไว้
ผลการติดตาม……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
แพทย์ผู้สั่งการรักษา……………………………วันที่………..………
พยาบาลผู้รับคาสั่งการรักษา....................………………วันที่…………..……
17
แบบบันทึกแนบ OPD card กรณีมีการสั่งใช้ยาจิตเวช
ที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions)
18
ตัวอย่างแบบบันทึกแนบ OPD card กรณีมีการสั่งใช้ยาจิตเวช
ที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions) (สีส้ม)
ผู้ป่วยได้รับยาที่มี Drug Interaction
ชื่อผู้ป่วย……………………………………….…………………………………………...…HN….………………..…………………
ชื่อยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยขณะที่ใช้ยา
 Propranolol – Chlorpromazine สับสน ประสาทหลอน เลือดไปเลี้ยงปลายมือปลายเท้าลดลง (ปลายมือปลายเท้าเย็น)
ปวดหลัง ปวดข้อ
 Propranolol – Thioridazine ความดันต่าเมื่อเปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลายไหล ลิ้นคับปาก มือสั่น
ขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง
 Lithium – Haloperidol ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หน้าตาเฉยไร้อารมณ์ น้าลายไหล ลิ้นคับปาก
ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
 Thioridazine - Fluoxetine ความดันต่าเมื่อเปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลายไหล ลิ้นคับปาก มือสั่น
ขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง
 Clozapine – SRIs (Fluoxetine,
Sertraline)
อ่อนเพลีย วิงเวียน ปวดศีรษะ สั่น กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
น้าหนักตัวเพิ่ม ปากแห้ง คอแห้ง ใจสั่น ตาพร่า เหงื่อออก น้าลายไหล ปัสสาวะลาบาก
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ อาการเหมือนไข้หวัด หรืออาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
 Lithium – ACEIs (Captopril,
Enalapril, Quinapril, Ramipril)
ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
 Lithium – Thiazide diuretics
(HCTZ, Indapamide)
ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
 Lithium – ARBs (Irbesartan,
Losartan,Valsartan)
ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง
Lithium – Carbamazepine ซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินโซเซ สั่น และ hyper reflexia
หมายเหตุ: หากพบว่าผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าว กรุณาส่งปรึกษาแพทย์โดยด่วน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย
19
แนวทางปฏิบัติกรณีมีการสั่งใช้ยาที่เกิด
อันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions)
20
แนวทางปฏิบัติกรณีมีการสั่งใช้ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions:DIs)
พบคาสั่งใช้คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน
Fatal DIs และยาจิตเวช
ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน
เภสัชกรปรึกษาแพทย์โดยบันทึกลง
“แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้
ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน”
แพทย์สั่งการรักษา โดยพิจารณาข้อมูลที่
ปรากฏในแบบฟอร์มฯ
พยาบาลรับคาสั่งการรักษา เภสัชกรจ่ายยา
ตามคาสั่งแพทย์ หากเป็นยาจิตเวช และ
แพทย์ยืนยันให้ใช้คู่กัน ให้แนบ “แบบ
บันทึกสาหรับแนบ OPD card” (สีส้ม)
เภสัชกรบันทึกผลการติดตามลง
“แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้
ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน)” แล้วส่ง DIS
DIS รวบรวมบันทึกข้อมูล สรุปผลและ
เผยแพร่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
เภสัชกรปรึกษาแพทย์โดยบันทึกลง
“แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้
ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน”
แพทย์สั่งการรักษา โดยพิจารณาข้อมูลที่
ปรากฏในคอมพิวเตอร์หรือในแบบฟอร์ม
เภสัชกรจ่ายยาตามคาสั่งแพทย์
หากเป็นยาจิตเวช และแพทย์ยืนยันให้ใช้
คู่กัน ให้แนบ “แบบบันทึกสาหรับแนบ
OPD card” (สีส้ม) กับ OPD card ของ
ผู้ป่วยด้วย เพื่อเฝ้าระวัง ADR ด้วย แล้วส่ง
แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์นั้น
มายัง DIS
DIS รวบรวมบันทึกข้อมูล สรุปผลและ
เผยแพร่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 

Viewers also liked

ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritisUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.Utai Sukviwatsirikul
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011
 
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Psoriatic arthritis
Psoriatic arthritisPsoriatic arthritis
Psoriatic arthritis
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 

Similar to คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช

Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)Aiman Sadeeyamu
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...Utai Sukviwatsirikul
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่Klangpanya
 
Management of thyroid disorder
Management of thyroid disorderManagement of thyroid disorder
Management of thyroid disorderNanny Villa
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 

Similar to คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช (20)

Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
Ketoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxicKetoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxic
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...
คําแนะนําการใช้ยาชีววัตถุและยาสงเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดํ...
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
 
Management of thyroid disorder
Management of thyroid disorderManagement of thyroid disorder
Management of thyroid disorder
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช

  • 3. 3 คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal drug interactions) จะมีลักษณะดังนี้ Significance rating: สรุปการประเมินความรุนแรงของอันตรกิริยาที่เกิดขึ้นและหลักฐานยืนยันประกอบ ว่าเกิด drug interaction ขึ้นจริง ระดับนัยสาคัญ: 1 Onset : ระยะเวลาที่เริ่มปรากฏผลทางคลินิก Rapid: ปฏิกิริยาเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง Severity: การประเมินความรุนแรงของอันตรกิริยาที่เกิดขึ้น Major: life-threatening or permanent damage Documentation: หลักฐานยืนยันประกอบว่าเกิด drug interaction ขึ้นจริง Established: proven to occur well-controlled studies Probable: very likely, but not proven clinically Suspected: may occur, some good data, needs more study
  • 5. 5 คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal drug interaction) โรงพยาบาลสงขลา คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ 1) Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Streptomycin) – Loop diuretics (Furosemide, Torsemide) ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดการ เสริมฤทธิ์การเป็นพิษต่อหู โดย Aminoglycosides รบกวน cell membrane ของ หูชั้นในทาให้ Loop diuretics ซึมผ่านเข้า cell ได้ มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้น เกิดการทาลายที่รุนแรง เพิ่ม auditory toxicity, เกิด hearing loss, irreversible hearing 1. ตรวจการได้ยินของผู้ป่วย 2. ขนาดยามีความสัมพันธ์กับการเกิด ADR ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาขนาดที่สูงมากเกินไป 3. ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไตอาจต้องลดขนาดยา ตัวหนึ่งหรือ 2 ตัว 2)Amiodarone - Fentanyl ไม่ทราบ เกิด bradycardia ทาให้ cardiac output ลดลง, เกิด sinus arrest , hypotension 1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกัน 2. monitor hemodynamic function (BP,HR) และให้ inotropic, chronotropic และ pressure support (หากเกิด bradycardia ให้ใช้ vasopressors ขนาดสูง ได้แก่ Epinephrine, phenylephrine ไม่ใช้ atropine เพราะไม่ ตอบสนอง) 3)Carbamazepine – Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) Macrolide ไปยับยั้งการแปร รูปที่ตับของ Cabamazepine จึงถูกกาจัดออกลดลง ทาให้ มีระดับยา Cabamazepine ใน กระแสเลือดเพิ่มขึ้น เกิดความเป็นพิษจากยา Carbamazepine 1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน 2. ควบคุมระดับความเข้มข้นของยา Carbamazepine ในเลือดและสังเกตอาการเป็น พิษ (ataxia, nystagmus, diplopia, vomiting, apnea,seizures,coma) 3. หยุดยาตัวใดตัวหนึ่งหรือลดขนาดยาของ Carbamazepine หรือเปลี่ยนใช้ Macrolide ตัว อื่น (เช่น Azithromycin) หรือ ATB ตัวอื่นที่ ไม่เกิดปฏิกิริยากับ Carbamazepine 4) Erkot alkaloids (Ergotamine) - Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) Macrolide ไปรบกวนการ แปรรูปที่ตับของ Ergotamine ทาให้มีระดับยา Ergotamine ในกระแสเลือด สูงขึ้น อาจเกิด acute ergotism (N/V, vasospastic, peripheral ischemia) 1. ติดตามและแนะนาผู้ป่วยให้สังเกตอาการ แสดงของ ergotism 2. ลดขนาดยา ergotamine หรือหยุดใช้ยาตัว ใดตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว 3. หากเกิดภาวะ Macrolide-Ergot-induced vasospasm แก้ไขโดย Sodium nitroprusside
  • 6. 6 คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ 5) doPAmine - Phenytoin inj. ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก doPAmine ทาให้มี catecholamines ลดลง และ Phenytoin กดการทางาน ของกล้ามเนื้อหัวใจ hypotension และอาจ เกิด cardiac arrest ได้ 1. ควรระมัดระวังอย่างมากที่สุดเมื่อให้ Phenytoin ในผู้ป่วยที่กาลังได้รับ doPAmine iv drip 2. วัด BP ถ้าเกิด hypotension ต้องหยุดให้ยา Phenytoin 6) Risperidone – Serotonin Reuptake Inhibitors (Fluoxetine, Sertraline) Fluoxetine ไปยับยั้งการแปร รูปที่ตับของ Risperidone ส่งผลให้มีระดับยา Risperidone ในกระแสเลือด เพิ่มขึ้น serotonin จึงสะสม ใน CNS อย่างรวดเร็ว เพิ่มความเสี่ยงการเกิด ภาวะ Serotonin syndrome (CNS irritability, เพิ่ม muscle tone, myoclonus, altered consciousness) ให้สังเกตอาการแสดงทางคลินิกของผู้ป่วย จากยา Risperidone เมื่อเริ่มให้ยา หยุดยา หรือ เปลี่ยนขนาดยา Fluoxetine หรือ ให้ยา Sertaline