SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ชื่อหนังสือ :	 คู่มือการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจ ในโครงการวิจัย
	 เรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อ	
	 ประสิทธิภาพการทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ
พิมพ์ครั้งที่ 1 :	เมษายน 2556
จำ�นวนพิมพ์ :	200 เล่ม
จัดพิมพ์โดย :	 บริษัท บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำ�กัด
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 1
	 โรคหัวใจ เป็นโรคที่เป็นสาเหตุการตายอันดับสองของผู้สูงอายุใน
ประเทศไทยรองจากโรคมะเร็งและเนื่องจากแนวโน้มในอนาคตจะมีผู้สูงอายุ	
จำ�นวนมากขึ้น โรคหัวใจจึงเป็นโรคที่น่าสนใจทำ�การศึกษาเพื่อป้องกันโรค
เพราะมีอุบัติการณ์มาก จึงควรค่าต่อการทุ่มเทงบประมาณและบุคลากร	
เพื่อการป้องกันที่จะเกิดโรคนี้ทั้งในด้านการป้องกันก่อนการเกิดโรคและการ	
เกิดโรคซํ้าการออกกำ�ลัยกายแบบแอโรบิกระดับกลางอย่างมีประสิทธิภาพ	
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของหัวใจและปอด แต่ในคนที่ออกกำ�ลัง
กายประสิทธิภาพการทำ�งานของหัวใจและปอดสามารถเพิ่มขึ้นได้อีก
	 โปรแกรมการฟื้นฟูหัวใจที่ใช้แพร่หลายทั่วโลกขององค์การอนามัยโลก
โดยนำ�ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจเช่นหัวใจขาดเลือดหลังผ่าตัดเส้นเลือดหัวใจหรือ
หลังทำ�บอลลูนที่เส้นเลือดหัวใจ มารับการรักษาเพื่อฟื้นฟูให้มีประสิทธิภาพ
กลับมาเช่นเดิมหรือดีขึ้นหลังเกิดโรค การควบคุมโภชนาการ การออก
กำ�ลังกายแบบแอโรบิก การหยุดบุหรี่ และการประเมินหาโรคซึมเศร้า	
สำ�หรับการวิจัยนี้จะนำ�โปรแกรมนี้มาใช้ในผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคหรือเพิ่ง	
ตรวจพบโรคหรือภาวะที่เป็นปัจจัยเสี่ยง มาประยุกต์ใช้แทนผู้ป่วยที่เกิด
โรคแล้ว เพื่อเป็นการป้องกันตั้งแต่ก่อนเกิดโรค และลดอุบัติการณ์การเกิด	
โรคหัวใจต่อไป
คำ�นำ�
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ2
	 การจัดทำ�คู่มือการการดูแลตนเองสำ�หรับผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง	
โรคหลอดเลือดหัวใจฉบับนี้จัดทำ�เพื่อใช้ประกอบโครงการวิจัยเรื่อง
ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพการทำ�งาน
ของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ คณะผู้จัดทำ�โครงการวิจัยฯ ขอขอบพระคุณ
อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ที่กรุณาให้คำ�ชี้แนะและทบทวน
ความถูกต้องทางวิชาการซึ่งเป็นประโยชน์อย่างสูงในการดำ�เนินโครงการ
วิจัยและจัดทำ�คู่มือในครั้งนี้
คณะผู้จัดทำ�โครงการวิจัยฯ
เมษายน 2556
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 3
	 	 หน้า
หัวใจและโรคหลอดเลือดหัวใจ	 5
ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ	 7	
อาการโรคหลอดเลือดหัวใจ	 8	
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ	 9	
ข้อแนะนำ�และข้อควรระวังในการออกกำ�ลังกาย	 11
อาหารสำ�หรับโรคหลอดเลือดหัวใจ	 16	
การเลิกสูบบุหรี่	 18	
บรรณานุกรม	 24
สารบัญ

โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ4
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 5
หัวใจ
	 เป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่ว
ร่างกาย หัวใจเองจะมีหลอดเลือดที่มาเลี้ยงอยู่ เรียกหลอดเลือดนี้ว่า หลอด
เลือดแดงโคโรนารี ซึ่งถ้าหากหลอดเลือดนี้ตีบตันลงจะทำ�ให้กล้ามเนื้อหัวใจ
ขาดเลือดและตาย ร่างกายก็จะขาดเลือดมาเลี้ยงและเสียชีวิตอย่างฉับพลัน
ในที่สุด
คู่มือการดูแลตนเองสำ�หรับผู้สูงอายุ
ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ6
	 โรคนี้เกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจมีคราบไขมันเกิดขึ้นที่ผนังด้านใน
คราบไขมันนี้เมื่อเกิดขึ้นนานก็จะมีแคลเซียมหรือหินปูนมาเกาะจนทำ�ให้แข็ง
และหนามากขึ้น ถ้ามีการปริแตกของคราบไขมันร่างกายจะมองว่าเหมือนมี
แผลจึงพยายามทำ�การซ่อมแซมโดยเกร็ดเลือดจะสร้างลิ่มเลือดเพื่ออุดรอย
ที่ปริแตก ถ้าโชคดีลิ่มเลือดก็จะเกิดเพียงภายในชั้นผนังของหลอดเลือด แต่
ที่พบบ่อยคือลิ่มเลือดจะขยายออกมาถึงช่องว่างของทางเดินหลอดเลือดก่อ
ให้เกิดหลอดเลือดหัวใจตีบเฉียบพลัน เมื่อเกิดการตีบตันถึงประมาณ 50
เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป ปริมาณเลือดที่จะเข้าไปเลี้ยงหัวใจจะไม่เพียงพอ จนเกิด
อาการเจ็บหรือแน่นหน้าอกขึ้นเรียกว่าภาวะหัวใจขาดเลือด
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 7
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
1.	 ความดันโลหิตสูง
2.	 เบาหวาน
3.	 อ้วน
4.	 ไขมันในเลือดสูง
5.	 ประวัติคนในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคหัวใจก่อนชรา
6.	 อายุที่มากขึ้น
7.	 สูบบุหรี่
8.	 การขาดการออกกำ�ลังกาย
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ8
	 	 เจ็บหรือแน่นหน้าอก
	 	 ปวดบริเวณแขน ขากรรไกร และหลัง
	 	 เหนื่อย หายใจถี่ และสั้น
	 	 คลื่นไส้ และแสบบริเวณยอดอก
	 	 โดย 1 ใน 3 ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่แสดงอาการใดๆ
อาการของโรคหลอดเลือดหัวใจ
“อาการเจ็บแน่นหน้าอก
เป็นอาการที่พบบ่อยของผู้โรคหลอดเลือดหัวใจ”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 9
	 กระบวนการที่สหสาขาวิชาชีพ ได้แก่
	 o	แพทย์
	 o	นักกายภาพบำ�บัด
	 o	นักโภชนาการ
	 o	นักจิตวิทยา
	 o	พยาบาล
ร่วมกันดูแลและให้คำ�แนะนำ�ในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อโรคหลอด
เลือดหัวใจและการเกิดโรคซํ้า และต้องการความร่วมมือของผู้ดูแลด้วย โดย
ไม่ใช่เป็นเพียงการแนะนำ�การออกกำ�ลังกายเท่านั้น โดยมุ่งช่วยให้มีชีวิต
สุขภาพดีหรืออาจจะทำ�ให้กลับสู่ชีวิตที่มีสุขภาพมากกว่าก่อนเป็นโรคหลอด
เลือดหัวใจด้วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ10
“การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ เป็นกระบวนการของสหสาขาวิชาชีพ
ในการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยคนหนึ่ง ร่วมกับผู้ดูแลด้วย”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 11
	 1.	การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือด	
	 	 หัวใจ เช่น การสูบบุหรี่
	 2.	คำ�แนะนำ�ในการเริ่มกิจกรรมและการออกกำ�ลังกาย
	 3.	การแนะนำ�ด้านโภชนาการ
	 4.	การลดความเครียด
กระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ
การออกกำ�ลังกาย ประกอบด้วย 3 ช่วงสำ�คัญ
	 1.	อบอุ่นร่างกาย (Warm Up)
	 	 ใช้เวลา 5-10 นาที ด้วยการยืดกล้ามเนื้อ
	 2.	ออกกำ�ลังกาย (Exercises)
	 	 ใช้เวลาในช่วงแรก 5-10 นาที จากนั้นค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยจนถึง
ประมาณ 20-30 นาที โดยควรจะมีการวัดชีพจรตนเองซึ่งไม่ควรเกิน 20
ครั้ง/นาที เมื่อเทียบกับชีพจรขณะพัก รวมทั้งการประเมินความรู้สึกเหนื่อย
