SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์
(Animal Growth and Development)
จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
(Embryonic development)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
(Metamorphosis)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)
เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ เขียนสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้ง
สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์
แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของ
สัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
# การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง
และการทางานของโครงสร้างนั้น
# กระบวนการเจริญเติบโต
1. การเพิ่มจานวนเซลล์
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์
4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน
# ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต
1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ
2.2 ปัจจัยทางกายภาพ
2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน
2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของ
สัตว์
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
เจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตต่อการ
ปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ชนิดต่างๆ กับกระบวนการเจริญเติบโตของมนุษย์ มี
ลักษณะเปรียบเทียบกันอย่างไรบ้าง
> กระบวนการเจริญเติบโตในมนุษย์กับการกระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์
ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย
> นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์ไม่มีกระบวนการเจริญเติบโตหรือมีเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการ
เจริญเติบโตเช่นเดียวกับแมลง ผลที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตใน
มนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
แล้ว เช่น กระบวนการเจริญเติบโตในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
จงอธิบาย
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์” ว่า
# การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง
และการทางานของโครงสร้างนั้น
# กระบวนการเจริญเติบโต
1. การเพิ่มจานวนเซลล์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแบ่งเซลล์ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ เกิดชีวิต
ใหม่ขึ้น มี หลายแบบ เช่น การแบ่งแยกตัวเป็นส่วนๆ การแตกหน่อเป็นต้น ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การแบ่ง
เซลล์เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น เช่น การแบ่งเซลล์จากตัวอ่อนเป็นตัวเต็มวัย สร้างเซลล์ใหม่เพื่อ
ทดแทนเซลล์เก่า เช่น เซลล์ผิวหนัง
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ หมายถึง กระบวนการสะสมและสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายโมเลกุลของ
เซลล์ ทาให้โมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือมีการรวมกันระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุล เป็นผลให้เซลล์ต้องขยาย
ขนาดตามไปด้วย จึงเกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เช่นงูจะมีการลอกคราบเมื่อมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ ทั้งรูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์เนื่องจากในระยะแรก เซลล์อาจจะ
ทาหน้าที่อย่างหนึ่ง แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทางานจึงเกิดการเปลี่ยนสภาพเซลล์ ตามไปด้วยเพื่อให้
ได้เซลล์ที่สามารถทาหน้าที่ที่ต่างกัน การเปลี่ยนสภาพเกิดทั้งทางกายภาพและชีวเคมี ทั้งในระดับโมเลกุล
ระดับเซลล์ ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ และระดับระบบอวัยวะ เซลล์ที่ได้ใหม่ จะมีลักษณะแตกต่างไปจาก
เซลล์เดิม
4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน สิ่งมีชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างตลอดเวลาตั้งแต่แรกเกิด จนเป็นตัว
เต็มวัย เนื่องจากมีการแบ่งเซลล์ หรือเพิ่มจานวนเซลล์ รูปร่างตอนโตอาจจะแตกต่าง จากตอนแรกเกิดมาก
หรือไม่เหมือนกันเลย เช่น กบ ผีเสื้อ เป็นต้น การเติบโตในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะหยุดเมื่อโตเต็มวัย โดยการใช้
ความสูงที่หยุดเป็นเกณฑ์ ไม่คานึงว่าน้าหนักจะเพิ่มหรือลดลง
# ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต
1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การที่สิ่งมีชีวิตจะมีการเติบโต
เป็นอย่างไรนั้นขึ้นกับพันธุกรรมเป็นอันดับแรก เพราะการเจริญเติบโต ของตัวอ่อนจะมีขั้นตอนเหมือน
พ่อแม่ แต่อัตราการเติบโตจะแตกต่างกันได้ ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ของสิ่งมีชีวิตในขณะนั้น
2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ การเติบโตที่ผิดปกติอาจเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน
เช่น ถ้าร่างกายมีปรสิต เช่น พยาธิ แบคทีเรีย เกาะทาลายเนื้อเยื่อ หรือดูดสารอาหาร จะทาให้การ
เติบโตช้า ผิดปกติ หรือตายได้
2.2 ปัจจัยทางกายภาพ
2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็นต้น
2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือฮอร์โมน
เนื่องจากฮอร์โมน และสารที่เกี่ยวข้องโมน จะควบคุมการทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายให้เป็น
ปกติ
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
เจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงได้อย่างเหมาะสม
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ การสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)
เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Embryonic development) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic
development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Embryonic development) ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic
development) ของสัตว์แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development)
ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
# การจาแนกชนิดของไข่สัตว์
1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ
1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg)
1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg)
1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg)
1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg)
2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ
2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal)
2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
*** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg)
*** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg)
*** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg)
# การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ
1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage)
1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage)
1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage)
2. บลาสทูเลชัน (Blastulation)
3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation)
# การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้
1. อินแวจิเนชัน (Invagination)
2. อีพิโบลี (Epiboly)
3. อินวอลูชัน (Involution)
4. ดีแลมิเนชัน (Delamination
# การเกิดรูปร่างของเอมบริโอ ดังต่อไปนี้
1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm)
2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm)
3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของ
สัตว์ (Embryonic development)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน
(Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัว
อ่อน (Embryonic development) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์ชนิดต่างๆ กับของ
มนุษย์ มีลักษณะเปรียบเทียบกันอย่างไรบ้าง
> การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในมนุษย์กับ
กระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย
> นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์มีปริมาณไข่แดงมากเช่นเดียวกับไก่ การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน
(Embryonic development) ที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตในระยะ
ตัวอ่อน (Embryonic development) ในมนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
แล้ว เช่น การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มี
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic
development)” ว่า
# การจาแนกชนิดของไข่สัตว์
1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ
1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มี
เลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัวอ่อนที่เกิดจากไข่ชนิดนี้ ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ไข่ของสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม
1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอย
เม่น ปลาดาว เป็นต้น
1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่
ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้ส่วนของ
นิวเคลียสและไซโทพลาสซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้งไข่แมลง
ด้วย
2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ
2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากหรือเกือบไม่มีเลย ส่วน
ของ ไข่แดงแดงกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์อย่างสม่าเสมอ เช่น ไข่ของปลาดาว หอยเม่นและไข่ของสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนม
2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) เป็นไข่ชนิดใหญ่มีไข่แดงมาก ตามปกติไข่แดง
จะบรรจุอยู่ใน แกรนูล (Granule) ขนาดใหญ่เรียกว่าแผ่นไข่แดง (York plate) ทาให้ไข่แดง แยกออกจากไซ
โทพลาสซึม โดยรวมตัวเป็นกลุ่มทางตอนล่างของไข่ที่เรียกว่า เวเจทัลโพล (Vegetal pole) ส่วนนิวเคลียส
และไซโทพลาสซึมจะอยู่ด้านบนของไข่เรียกว่า แอนิมัลโพล (Animal pole)
แอนิมัลโพล (Animal pole)แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
*** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg) เป็นไข่ ชนิด
ที่ไข่แดงไม่ได้แยกออกจากไซโทพลาสซึม แต่กระจายอยู่ใน ไซโทพลาสซึม ไม่สม่าเสมอจะไปอยู่กัน หนาแน่น
ที่ข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
*** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดง
มารวมกันเป็นกลุ่มก้อนด้านล่างของไข่ ส่วนนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมที่เหลือ จะรวมกันเป็นแผ่นเล็ก
ๆ เรียกว่า บลาสโตดิสต์ (Blastodisc) ซึ่งจะถูกดันให้ไปอยู่ที่ ขอบเซลล์ได้แก่ ไข่ของนก สัตว์เลื้อยคลานและ
ปลากระดูกแข็ง
*** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดงจับกลุ่มกัน อยู่
ตรงกลาง ที่มีไซโทพลาสซึมล้อมรอบ ได้แก่ ไข่ของพวกแมลง
# การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ
1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage) เริ่มโดยการแบ่งตัวแบบไมโตซิสของไซโกตอย่างรวดเร็วจน
เป็นกลุ่มเซลล์เล็ก ๆ จานวนมากมาย แต่ไม่เจริญเติบโตขึ้น เซลล์ที่ได้นี้เรียกว่า บลาสโตเมียร์
(Blastomere) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่ามอรูลา (Morula)
1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage) เป็นวิธีการแบ่งตัวของไซโกต
แบบหนึ่งที่เป็นการแบ่งตัวของไซโกต ตลอดทั้งเซลล์ถ้าเซลล์ที่ได้จากการแบ่งมีขนาดเท่ากัน
หรือเกือบเท่ากันก็เรียกว่า อิควล โฮโลบลาสติค คลีเวจ
(Equal holoblastic cleavage) แต่ถ้ามีขนาดไม่เท่ากันเรียกว่า อันอิควล โฮลบลาสติค
คลีเวจ (Unequal holoblastic cleavage)
1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage) เป็นการแบ่งตัวของไซโกตที่ไม่
เกิดขึ้นตลอดทั้งเซลล์ แนวการแบ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะด้านบนของไข่ ตรงบริเวณที่เรียกว่า
บลาสโตดิส หรือบริเวณเจอมินัล (Germinal disc) พบในพวกไข่ของสัตว์ปีก
2. บลาสทูเลชัน (Blastulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดย
เซลล์บลาสโตเมียร์ จะมาจัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะ
คล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้างใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่าบลา
สทูลา (Blastula) และชั้นของเซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm)
3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์ต่อจากบลาสทูเลชัน ที่ทา
ให้เกิดเยื่อคัพภะ (Germ layer) ขึ้นในตัวอ่อน โดยการเกิดเยื่อคัพภะชั้นนอกเรียกว่า เอกโตเดิร์ม
(Ectoderm) เยื่อชั้นในเรียกว่า เอนโดเดิร์ม (Endoderm) และเยื่อชั้นกลางเรียกว่า มีโซเดิร์ม
(Mesoderm) ตัวอ่อนระยะนี้เรียกว่า แกสทรูลา (Gastrula)
# การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ไม่ว่าจะเป็นแบบใดก็ตาม จะทาให้เกิดช่องใหม่ขึ้นในตัวของตัว
อ่อน เรียกว่าแกสโตซีล (Gastrocoel) หรือ อาร์เคนเทอรอน (Archenteron) ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร
ระยะแรก ส่วนรูเปิดออกสู่ภายนอกของช่องนี้ เรียกว่าบลาสโตพอร์ (Blastopore) การเกิดเยื่อคัพภะ ของ
เอมบริโอ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้
1. อินแวจิเนชัน (Invagination)
2. อีพิโบลี (Epiboly)
3. อินวอลูชัน (Involution)
4. ดีแลมิเนชัน (Delamination
# การเกิดรูปร่างของเอมบริโอ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการที่ต่อเนื่องจาก
กระบวนการแกสทรูเลชัน โดยเยื่อคัพภะ จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย จึงเกิดเป็นระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายของ
สัตว์ ดังต่อไปนี้
1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm)
- ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์
- ระบบประสาท(สมอง,ไขสันหลัง)
- ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง
- สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย
- ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย
2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm)
- ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ
- ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม)
- ระบบขับถ่าย (ไต)
- ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่)
3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm)
- ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร ,ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน)
- ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด)
- ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์
- ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง
- กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและ
ความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) การสรุปเปรียบเทียบ
กระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูงได้อย่างเหมาะสม
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของ
สัตว์ (Embryonic development) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน
(Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตใน
ระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic
development): www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic
development): www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Embryonic development)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)
เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Metamorphosis) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของ
สัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
อย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Metamorphosis) ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของ
สัตว์แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis)
ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
# การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ
1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น
2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น
3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น
4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น
# เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve) สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการเจริญเติบโตเป็น
รูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ
# เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ
1. ระยะเริ่มต้น
2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว
3. ระยะคงที่
4. ระยะสิ้นสุด
# ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแบบขั้นบันได
# การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์
1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis )
1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis)
1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis)
1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis)
2. เมทามอร์โฟซิสของกบ
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ
สัตว์ (Metamorphosis)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน
(Metamorphosis) ของสัตว์แต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัว
อ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่างๆ กับมนุษย์ มีลักษณะเปรียบเทียบกัน
อย่างไรบ้าง
> การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนในมนุษย์กับการกระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและ
สืบพันธุ์ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย
> นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์มีเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน
เช่นเดียวกับแมลง ผลที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการเจริญเติบโตหลังระยะตัว
อ่อนในมนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
แล้ว เช่น การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีรูปแบบแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
จงอธิบาย
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Metamorphosis)” ว่า
*** การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ
1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น การวัดน้าหนักเป็นเกณฑ์ที่
สาคัญที่ใช้ในการวัดการเติบโต เพราะการที่น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ เนื่องมากจากเซลล์ของร่างกายเพิ่มมาก
ขึ้นหรือมีการสร้างและสะสมของสารต่างๆ ภายในเซลล์และร่างกายมากขึ้น การเพิ่มของน้าหนักจะมี
ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับอัตราการเติบโต จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ ในการวัดการเติบโตมากกว่า
เกณฑ์อื่นๆ
2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น ความสูงที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เป็นอัตราส่วนกับมวลหรือน้าหนักที่
เพิ่มขึ้น ดังนั้นการวัดความสูงจึงเป็นการคาดคะเนการเติบโตเท่านั้น
3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น ปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมักจะสัมพันธ์กับน้าหนักที่เพิ่มขึ้น แต่การหา
ปริมาตรจะมีความยุ่งนากและลาบากกว่าการหาน้าหนักจึงไม่ค่อยนิยมใช้กันมากนัก
4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น การนับจานวนเซลล์จะใช้กับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆ ได้ เช่น
การเพิ่มจานวนเซลล์ของสาหร่าย ไม่นิยมใช้กับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ๆ
*** เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve)
เส้นโค้งที่แสดงการเติบโตอาจจะวัดออกมาเป็นหน่วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่
เปลี่ยนไป หรือหน่วยความสูงที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการ
เจริญเติบโตเป็นรูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ
*** เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ
1. ระยะเริ่มต้น เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นเริ่มการเติบโต ในระยะนี้จะเป็นไปอย่างช้าๆ เส้น
โค้งการเติบโตจึงมีความชันน้อย
2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นระยะที่ต่อจากระยะแรกโดยที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นจะมีการเพิ่ม
จานวนเซลล์มีการสร้างสารต่างๆ สะสมในเซลล์มากขึ้นทาให้น้าหนักหรือความสูงหรือจานวนเซลล์
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนโค้งการเติบโตจึงชันมากกว่าระยะอื่นๆ
3. ระยะคงที่ เป็นระยะที่มีการเติบโตสิ้นสุดแล้ว ทาให้น้าหนัก ความสูงหรือขนาดของ
สิ่งมีชีวิต ไม่เพิ่มขึ้นและค่อนข้างจะคงที่อยู่อย่างนั้นตลอดไป
4. ระยะสิ้นสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตเติบโตถึงที่สุดแล้ว และถ้าปล่อยเวลาต่อไปอีกก็จะถึงระยะเวลาที่
ร่วงโรยเสื่อมโทรมในที่สุดก็จะตายไป
*** ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแตกต่างจาก
สิ่งมีชีวิตทั่วไป เช่น มวนน้าชนิดหนึ่ง จะมีแบบแผนแบบขั้นบันได
*** การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์
สัตว์บางชนิดเช่น แมลงและกบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่
เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส
(metamorphosis)
1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis ) ตัวอ่อนที่
ฟักออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนกับพ่อแม่ทุกอย่าง แล้วตัวอ่อนก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตแล้วลอกคราบ
เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด
1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis) ตัวอ่อนที่ฟักออกมา
จากไข่มีรูปร่างคล้ายพ่อแม่ แต่มีอวัยวะบางอย่างไม่ครบ เช่น ไม่มีปีก เมื่อแมลงโตขึ้นและลอกคราบ
ปีกจะเริ่มงอกขึ้นเรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า นิมฟ์ (nymph) ต่อจากนั้นก็จะมีการลอกคราบหลายครั้งและ
เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ ปลวก เหา ไร่ไก่ จักจั่น
1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) มีลักษณะคล้าย
แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ขณะที่เจริญเติบโตนั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่า ตัวอ่อนมักเจริญอยู่
ในน้า หายใจด้วยเหงือกเรียกว่า ไนแอด (naiad) ต่อจากนั้นตัวอ่อนจะลอกคราบขึ้นมาอยู่บนบกและ
หายใจด้วยระบบท่อลม เช่น ชีปะขาว แมลงปอ
1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) โดยมีการเจริญ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างของร่างกาย เป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ ไข่ (egg) แล้วฟักเป็นตัวอ่อนหรือตัว
หนอน (larva) ซึ่งกินอาหารเก่งมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่อจากนั้นจึงเป็น
ดักแด้ (pupa) หยุดกินอาหารมักใช้ใยหรือใบไม้หุ้มตัวและฟักตัวอยู่ระยะหนึ่ง ตัวเต็มวัย (adult) ออก
จากเกราะและสืบพันธุ์ได้ต่อไป เช่น ด้วง ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ผึ้ง ไหม
2. เมทามอร์โฟซิสของกบ
กบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ซึ่งตามปกติแล้วฤดูผสมพันธุ์นั้นคือ ฤดูฝน ไข่ไม่มีเปลือก
หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิ 3-12 ชั่วโมงจะมีการแบ่งเซลล์เกิดขึ้น ตัวอ่อนจะงอกหาง
เมื่ออายุได้ 4 วัน วันที่ 6 หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด ว่ายน้าและหายใจด้วย
เหงือก ซึ่งอยู่ภายนอก มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่อโดย
หางจะหดสั้นเข้า ขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปี ก็
จะเป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและ
ความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) การสรุปเปรียบเทียบ
กระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้
ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงได้
อย่างเหมาะสม
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ
สัตว์ (Metamorphosis) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis)
ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์
(Metamorphosis) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis):
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis):
www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ
สัตว์ (Metamorphosis)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบกิจกรรม เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง
พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ.............
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก
ที่ ชื่อ-สกุล
การตอบคาถาม
การร่วมกิจกรรม
การแสดงความคิดเห็น
การซักถาม
รวมคะแนน
ระดับคะแนน
10-12 7-9 4-6
3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............
ที่ ชื่อ-สกุล
ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน
ความรับผิดชอบของ
แต่ละคน
การมีส่วนร่วมในการ
ทางาน
ความคิดสร้างสรรค์
ผลงาน
รวม 20-25 12-19 5-11
5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
แบบประเมินผลงานนักเรียน
ชื่อชิ้นงาน ............................................................................................................................................................
วันที่............................... ชั้น ..................... ห้อง ........................ แผนการเรียน .................................................
ระดับคุณภาพ ดีมาก 11-15 คะแนน ปานกลาง 6-10 คะแนน ควรปรับปรุง 0-5 คะแนน
กลุ่ม
ที่
เลขที่สมาชิก
กลุ่ม
ผลการประเมินคะแนน ระดับ
คุณภาพ
ผลงาน
1. ความถูกต้อง
ตามจุดประสงค์
การเรียนรู้
2. ความ
ครบถ้วนของ
เนื้อหาสาคัญ
3.
ความคิด
สร้างสรรค์
4. ความ
สมบูรณ์
ของผลงาน
5. ความเรียบร้อย
สวยงามของ
ชิ้นงาน
รวม
คะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ลงชื่อ..................................ผู้ประเมิน
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
วันที่..................................................
เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินผลงานนักเรียน
หัวข้อการประเมิน ระดับคะแนน
1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน
1. ความถูกต้องตาม
จุดประสงค์การเรียนรู้
ชิ้นงานไม่ถูกต้องตาม
จุดประสงค์การเรียนรู้
ชิ้นงานถูกต้องตามจุดประสงค์
การเรียนรู้บางส่วน
ชิ้นงานถูกต้องตามจุดประสงค์การ
เรียนรู้ทั้งหมด
2. ความครบถ้วนของ
เนื้อหาสาคัญ
มีเนื้อหาสาคัญไม่ครบถ้วน มีเนื้อหาสาคัญแสดงบ้าง
บางส่วน
มีเนื้อหาสาคัญแสดงอย่างครบถ้วน
3. ความคิดสร้างสรรค์ ผลงานมีลักษณะเหมือนตัวอย่าง
ที่ครูสอนทุกประการ
ผลงานมีลักษณะบางส่วนเหมือน
ตัวอย่างที่ครูสอนทุกประการ
ผลงานไม่มีลักษณะเหมือนตัวอย่างที่ครู
สอนโดยมีรายละเอียดที่แตกต่างมากขึ้น
4. ความสมบูรณ์ของ
ผลงาน
ผลงานไม่เสร็จสมบูรณ์และใช้
เวลามากกว่าที่กาหนด
ผลงานเสร็จสมบูรณแต่ใช้เวลา
มากกว่าที่กาหนด
ผลงานเสร็จสมบูรณและใช้เวลาตามที่
กาหนด
5. ความเรียบร้อย
สวยงามของชิ้นงาน
ชิ้นงานไม่เรียบร้อยสวยงาม ชิ้นงานไม่สวยงามและมีความ
เรียบร้อย
ชิ้นงานสวยงามและมีความเรียบร้อย
Lessonplan 5animalgrowth

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12Bios Logos
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมMoukung'z Cazino
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 

Similar to Lessonplan 5animalgrowth

Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
BIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationBIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationPossawat Suksai
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้tawitch58
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่NawatHongthongsakul
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 

Similar to Lessonplan 5animalgrowth (20)

Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
BIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationBIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 Fertilization
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lessonplan 5animalgrowth

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง (Embryonic development) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง (Metamorphosis)
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ เขียนสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้ง สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสม 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของ สัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ # การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง และการทางานของโครงสร้างนั้น # กระบวนการเจริญเติบโต 1. การเพิ่มจานวนเซลล์ 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ 4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน # ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต 1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม 2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ
  • 3. 2.2 ปัจจัยทางกายภาพ 2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน 2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของ สัตว์ ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ เจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตต่อการ ปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ชนิดต่างๆ กับกระบวนการเจริญเติบโตของมนุษย์ มี ลักษณะเปรียบเทียบกันอย่างไรบ้าง > กระบวนการเจริญเติบโตในมนุษย์กับการกระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย
  • 4. > นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์ไม่มีกระบวนการเจริญเติบโตหรือมีเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการ เจริญเติบโตเช่นเดียวกับแมลง ผลที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตใน มนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน แล้ว เช่น กระบวนการเจริญเติบโตในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์” ว่า # การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง และการทางานของโครงสร้างนั้น # กระบวนการเจริญเติบโต 1. การเพิ่มจานวนเซลล์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแบ่งเซลล์ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ เกิดชีวิต ใหม่ขึ้น มี หลายแบบ เช่น การแบ่งแยกตัวเป็นส่วนๆ การแตกหน่อเป็นต้น ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การแบ่ง เซลล์เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น เช่น การแบ่งเซลล์จากตัวอ่อนเป็นตัวเต็มวัย สร้างเซลล์ใหม่เพื่อ ทดแทนเซลล์เก่า เช่น เซลล์ผิวหนัง 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ หมายถึง กระบวนการสะสมและสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายโมเลกุลของ
  • 5. เซลล์ ทาให้โมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือมีการรวมกันระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุล เป็นผลให้เซลล์ต้องขยาย ขนาดตามไปด้วย จึงเกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เช่นงูจะมีการลอกคราบเมื่อมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ ทั้งรูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์เนื่องจากในระยะแรก เซลล์อาจจะ ทาหน้าที่อย่างหนึ่ง แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทางานจึงเกิดการเปลี่ยนสภาพเซลล์ ตามไปด้วยเพื่อให้ ได้เซลล์ที่สามารถทาหน้าที่ที่ต่างกัน การเปลี่ยนสภาพเกิดทั้งทางกายภาพและชีวเคมี ทั้งในระดับโมเลกุล ระดับเซลล์ ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ และระดับระบบอวัยวะ เซลล์ที่ได้ใหม่ จะมีลักษณะแตกต่างไปจาก เซลล์เดิม 4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน สิ่งมีชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างตลอดเวลาตั้งแต่แรกเกิด จนเป็นตัว เต็มวัย เนื่องจากมีการแบ่งเซลล์ หรือเพิ่มจานวนเซลล์ รูปร่างตอนโตอาจจะแตกต่าง จากตอนแรกเกิดมาก หรือไม่เหมือนกันเลย เช่น กบ ผีเสื้อ เป็นต้น การเติบโตในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะหยุดเมื่อโตเต็มวัย โดยการใช้ ความสูงที่หยุดเป็นเกณฑ์ ไม่คานึงว่าน้าหนักจะเพิ่มหรือลดลง # ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต 1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การที่สิ่งมีชีวิตจะมีการเติบโต เป็นอย่างไรนั้นขึ้นกับพันธุกรรมเป็นอันดับแรก เพราะการเจริญเติบโต ของตัวอ่อนจะมีขั้นตอนเหมือน พ่อแม่ แต่อัตราการเติบโตจะแตกต่างกันได้ ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ของสิ่งมีชีวิตในขณะนั้น
  • 6. 2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม 2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ การเติบโตที่ผิดปกติอาจเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน เช่น ถ้าร่างกายมีปรสิต เช่น พยาธิ แบคทีเรีย เกาะทาลายเนื้อเยื่อ หรือดูดสารอาหาร จะทาให้การ เติบโตช้า ผิดปกติ หรือตายได้ 2.2 ปัจจัยทางกายภาพ 2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็นต้น 2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือฮอร์โมน เนื่องจากฮอร์โมน และสารที่เกี่ยวข้องโมน จะควบคุมการทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายให้เป็น ปกติ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ เจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงได้อย่างเหมาะสม ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ การสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์
  • 7. 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสม 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ # การจาแนกชนิดของไข่สัตว์ 1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ 1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg) 1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg) 1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg) 1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg) 2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ 2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal) 2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ *** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg) *** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg) *** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg)
  • 9. # การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ 1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage) 1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage) 1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage) 2. บลาสทูเลชัน (Blastulation) 3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation) # การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้ 1. อินแวจิเนชัน (Invagination) 2. อีพิโบลี (Epiboly) 3. อินวอลูชัน (Involution) 4. ดีแลมิเนชัน (Delamination # การเกิดรูปร่างของเอมบริโอ ดังต่อไปนี้ 1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) 2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm) 3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของ สัตว์ (Embryonic development) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัว อ่อน (Embryonic development) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50%
  • 10. 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์ชนิดต่างๆ กับของ มนุษย์ มีลักษณะเปรียบเทียบกันอย่างไรบ้าง > การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในมนุษย์กับ กระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย > นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์มีปริมาณไข่แดงมากเช่นเดียวกับไก่ การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตในระยะ ตัวอ่อน (Embryonic development) ในมนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน แล้ว เช่น การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มี ปัจจัยที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development)” ว่า # การจาแนกชนิดของไข่สัตว์ 1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ 1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มี เลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัวอ่อนที่เกิดจากไข่ชนิดนี้ ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ไข่ของสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม 1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอย เม่น ปลาดาว เป็นต้น 1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่ ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก 1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้ส่วนของ นิวเคลียสและไซโทพลาสซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้งไข่แมลง ด้วย 2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ 2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากหรือเกือบไม่มีเลย ส่วน ของ ไข่แดงแดงกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์อย่างสม่าเสมอ เช่น ไข่ของปลาดาว หอยเม่นและไข่ของสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม 2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) เป็นไข่ชนิดใหญ่มีไข่แดงมาก ตามปกติไข่แดง จะบรรจุอยู่ใน แกรนูล (Granule) ขนาดใหญ่เรียกว่าแผ่นไข่แดง (York plate) ทาให้ไข่แดง แยกออกจากไซ
  • 11. โทพลาสซึม โดยรวมตัวเป็นกลุ่มทางตอนล่างของไข่ที่เรียกว่า เวเจทัลโพล (Vegetal pole) ส่วนนิวเคลียส และไซโทพลาสซึมจะอยู่ด้านบนของไข่เรียกว่า แอนิมัลโพล (Animal pole) แอนิมัลโพล (Animal pole)แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ *** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg) เป็นไข่ ชนิด ที่ไข่แดงไม่ได้แยกออกจากไซโทพลาสซึม แต่กระจายอยู่ใน ไซโทพลาสซึม ไม่สม่าเสมอจะไปอยู่กัน หนาแน่น ที่ข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก *** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดง มารวมกันเป็นกลุ่มก้อนด้านล่างของไข่ ส่วนนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมที่เหลือ จะรวมกันเป็นแผ่นเล็ก ๆ เรียกว่า บลาสโตดิสต์ (Blastodisc) ซึ่งจะถูกดันให้ไปอยู่ที่ ขอบเซลล์ได้แก่ ไข่ของนก สัตว์เลื้อยคลานและ ปลากระดูกแข็ง *** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดงจับกลุ่มกัน อยู่ ตรงกลาง ที่มีไซโทพลาสซึมล้อมรอบ ได้แก่ ไข่ของพวกแมลง
  • 12. # การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ 1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage) เริ่มโดยการแบ่งตัวแบบไมโตซิสของไซโกตอย่างรวดเร็วจน เป็นกลุ่มเซลล์เล็ก ๆ จานวนมากมาย แต่ไม่เจริญเติบโตขึ้น เซลล์ที่ได้นี้เรียกว่า บลาสโตเมียร์ (Blastomere) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่ามอรูลา (Morula) 1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage) เป็นวิธีการแบ่งตัวของไซโกต แบบหนึ่งที่เป็นการแบ่งตัวของไซโกต ตลอดทั้งเซลล์ถ้าเซลล์ที่ได้จากการแบ่งมีขนาดเท่ากัน หรือเกือบเท่ากันก็เรียกว่า อิควล โฮโลบลาสติค คลีเวจ (Equal holoblastic cleavage) แต่ถ้ามีขนาดไม่เท่ากันเรียกว่า อันอิควล โฮลบลาสติค คลีเวจ (Unequal holoblastic cleavage) 1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage) เป็นการแบ่งตัวของไซโกตที่ไม่ เกิดขึ้นตลอดทั้งเซลล์ แนวการแบ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะด้านบนของไข่ ตรงบริเวณที่เรียกว่า บลาสโตดิส หรือบริเวณเจอมินัล (Germinal disc) พบในพวกไข่ของสัตว์ปีก 2. บลาสทูเลชัน (Blastulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดย เซลล์บลาสโตเมียร์ จะมาจัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะ คล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้างใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่าบลา สทูลา (Blastula) และชั้นของเซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm) 3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์ต่อจากบลาสทูเลชัน ที่ทา ให้เกิดเยื่อคัพภะ (Germ layer) ขึ้นในตัวอ่อน โดยการเกิดเยื่อคัพภะชั้นนอกเรียกว่า เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) เยื่อชั้นในเรียกว่า เอนโดเดิร์ม (Endoderm) และเยื่อชั้นกลางเรียกว่า มีโซเดิร์ม (Mesoderm) ตัวอ่อนระยะนี้เรียกว่า แกสทรูลา (Gastrula) # การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ไม่ว่าจะเป็นแบบใดก็ตาม จะทาให้เกิดช่องใหม่ขึ้นในตัวของตัว อ่อน เรียกว่าแกสโตซีล (Gastrocoel) หรือ อาร์เคนเทอรอน (Archenteron) ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ระยะแรก ส่วนรูเปิดออกสู่ภายนอกของช่องนี้ เรียกว่าบลาสโตพอร์ (Blastopore) การเกิดเยื่อคัพภะ ของ เอมบริโอ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้ 1. อินแวจิเนชัน (Invagination) 2. อีพิโบลี (Epiboly) 3. อินวอลูชัน (Involution) 4. ดีแลมิเนชัน (Delamination
  • 13. # การเกิดรูปร่างของเอมบริโอ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการที่ต่อเนื่องจาก กระบวนการแกสทรูเลชัน โดยเยื่อคัพภะ จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย จึงเกิดเป็นระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายของ สัตว์ ดังต่อไปนี้ 1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) - ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์ - ระบบประสาท(สมอง,ไขสันหลัง) - ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง - สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย - ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย 2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm) - ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ - ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม) - ระบบขับถ่าย (ไต) - ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่) 3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm) - ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร ,ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน) - ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด) - ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์ - ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง - กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและ ความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) การสรุปเปรียบเทียบ กระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูงได้อย่างเหมาะสม ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของ สัตว์ (Embryonic development) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน (Embryonic development) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตใน ระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 14. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development): www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development): www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Embryonic development) 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของ สัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต อย่างเหมาะสม 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของ สัตว์แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ # การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ 1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น 2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น 3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น 4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น # เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve) สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการเจริญเติบโตเป็น รูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ # เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะเริ่มต้น 2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว
  • 16. 3. ระยะคงที่ 4. ระยะสิ้นสุด # ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแบบขั้นบันได # การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์ 1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ 1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis ) 1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis) 1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) 1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) 2. เมทามอร์โฟซิสของกบ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ สัตว์ (Metamorphosis) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของสัตว์แต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) การตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัว อ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ต่อการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและสืบพันธุ์ของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก
  • 17. 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่างๆ กับมนุษย์ มีลักษณะเปรียบเทียบกัน อย่างไรบ้าง > การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนในมนุษย์กับการกระบวนการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดและ สืบพันธุ์ความสัมพันธ์กันมากน้อยอย่างไร จงอธิบาย > นักเรียนคิดว่าถ้ามนุษย์มีเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน เช่นเดียวกับแมลง ผลที่จะเกิดตามมาเป็นอย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการเจริญเติบโตหลังระยะตัว อ่อนในมนุษย์นั้นมีการจัดเป็นขั้นตอนที่มีความต่อเนื่องกันอย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน แล้ว เช่น การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีรูปแบบแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis)” ว่า *** การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ 1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น การวัดน้าหนักเป็นเกณฑ์ที่ สาคัญที่ใช้ในการวัดการเติบโต เพราะการที่น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ เนื่องมากจากเซลล์ของร่างกายเพิ่มมาก ขึ้นหรือมีการสร้างและสะสมของสารต่างๆ ภายในเซลล์และร่างกายมากขึ้น การเพิ่มของน้าหนักจะมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับอัตราการเติบโต จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ ในการวัดการเติบโตมากกว่า เกณฑ์อื่นๆ 2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น ความสูงที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เป็นอัตราส่วนกับมวลหรือน้าหนักที่ เพิ่มขึ้น ดังนั้นการวัดความสูงจึงเป็นการคาดคะเนการเติบโตเท่านั้น 3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น ปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมักจะสัมพันธ์กับน้าหนักที่เพิ่มขึ้น แต่การหา ปริมาตรจะมีความยุ่งนากและลาบากกว่าการหาน้าหนักจึงไม่ค่อยนิยมใช้กันมากนัก 4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น การนับจานวนเซลล์จะใช้กับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆ ได้ เช่น การเพิ่มจานวนเซลล์ของสาหร่าย ไม่นิยมใช้กับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ๆ
  • 18. *** เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve) เส้นโค้งที่แสดงการเติบโตอาจจะวัดออกมาเป็นหน่วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่ เปลี่ยนไป หรือหน่วยความสูงที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการ เจริญเติบโตเป็นรูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ *** เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะเริ่มต้น เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นเริ่มการเติบโต ในระยะนี้จะเป็นไปอย่างช้าๆ เส้น โค้งการเติบโตจึงมีความชันน้อย 2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นระยะที่ต่อจากระยะแรกโดยที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นจะมีการเพิ่ม จานวนเซลล์มีการสร้างสารต่างๆ สะสมในเซลล์มากขึ้นทาให้น้าหนักหรือความสูงหรือจานวนเซลล์ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนโค้งการเติบโตจึงชันมากกว่าระยะอื่นๆ 3. ระยะคงที่ เป็นระยะที่มีการเติบโตสิ้นสุดแล้ว ทาให้น้าหนัก ความสูงหรือขนาดของ สิ่งมีชีวิต ไม่เพิ่มขึ้นและค่อนข้างจะคงที่อยู่อย่างนั้นตลอดไป 4. ระยะสิ้นสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตเติบโตถึงที่สุดแล้ว และถ้าปล่อยเวลาต่อไปอีกก็จะถึงระยะเวลาที่ ร่วงโรยเสื่อมโทรมในที่สุดก็จะตายไป *** ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแตกต่างจาก สิ่งมีชีวิตทั่วไป เช่น มวนน้าชนิดหนึ่ง จะมีแบบแผนแบบขั้นบันได *** การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์ สัตว์บางชนิดเช่น แมลงและกบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่ เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส (metamorphosis)
  • 19. 1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ 1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis ) ตัวอ่อนที่ ฟักออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนกับพ่อแม่ทุกอย่าง แล้วตัวอ่อนก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตแล้วลอกคราบ เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด 1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis) ตัวอ่อนที่ฟักออกมา จากไข่มีรูปร่างคล้ายพ่อแม่ แต่มีอวัยวะบางอย่างไม่ครบ เช่น ไม่มีปีก เมื่อแมลงโตขึ้นและลอกคราบ ปีกจะเริ่มงอกขึ้นเรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า นิมฟ์ (nymph) ต่อจากนั้นก็จะมีการลอกคราบหลายครั้งและ เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ ปลวก เหา ไร่ไก่ จักจั่น 1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) มีลักษณะคล้าย แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ขณะที่เจริญเติบโตนั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่า ตัวอ่อนมักเจริญอยู่ ในน้า หายใจด้วยเหงือกเรียกว่า ไนแอด (naiad) ต่อจากนั้นตัวอ่อนจะลอกคราบขึ้นมาอยู่บนบกและ หายใจด้วยระบบท่อลม เช่น ชีปะขาว แมลงปอ 1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) โดยมีการเจริญ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของร่างกาย เป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ ไข่ (egg) แล้วฟักเป็นตัวอ่อนหรือตัว หนอน (larva) ซึ่งกินอาหารเก่งมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่อจากนั้นจึงเป็น
  • 20. ดักแด้ (pupa) หยุดกินอาหารมักใช้ใยหรือใบไม้หุ้มตัวและฟักตัวอยู่ระยะหนึ่ง ตัวเต็มวัย (adult) ออก จากเกราะและสืบพันธุ์ได้ต่อไป เช่น ด้วง ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ผึ้ง ไหม 2. เมทามอร์โฟซิสของกบ กบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ซึ่งตามปกติแล้วฤดูผสมพันธุ์นั้นคือ ฤดูฝน ไข่ไม่มีเปลือก หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิ 3-12 ชั่วโมงจะมีการแบ่งเซลล์เกิดขึ้น ตัวอ่อนจะงอกหาง เมื่ออายุได้ 4 วัน วันที่ 6 หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด ว่ายน้าและหายใจด้วย เหงือก ซึ่งอยู่ภายนอก มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่อโดย หางจะหดสั้นเข้า ขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปี ก็ จะเป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและ ความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) การสรุปเปรียบเทียบ กระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงได้ อย่างเหมาะสม ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ สัตว์ (Metamorphosis) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อน (Metamorphosis) ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
  • 21. 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis): www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของสัตว์ (Metamorphosis): www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตหลังระยะตัวอ่อนของ สัตว์ (Metamorphosis) 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 22. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบกิจกรรม เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
  • 23. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก ที่ ชื่อ-สกุล การตอบคาถาม การร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การซักถาม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 24. แบบประเมินการทางานกลุ่ม รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ความรับผิดชอบของ แต่ละคน การมีส่วนร่วมในการ ทางาน ความคิดสร้างสรรค์ ผลงาน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
  • 25. แบบประเมินผลงานนักเรียน ชื่อชิ้นงาน ............................................................................................................................................................ วันที่............................... ชั้น ..................... ห้อง ........................ แผนการเรียน ................................................. ระดับคุณภาพ ดีมาก 11-15 คะแนน ปานกลาง 6-10 คะแนน ควรปรับปรุง 0-5 คะแนน กลุ่ม ที่ เลขที่สมาชิก กลุ่ม ผลการประเมินคะแนน ระดับ คุณภาพ ผลงาน 1. ความถูกต้อง ตามจุดประสงค์ การเรียนรู้ 2. ความ ครบถ้วนของ เนื้อหาสาคัญ 3. ความคิด สร้างสรรค์ 4. ความ สมบูรณ์ ของผลงาน 5. ความเรียบร้อย สวยงามของ ชิ้นงาน รวม คะแนน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ลงชื่อ..................................ผู้ประเมิน (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) วันที่.................................................. เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินผลงานนักเรียน หัวข้อการประเมิน ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 1. ความถูกต้องตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ ชิ้นงานไม่ถูกต้องตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ ชิ้นงานถูกต้องตามจุดประสงค์ การเรียนรู้บางส่วน ชิ้นงานถูกต้องตามจุดประสงค์การ เรียนรู้ทั้งหมด 2. ความครบถ้วนของ เนื้อหาสาคัญ มีเนื้อหาสาคัญไม่ครบถ้วน มีเนื้อหาสาคัญแสดงบ้าง บางส่วน มีเนื้อหาสาคัญแสดงอย่างครบถ้วน 3. ความคิดสร้างสรรค์ ผลงานมีลักษณะเหมือนตัวอย่าง ที่ครูสอนทุกประการ ผลงานมีลักษณะบางส่วนเหมือน ตัวอย่างที่ครูสอนทุกประการ ผลงานไม่มีลักษณะเหมือนตัวอย่างที่ครู สอนโดยมีรายละเอียดที่แตกต่างมากขึ้น 4. ความสมบูรณ์ของ ผลงาน ผลงานไม่เสร็จสมบูรณ์และใช้ เวลามากกว่าที่กาหนด ผลงานเสร็จสมบูรณแต่ใช้เวลา มากกว่าที่กาหนด ผลงานเสร็จสมบูรณและใช้เวลาตามที่ กาหนด 5. ความเรียบร้อย สวยงามของชิ้นงาน ชิ้นงานไม่เรียบร้อยสวยงาม ชิ้นงานไม่สวยงามและมีความ เรียบร้อย ชิ้นงานสวยงามและมีความเรียบร้อย