ในขนาดสูง (>100 mg/day) ถ้า จาเป็นอาจปรับขนาดยา Risperidone 7) Nondepol.muscle relaxants (Pancuronium, Rocuronium, Vecuronium) - Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Neomycin, Streptomycin) เกิดการเสริมฤทธิ์ เนื่องจาก Aminoglycoside มีฤทธิ์ neuromuscular blocking เช่นกัน เกิด non depolarizing muscle relaxation สูงขึ้นทาให้เกิด respiratiory depression มากขึ้น ใช้ยาร่วมกันเมื่อจาเป็นเท่านั้น ปรับขนาด ของยาคลายกล้ามเนื้อ โดยดูจากอาการทาง neuromuscular ไม่ควรใช้ Calcium salt และ Anticholinesterase เป็น antidote ควรมี เครื่องช่วยหายใจเตรียมไว้ให้พร้อม 8) Alteplase- Warfarin เกิดการเสริมฤทธิ์ เพิ่มฤทธิ์ภาวะ เลือดออกที่รุนแรง ห้ามใช้ร่วมกัน 9) Metformin- Iodinated contrast material patenteral (Diatrizoate Meglumine (Angiografin), Maglumine + Na Ioxithalamate (Telebrix) ,Iohexol (Omnipaque), Iodixanol (Visipaque)) Iodinated contrast material กระตุ้นให้เกิด renal failure ส่งผลให้ Metformin ถูก กาจัดออกทางไตลดลง เพิ่มความเสี่ยงในการ เกิด metformin- induced lactic acidosis ห้ามใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน หากจาเป็นให้หยุด ยา Metformin ไม่น้อยกว่า 48 ชม. ก่อนและ หลังฉีด contrast media เอกสารอ้างอิง: 1. Tatro DS. Drug interaction facts. Missouri: Fact and Comparisons; 2006. 2. Nephrology Pharmacy Associates. Medfacts pocket guide of drug information. n.p.: Nephrology Pharmacy Associates; 2000.
  • 8. 8 กรณีศึกษา 1) Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Streptomycin) – Loop diuretics (Furosemide, Torsemide) A case of ototoxicity induced by Furosemide and once-daily Gentamicin therapy ผู้ป่วยหญิงผิวขาว อายุ 60 ปี มารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรค CAP และ UTI หลังจาก ได้รับยา Gentamicin 5 dose มีรายงานเกิด bilateral hearing loss มีปัจจัยเสี่ยงคือ อายุ ได้รับยา Furosemide ร่วมด้วย และอุณหภูมิร่างกายเพิ่มสูงขึ้น เกิดจาก Aminoglycosides รบกวน cell membrane ของหูชั้นใน ทาให้ Loop diuretics ซึมผ่านเข้า cell ได้มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้นจึงเกิดการทาลายที่รุนแรง พบว่าพิษ ต่อหูเกิดหลังจากได้รับยา gentamicin เพียง 5 วัน และ furosemide เพียง 1 dose 2)Amiodarone - Fentanyl ผู้ป่วยชาย อายุ 54 ปี ได้รับ Amiodarone ในระหว่างการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจได้รับ Fentanyl เป็นยาสลบ ทาให้มีอาการ bradycardia, hypotension และ cardiac output ลดลง รักษาโดยให้ pressor agent หลายตัว ได้แก่ epinephrine, norepinephrine, metaraminol แบบ iv infusion และต้องใช้ hemodynamic support เป็นเวลานาน ผู้ป่วยหญิง อายุ 72 ปี ได้รับ Amiodarone แล้วเกิด sinus arrest, bradycardia หลังจากได้ Fentanyl ร่วมด้วย ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเมื่อให้การรักษาด้วย ephedrine iv และ isoproterenol iv bolus then iv infusion ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์ อายุ 33 ปี ได้รับ Amiodarone แล้วเกิด ventricular arrhythmias, hypotension หลังจากได้ Fentanyl ทาง epidural และ chloroprocaine เป็นยาสลบ ก่อนทา Cesarean section รักษาโดยให้ phenylephrine จากการศึกษาแบบ retrospective พบว่า 60% ของผู้ป่วยที่ได้รับ Amiodarone ร่วมกับ Fentanyl จะเกิด bradycardia, complete heart block เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ได้รับ Fentanyl เพียงอย่างเดียว เกิด 17% 3)Carbamazepine (CBZ) – Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) มีรายงานว่าพบระดับยา CBZ ในกระแสเลือดสูงขึ้นจนเกิดพิษภายใน 1 ชั่วโมงถึงระยะเวลาไม่กี่ วันในเด็กและผู้ใหญ่หลังได้รับยา Erythromycin อาการดีขึ้นและระดับยา CBZ ลดลงหลังหยุดให้ยา erythromycin ผู้ป่วยที่ได้รับยา CBZ มาต่อเนื่อง ต่อมาได้รับ Clarithromycin 250 mg PO วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 10 วัน พบว่าระดับยา CBZ ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น 60% แม้ว่าลดขนาดยา CBZ ลง 20% มีผู้ป่วย 2 ราย ที่ พบอาการพิษจากยา CBZ ที่ระดับความเข้มข้น 15 และ 19 mcg/ml หลังเริ่มให้ยา Clarithromycin อาการดี ขึ้นหลังหยุดยา Clarithromycin
  • 9. 9 4) Erkot alkaloids (Ergotamine) - Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) มีรายงานพบผู้ป่วย 18 รายเกิดภาวะ vasospasm ที่รุนแรง เมื่อได้รับยาที่มีส่วนประกอบของ ergot ในขนาดต่าร่วมกับ Clarithromycin, Erythromycin ขนาดยาของ ergot ที่มีรายงานคือขนาดต่า 0.4 mg/day, ขนาดสูง 30 mg/day ผู้ป่วยส่วนใหญ่กลับมาปกติหลังจากรักษาด้วย sodium nitroprusside, nitroglycerine iv, prazosin, nifedipine หรือ captopril มีผู้ป่วย 1 รายต้องให้ limb amputation และผู้ป่วย 4 รายยังคงมี อาการ paresthesia 5) doPAmine - Phenytoin inj. มีรายงานพบผู้ป่วย 5 ราย ได้รับ doPAmine infusion เพื่อลด sBP ที่สูงมากกว่า 100 mmHg เมื่อ ผู้ป่วยมีอาการชักจะให้ phenytoin infusion พบผู้ป่วย 2 รายเกิด cardiac arrest และเสียชีวิต ผู้ป่วยอีก 3 รายเกิด hypotension มีผู้ป่วย 2 ใน 3 รายนี้อาการดีขึ้นเมื่อหยุดให้ phenytoin อาการเหล่านี้พบหลังจาก ให้ phenytoin infusion ไม่กี่นาที 6) Risperidone – Serotonin Reuptake Inhibitors (Fluoxetine, Sertraline) ผู้ป่วยได้รับ Risperidone 4-6 mg/day ต่อมาได้ Fluoxetine ร่วมด้วยขนาด 20 mg/day ระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าระดับ risperidone ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นจาก 12 ng/ml เป็น 56 ng/ml (367%) 7) Nondepol.muscle relaxants (Pancuronium, Rocuronium, Vecuronium) - Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Neomycin, Streptomycin) - 8) Alteplase- Warfarin - 9) Metformin- Iodinated contrast material patenteral (Diatrizoate Meglumine (Angiografin), Maglumine + Na Ioxithalamate (Telebrix) ,Iohexol (Omnipaque), Iodixanol (Visipaque)) - เอกสารอ้างอิง: Tatro DS. Drug interaction facts. Missouri: Fact and Comparisons; 2006.
  • 11. 11 คู่ยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions) โรงพยาบาลสงขลา คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ 1) Propranolol – Chlorpromazine (Significance rating=1, Onset=delayed:day to wk, Severeity=major: life-threatening or permanent damage, Documentation=probable:very likely but not proven clinically) CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ PPNL เพิ่ม ฤทธิ์ของยา PPNL เพิ่มฤทธิ์ของยาตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัว ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: สับสน ประสาท หลอน เลือดไปเลี้ยงปลายมือปลายเท้าลดลง (ปลายมือ ปลายเท้าเย็น) ปวดหลัง ปวดข้อ ลดขนาดยาระหว่างที่ให้ ร่วมกัน 2) Propranolol – Thioridazine (Significance rating=1, Onset=delayed:day to wk, Severeity=major: life-threatening or permanent damage, Documentation=probable:very likely but not proven clinically) PPNL ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine เพิ่มฤทธิ์ของยาตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัว Thioridazine ทาให้เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด cardiac arrhythmias ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ความดันต่าเมื่อ เปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลาย ไหล ลิ้นคับปาก มือสั่นขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง ลดขนาดยาระหว่างที่ให้ ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อ ห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน 3) Lithium – Haloperidol (Significance rating=1, Onset=delayed:day to wk, Severeity=major: life-threatening or permanent damage, Documentation=suspected:may occur some good data but needs more study) ไม่ทราบ แต่จะทาให้เกิด Lithium intoxication, EPS Alterations in consciousness, encephalopathy, EPS, fever, leukocytosis, increased serum enzyme ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หน้าตาเฉยไร้อารมณ์ น้าลายไหล ลิ้นคับปาก ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง เมื่อให้ยา 2 ตัวร่วมกันให้ ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดย ตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่ ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติ ให้หยุดยาตัวใดตัวหนึ่ง และ ให้การรักษาตามอาการ 4) Thioridazine - Fluoxetine (Significance rating=1, Onset=delayed:day to wk, Severeity=major: life-threatening or permanent damage, Documentation=suspected:may occur some good data but needs more study) Fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine ผลทาให้ระดับยา Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ความดันต่าเมื่อ เปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลาย ไหล ลิ้นคับปาก มือสั่นขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง ห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน 5) Clozapine – SRIs (Fluoxetine, Sertraline) (Significance rating=1, Onset= delayed:day to wk, Severeity= major: life-threatening or permanent damage, Documentation= established: proven to occur in well-controlled studies) SSRIs ยับยั้ง hepatic metabolism ของ Clozapine เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัช วิทยาและเกิดพิษได้ ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: อ่อนเพลีย วิงเวียน ปวดศีรษะ สั่น กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก น้าหนักตัวเพิ่ม ปากแห้ง คอแห้ง ใจสั่น ตาพร่า เหงื่อออก น้าลายไหล ปัสสาวะ ลาบาก อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ อาการเหมือน ไข้หวัด หรืออาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ ตรวจวัดระดับ Clozapine และสังเกตอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา Clozapine ตามความจาเป็น
  • 12. 12 คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ 6) Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) (Significance rating=2, Onset=delayed:day to wk, Severeity=moderated:deteration of patient’s status, Documentation=suspected:may occur some good data but needs more study) ไม่ทราบ (ภาวะขาดน้าจะทาให้ เพิ่มผลทางคลินิก) อาจเกิดจาก - ACEIs ลด glomerrular perfusion pressure ทาให้เพิ่ม การดูดซึมกลับของ Lithium ที่ ท่อไต ผลทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดสูงขึ้น - ACEIs ทาให้ระดับ aldersterone ลดลง ทาให้ Na+ depletion ทาให้เกิดการคั่งของ Lithium - ACEIs ลด Angiotension II dehydration ทาให้เกิด impairment ของ Lithium excretion ทาให้เพิ่ม blood Lithium เพิ่มระดับ Lithium ในเลือดอาจเกิด neurotoxicity ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง ตรวจวัดระดับ Lithium และ สังเกตอาการพิษจาก Lithium พิจารณาเลือกใช้ยา ลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น 7) Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) (Significance rating=2, Onset=delayed:day to wk, Severeity=moderated:deteration of patient’s status, Documentation= established:proven to occur in well- controlled studies) ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ใน เลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง ตรวจวัดระดับ Lithium และ สังเกตอาการพิษจาก Lithium ปรับลดขนาดยา ตามความเหมาะสม 8) Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) (Significance rating=2, Onset=delayed:day to wk, Severeity=moderated:deteration of patient’s status, Documentation= suspected:may occur some good data but needs more study) ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต โดยเพิ่มการดูดซึมกลับ ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium(เดินโซเซ สับสน เพ้อคลั่ง) ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง ตรวจวัดระดับ Lithium และ สังเกตอาการพิษจาก Lithium ปรับลดขนาดยา ตามความจาเป็น 9) Lithium – Carbamazepine (Significance rating=2, Onset=delayed:day to wk, Severeity=moderated:deteration of patient’s status, Documentation= suspected:may occur some good data but needs more study) ไม่ทราบ ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง 2 ตัวในขนาดรักษา ADR ที่อาจเกิดขึ้นขณะใช้ยาร่วมกัน: ซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินโซเซ สั่น และ hyper reflexia ติดตามอาการ neurotoxicity ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัว หนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว
  • 14. 14 เรียน แพทย์…..…………………………………………..…………….….วันที่........................................ เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug Interactions) ดังนี้  Propranolol – Chlorpromazine (Sig1): CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ PPNL เพิ่มฤทธิ์ ของยา PPNL ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน  Propranolol – Thioridazine(Sig1): PPNL ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด cardiac arrhythmias ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน  Lithium – Haloperidol (Sig1): ไม่ทราบกลไกการเกิด แต่จะทาให้เกิด Lithium intoxication, EPS เมื่อให้ ยา 2 ตัวร่วมกันให้ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดยตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติให้หยุด ยาตัวใดตัวหนึ่ง และให้การรักษาตามอาการ  Thioridazine – Fluoxetine (Sig1): Fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine ผลทาให้ระดับยา Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้าม ให้ร่วมกัน  Clozapine – SRIs(Sig1): SSRIs ยับยั้ง hepatic metabolism ของ Clozapine เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและเกิดพิษได้ ให้สังเกตอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา Clozapine ตามความ จาเป็น  Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) (Sig2): - ACEIs ลด glomerrular perfusion pressure ทาให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ Lithium ที่ท่อไต ผลทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดสูงขึ้น,ACEIs ทาให้ระดับ aldersterone ลดลง ทาให้ Na+ depletion ทาให้เกิดการคั่งของ Lithium,ACEIs ลด Angiotension II dehydration ทาให้เกิด impairment ของ Lithium excretion ทาให้เพิ่ม blood Lithium,สังเกตอาการพิษจาก lithium เลือกใช้ยาลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น  Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจากยา Lithium ปรับลดขนาดยาตามความเหมาะสม  Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต โดยเพิ่มการดูด ซึมกลับ ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจาก Lithium ปรับลดขนาดยาตามความจาเป็น Lithium – Carbamazepine(Sig2):ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง 2 ตัวในขนาดรักษา ให้ติดตามอาการ neurotoxicity ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา........................................................................ เรียน แพทย์…..…………………………………………..…………….….วันที่........................................ เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาจิตเวชที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug Interactions) ดังนี้  Propranolol – Chlorpromazine (Sig1): CPZ ยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ PPNL เพิ่มฤทธิ์ ของยา PPNL ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน  Propranolol – Thioridazine(Sig1): PPNL ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine เพิ่มความเสี่ยงให้เกิด cardiac arrhythmias ลดขนาดยาระหว่างให้ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีข้อห้ามใช้ยาทั้ง 2 ตัวร่วมกัน  Lithium – Haloperidol (Sig1): ไม่ทราบกลไกการเกิด แต่จะทาให้เกิด Lithium intoxication, EPS เมื่อให้ยา 2 ตัวร่วมกันให้ติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดยตลอดระยะ 3 สัปดาห์แรกที่ใช้ยา หากพบอาการผิดปกติให้หยุดยา ตัวใดตัวหนึ่ง และให้การรักษาตามอาการ  Thioridazine – Fluoxetine (Sig1): Fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของ Thioridazine ผลทาให้ระดับยา Thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้าม ให้ร่วมกัน  Clozapine – SRIs(Sig1): SSRIs ยับยั้ง hepatic metabolism ของ Clozapine เพิ่มระดับ Clozapine ในเลือด ทาให้เพิ่มฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและเกิดพิษได้ ให้สังเกตอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา Clozapine ตามความ จาเป็น  Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) (Sig2): - ACEIs ลด glomerrular perfusion pressure ทาให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ Lithium ที่ท่อไต ผลทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดสูงขึ้น,ACEIs ทาให้ระดับ aldersterone ลดลง ทาให้ Na+ depletion ทาให้เกิดการคั่งของ Lithium,ACEIs ลด Angiotension II dehydration ทาให้เกิด impairment ของ Lithium excretion ทาให้เพิ่ม blood Lithium,สังเกตอาการพิษจาก lithium เลือกใช้ยาลดความดันโลหิตกลุ่มอื่น  Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต Thiazide diuretics ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจากยา Lithium ปรับลดขนาดยาตามความเหมาะสม  Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) (Sig2):ลดการกาจัดยา Lithium ทางไต โดยเพิ่มการดูด ซึมกลับ ARBs ทาให้ระดับยา Lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เกิดพิษจากยา Lithium ให้สังเกตอาการพิษจาก Lithium ปรับลดขนาดยาตามความจาเป็น Lithium – Carbamazepine(Sig2):ผู้ป่วยบางรายอาจเกิด adverse CNS effects ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับยาทั้ง 2 ตัวในขนาดรักษา ให้ติดตามอาการ neurotoxicity ถ้าเกิดอาการ ให้หยุดยาตัวหนึ่งหรือทั้ง 2 ตัว เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา........................................................................
  • 15. 15 เรียน แพทย์…..…………………………………….………..……………........................................................................................วันที่........................................................... เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกันที่รุนแรง (Fatal Drug Interactions) ดังนี้ คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน กลไก ผลทางคลินิก การจัดการ Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Streptomycin) –Loop diuretics (Furosemide, Torsemide) เสริมฤทธิ์การเป็นพิษต่อหูโดย Aminoglycosides รบกวน cell membrane ของหูชั้นในทาให้ Loop diuretics ซึมผ่าน เข้า cell ได้มากขึ้น ความเข้มข้นสูงขึ้น เพิ่ม auditory toxicity, เกิด hearing loss, irreversible hearing 1. ตรวจการได้ยินของผู้ป่วย 2. ขนาดยามีความสัมพันธ์กับการเกิด ADR ควรหลีกเลี่ยง การใช้ยาขนาดที่สูงมากเกินไป 3. ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไตต้องลดขนาดยาตัวหนึ่งหรือ 2 ตัว Amiodarone - Fentanyl ไม่ทราบ เกิด bradycardia ทาให้ cardiac output ลดลง, เกิด sinus arrest , hypotension 1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกัน 2. monitor hemodynamic function (BP,HR) และให้ inotropic, chronotropic และ pressure support (หากเกิด bradycardia ให้ใช้ vasopressors ขนาดสูง ได้แก่ Epinephrine, phenylephrine ไม่ใช้ atropine ไม่ตอบสนอง) Carbamazepine – Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) Macrolide ไปยับยั้งการแปรรูปที่ตับของ Cabamazepine จึงถูกกาจัดออกลดลง ทา ให้มีระดับยา Cabamazepine ในกระแส เลือดเพิ่มขึ้น เกิดความเป็นพิษจากยา Carbamazepine 1. ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน 2. ควบคุมระดับความเข้มข้นของยา Carbamazepine ใน เลือดและสังเกตอาการเป็นพิษ (ataxia, nystagmus, diplopia, vomiting, apnea,seizures,coma) 3. หยุดยาตัวใดตัวหนึ่งหรือลดขนาดยาของ Carbamazepine หรือเปลี่ยนใช้ Macrolide ตัวอื่น (เช่น Azithromycin) หรือ ATB ตัวอื่นที่ไม่เกิดปฏิกิริยากับ Carbamazepine  Erkot alkaloids (Ergotamine) - Macrolides (Clarithromycin, Erythromycin) Macrolide ไปรบกวนการแปรรูปที่ตับของ Ergotamine ทาให้มีระดับยา Ergotamine ในกระแสเลือดสูงขึ้น อาจเกิด acute ergotism (N/V, vasospastic, peripheral ischemia) 1. ติดตามและแนะนาผู้ป่วยให้สังเกตอาการแสดงของ ergotism 2. ลดขนาดยา ergotamine หรือหยุดใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งหรือ ทั้ง 2 ตัว 3. หากเกิดภาวะ Macrolide-Ergot-induced vasospasm แก้ไขโดย Sodium nitroprusside doPAmine - Phenytoin inj. ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก doPAmine ทา ให้มี catecholamines ลดลง และ Phenytoin กดการทางานกล้ามเนื้อหัวใจ hypotension และอาจเกิด cardiac arrest ได้ 1. ควรระมัดระวังอย่างมากที่สุดเมื่อให้ Phenytoin ในผู้ป่วย ที่กาลังได้รับ doPAmine iv drip 2. วัด BP ถ้าเกิด hypotension ต้องหยุดให้ยา Phenytoin Risperidone – Serotonin Reuptake Inhibitors (Fluoxetine, Sertraline) Fluoxetine ไปยับยั้งการแปรรูปที่ตับของ Risperidone ส่งผลให้มีระดับยา Risperidone ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น serotonin จึงสะสมใน CNS อย่างรวดเร็ว เพิ่มความเสี่ยงการเกิด ภาวะ Serotonin syndrome (CNS irritability, เพิ่ม muscle tone, myoclonus, altered consciousness) ให้สังเกตอาการแสดงทางคลินิกของผู้ป่วยจากยา Risperidone เมื่อเริ่มให้ยา หยุดยา หรือเปลี่ยนขนาดยา Fluoxetine หรือ ให้ยา Sertaline ในขนาดสูง (>100 mg/day) ถ้าจาเป็นอาจปรับขนาดยา Risperidone Nondepol.muscle relaxants (Pancuronium, Rocuronium, Vecuronium) - Aminoglycoside (Amikacin, Gentamicin, Neomycin, Streptomycin) เกิดการเสริมฤทธิ์ เนื่องจาก Aminoglycoside มีฤทธิ์ neuromuscular blocking เช่นกัน เกิด non depolarizing muscle relaxation สูงขึ้น ทาให้เกิด respiratiory depression มากขึ้น ใช้ยาร่วมกันเมื่อจาเป็นเท่านั้น ปรับขนาดของยาคลาย กล้ามเนื้อ โดยดูจากอาการทาง neuromuscular ไม่ควรใช้ Calcium salt และ Anticholinesterase เป็น antidote ควรมี เครื่องช่วยหายใจเตรียมไว้ให้พร้อม Alteplase- Warfarin เกิดการเสริมฤทธิ์ เพิ่มฤทธิ์เลือดออกรุนแรง ห้ามใช้ร่วมกัน  Metformin- Iodinated contrast material patenteral Iodinated contrast material กระตุ้นให้เกิด renal failure ส่งผลให้ Metformin ถูก กาจัดออกทางไตลดลง เพิ่มความเสี่ยงในการเกิด metformin-induced lactic acidosis ห้ามใช้ยา 2 ตัวนี้ร่วมกัน หากจาเป็นให้หยุดยา Metformin ไม่น้อยกว่า 48 ชม. ก่อนและหลังฉีด contrast media เภสัชกรผู้ขอคาปรึกษา...........................................................................................
  • 16. 16 เฉพาะผู้ป่วยใน คาสั่งการรักษาของแพทย์  เปลี่ยนแปลงรายการยา…………………………………..…………………………………………... เปลี่ยนแปลงรายการยา……………………………………………………………………………….. เปลี่ยนแปลงรายการยา……………………………………………………………………………….. เปลี่ยนแปลงรายการยา………………………………………………………………………………..  เปลี่ยนแปลงขนาดยา……………………..………………………………………………………….. เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...……………………………………………………….. เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...……………………………………………………….. เปลี่ยนแปลงขนาดยา………………………...………………………………………………………..  ยืนยันการใช้ยาคู่เดิม และติดตามผู้ป่วยตามแนวทางการจัดการที่ระบุไว้ ผลการติดตาม……………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. แพทย์ผู้สั่งการรักษา……………………………วันที่………..……… พยาบาลผู้รับคาสั่งการรักษา....................………………วันที่…………..……
  • 17. 17 แบบบันทึกแนบ OPD card กรณีมีการสั่งใช้ยาจิตเวช ที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions)
  • 18. 18 ตัวอย่างแบบบันทึกแนบ OPD card กรณีมีการสั่งใช้ยาจิตเวช ที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions) (สีส้ม) ผู้ป่วยได้รับยาที่มี Drug Interaction ชื่อผู้ป่วย……………………………………….…………………………………………...…HN….………………..………………… ชื่อยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยขณะที่ใช้ยา  Propranolol – Chlorpromazine สับสน ประสาทหลอน เลือดไปเลี้ยงปลายมือปลายเท้าลดลง (ปลายมือปลายเท้าเย็น) ปวดหลัง ปวดข้อ  Propranolol – Thioridazine ความดันต่าเมื่อเปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลายไหล ลิ้นคับปาก มือสั่น ขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง  Lithium – Haloperidol ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หน้าตาเฉยไร้อารมณ์ น้าลายไหล ลิ้นคับปาก ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง  Thioridazine - Fluoxetine ความดันต่าเมื่อเปลี่ยนท่าทาง วิงเวียนศีรษะ กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง น้าลายไหล ลิ้นคับปาก มือสั่น ขณะพัก ผิวไวต่อแสงแดด ท้องผูก เหงื่อออกน้อย ง่วงนอน ปากแห้ง  Clozapine – SRIs (Fluoxetine, Sertraline) อ่อนเพลีย วิงเวียน ปวดศีรษะ สั่น กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก น้าหนักตัวเพิ่ม ปากแห้ง คอแห้ง ใจสั่น ตาพร่า เหงื่อออก น้าลายไหล ปัสสาวะลาบาก อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ อาการเหมือนไข้หวัด หรืออาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ  Lithium – ACEIs (Captopril, Enalapril, Quinapril, Ramipril) ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง  Lithium – Thiazide diuretics (HCTZ, Indapamide) ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง  Lithium – ARBs (Irbesartan, Losartan,Valsartan) ง่วงนอน มือสั่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดท้อง Lithium – Carbamazepine ซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินโซเซ สั่น และ hyper reflexia หมายเหตุ: หากพบว่าผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าว กรุณาส่งปรึกษาแพทย์โดยด่วน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย
  • 20. 20 แนวทางปฏิบัติกรณีมีการสั่งใช้ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน (Drug interactions:DIs) พบคาสั่งใช้คู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน Fatal DIs และยาจิตเวช ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน เภสัชกรปรึกษาแพทย์โดยบันทึกลง “แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้ ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน” แพทย์สั่งการรักษา โดยพิจารณาข้อมูลที่ ปรากฏในแบบฟอร์มฯ พยาบาลรับคาสั่งการรักษา เภสัชกรจ่ายยา ตามคาสั่งแพทย์ หากเป็นยาจิตเวช และ แพทย์ยืนยันให้ใช้คู่กัน ให้แนบ “แบบ บันทึกสาหรับแนบ OPD card” (สีส้ม) เภสัชกรบันทึกผลการติดตามลง “แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้ ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน)” แล้วส่ง DIS DIS รวบรวมบันทึกข้อมูล สรุปผลและ เผยแพร่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ เภสัชกรปรึกษาแพทย์โดยบันทึกลง “แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์กรณีมีการสั่งใช้ ยาที่เกิดอันตรกิริยาต่อกัน” แพทย์สั่งการรักษา โดยพิจารณาข้อมูลที่ ปรากฏในคอมพิวเตอร์หรือในแบบฟอร์ม เภสัชกรจ่ายยาตามคาสั่งแพทย์ หากเป็นยาจิตเวช และแพทย์ยืนยันให้ใช้ คู่กัน ให้แนบ “แบบบันทึกสาหรับแนบ OPD card” (สีส้ม) กับ OPD card ของ ผู้ป่วยด้วย เพื่อเฝ้าระวัง ADR ด้วย แล้วส่ง แบบฟอร์มปรึกษาแพทย์นั้น มายัง DIS DIS รวบรวมบันทึกข้อมูล สรุปผลและ เผยแพร่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