ของตนเองโดยออกกำ�ลังกายจนถึงระดับเริ่มเหนื่อยหรือค่อนข้างเหนื่อย
และพยายามสังเกตอาการที่ควรหยุดออกกำ�ลังกาย
	 3.	ผ่อนคลาย	(Cool Down)
	 	 ใช้เวลา 5-10 นาที ด้วยการยืดกล้ามเนื้อ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ12
“การเดินบนทางราบ เป็นวิธีออกกำ�ลังกายที่เหมาะสมที่สุด
สำ�หรับผู้สูงอายุทั่วไป”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 13
ข้อควรระวังขณะออกกำ�ลังกาย ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้ให้หยุดออกกำ�ลังกาย
	 1.	 คลื่นไส้ หรือเวียนศีรษะ
	 2.	 เหนื่อยหรือเมื่อยล้า
	 3.	 ชีพจรเต้นเร็วเกินไป หรือช้าลงทันที
	 4.	 ปวดข้อ, กระดูก หรือ กล้ามเนื้อ
	 5.	 เจ็บแน่นหน้าอกหรือเจ็บร้าวไปที่กราม หู คอ มือและหลัง
	 6.	 อาเจียน ตัวเย็น เหงื่อออก หรือ รู้สึกหมดแรง
ข้อแนะนำ�ในการออกกำ�ลังกายโดยการเดิน
	 •	 ควรเดินในทางราบ หลีกเลี่ยงทางลาดชัน
	 •	 อย่าออกกำ�ลังกายเมื่ออากาศร้อนอบอ้าว หรือหนาวเกินไป
	 	 และควรแต่งกายเหมาะสมกับสภาพอากาศ
	 •	 บางวันที่รู้สึกไม่สบายก็ให้ลดระดับการออกกำ�ลังกายลง
	 	 แต่ให้คงระยะเวลาเท่าเดิมไว้อย่างสมํ่าเสมอ
	 •	 ไม่ควรออกกำ�ลังกายภายใน 2ชั่วโมงหลังรับประทานอาหารมื้อหลัก
	 •	 ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ภายใน 2 ชั่วโมงก่อนออกกำ�ลังกาย
	 •	 อย่ากำ�มือหรือเกร็งแขนขณะออกกำ�ลังกายเพราะจะทำ�ให้
	 	 ความดันโลหิตสูงขึ้นผิดปกติ
	 •	 การอาบนํ้าหลังออกกำ�ลังกายควรอาบนํ้าอุ่น ไม่ควรอาบนํ้าเย็น
	 	 หรือร้อนเกินไป
	 •	 งดออกกำ�ลังกายเมื่อเป็นไข้หรือหวัด
	 •	 พยายามอย่ากลั้นหายใจขณะออกกำ�ลังกาย
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ14
“ ในผู้ที่มีปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อมอาจเปลี่ยนจากออกกำ�ลังกาย
โดยการเดิน เป็นการปั่นจักรยานได้ ”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 15
“การออกกำ�ลังกายในนํ้า ก็เป็นตัวเลือกที่ดีในการออกกำ�ลังกาย
สำ�หรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาโรคข้อ”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ16
	 		 ข้าวแป้งและธัญพืชไม่ขัดสี เช่นข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีท ข้าวโอ๊ต
ข้าวบาร์เลย์ซีเรียลคอนเฟลคจมูกข้าวสาลีงาถั่วแดงถั่วเหลืองถั่วดำ� ถั่วเขียว	
เป็นต้น
			 ผักและผลไม้หลากหลายชนิดและสีเช่นบร็อคโคลีผักโขมพริกหวาน
กะหลํ่าปลี ดอกกะหลํ่า มะเขือเทศ ส้ม แอปเปิ้ล สตรอเบอรรี่ ลูกพรุน
			 เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ขาว นมพร่องมันเนย หรือนมขาดมันเนย
			 ไขมันชนิดไม่อิ่มตัว เช่น นํ้ามันมะกอก นํ้ามันคาโนล่า นํ้ามัน
รำ�ข้าว นํ้ามันดอกทานตะวัน นํ้ามันถั่วเหลือง เนยถั่วลิสง ถั่วลิสง อัลมอนด์
เม็ดมะม่วงหิมพานต์ แมคคาดีเมีย วอลนัท พิสตาชิโอ อะโวคาโด
			 ปลาทะเลอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง โดยไม่ควรนำ�ไปทอด
			 เลือกปรุงอาหารด้วยวิธี นึ่ง อบ ตุ๋น ยำ� ย่าง ต้มจืด แกงส้ม และ
แกงไม่ใส่กะทิ
อาหารที่ควรรับประทานสำ�หรับโรคหลอดเลือดหัวใจ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 17
	 	อาหารทอดหรือผัดที่มัน
	 	เนยเทียม เนยขาว เบเกอรี่ อาหารฟาสต์ฟู้ต
	 	อาหารทอดแช่แข็ง
	 	เครื่องในสัตว์ ไข่แดง ไข่ปู ไข่ปลา
	 	อาหารทะเล (ยกเว้นปลา)
	 	เนื้อสัตว์ติดมันติดหนัง เนื้อสัตว์แปรรูป (หมูยอ กุนเชียง แหนม
ไส้กรอก เบคอน บาโลน่า) เนยสด ขาหมู หมูสามชั้น นํ้ามันหมู นํ้ามันปาล์ม
นํ้ามันมะพร้าว กะทิ
	 	แอลกอฮอล์ ไม่เกิน 1 ดริ๊งค์ในผู้หญิง หรือ 2 ดริ๊งค์ในผู้ชาย (1 ดริ๊งค์
เท่ากับ วิสกี้ 45 มล. หรือ ไวน์ 120 มล. หรือ เบียร์ 360 มล.)
	 	อาหารรสหวานหรือมันหรือเค็มจัด
อาหารที่ไม่ควรรับประทานสำ�หรับโรคหลอดเลือดหัวใจ

โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ18
การเลิกสูบบุหรี่
ปัจจัยที่เลิกบุหรี่ไม่ได้ มี 3 ข้อ ได้แก่
	 1.	ติดสารนิโคติน
	 จะมีอาการถอน เช่น วิงเวียน ปวดศีรษะ หงุดหงิด กระวนกระวาย ควร
ใช้วิธียาช่วย ได้แก่ ยาที่เป็นสารนิโคตินมีทั้งแบบหมากฝรั่งหรือแผ่นแปะ
หรือยาประเภทบิวโปรไพออน ร่วมกับหลีกเลี่ยงใกล้คนที่สูบบุหรี่
	 2.	ความเคยชินในการสูบบุหรี่
	 เช่นก่อนหรือหลังรับประทานอาหารระหว่างพักงานหรือพักการประชุม
หรือช่วงพักดื่มชากาแฟ หรือแก้เคอะเขิน หรือชินกับการคาบบุหรี่ในปาก
ควรแก้ไขด้วยวิธีหาสิ่งอื่นทำ�แทน เช่น เดินเล่นหลังรับประทานอาหาร นั่ง
สนทนากับบุคคลที่ไม่สูบบุหรี่ หางานอดิเรกทำ� เช่น ทำ�สวน วาดรูป ทำ�ขนม
เป็นต้น หรือใช้หมากฝรั่งหรือลูกอมกลิ่นหอมสดชื่นแทน
	 3.	ภาวะจิตใจต้องพึ่งพาการสูบบุหรี่
	 เช่น ต้องการหายจากความเครียด ความทุกข์ ควรแก้ไขด้วยการหาวิธี
ผ่อนคลายอื่นๆ เช่น ออกกำ�ลังกายสมํ่าเสมอ หาเวลาพักผ่อน หานํ้าผลไม้
สดชื่นดื่ม
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 19
“การลดความเครียด วิธีที่ได้ผลดีวิธีหนึ่ง คือ
การศึกษาธรรมะ ทำ�บุญ และนั่งสมาธิ”
นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ = สุขใดยิ่งกว่าความสงบไม่มี
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ20
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 21
การจับชีพจรด้วยตนเอง
	 1.	ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือด้านที่ถนัดวางลงบริเวณข้อมือด้านนิ้วหัว
แม่มือของแขนด้านตรงข้าม
	 2.	จับคลื่นที่มากระทบกับนิ้วมือ เมื่อไม่พบให้เลื่อนนิ้วมือทั้งสองไปจน
พบตำ�แหน่งของคลื่นชีพจร
	 3.	นับจำ�นวนคลื่นที่มากระทบนิ้วมือใน 1 นาที โดยปกติแล้วในขณะพัก
หัวใจจะเต้น ประมาณ 60-100 ครั้ง/นาที
	 4.	ควรนับชีพจรทั้งก่อนและหลังการออกกำ�ลังกาย

โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ22
“ภาพแสดงวิธีการจับและนับชีพจรตนเอง
ร่วมกับตามองที่นาฬิกาจับเวลา”
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 23
ตัวอย่างตารางการบันทึกการออกกำ�ลังกาย
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ24
	 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. แนวทางเวชปฏิบัติการจัดกิจกรรมทางกาย
(Physical Activity) สำ�หรับผู้สูงอายุกับโรคหัวใจ, กรุงเทพ: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กันยายน 2549.
บรรณานุกรม

โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 25

	 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี
คณะผู้จัดทำ�
	 1.	นายแพทย์อัมรุทฬ์	 เชื้อจักร์
	 2.	นางสาวกัลยพร	 นันทชัย
	 3.	นางจิรนันท์	 ทองสัมฤทธิ์
ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
	 1.	นายแพทย์สิทธิชัย	 อาชายินดี
	 2.	ดร.อรวรรณ	 เวอร์เนอร์
รวบรวมและจัดทำ�โดย
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ26
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 27
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ28
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ 29
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจประยุกต์ต่อประสิทธิภาพ
การทำ�งานของหัวใจและปอดในผู้สูงอายุ30
ติดต่อเรา
	 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ
	 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
	 444 ต.ห้วยใหญ่ อ.บางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
	 โทรศัพท์ 038-343-572 โทรสาร 038-343-571

More Related Content

What's hot

11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดHummd Mdhum
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลPreeyanush Rodthongyoo
 

What's hot (20)

11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 

Similar to คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29Ming Gub Yang
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพThiti Wongpong
 
1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)giftsairudee
 
7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting food7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting foodHealthAddict
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 

Similar to คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (20)

Present
PresentPresent
Present
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)
 
7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting food7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting food
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Health tips
Health tipsHealth tips
Health tips
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด