SlideShare a Scribd company logo
1 of 165
Download to read offline
บทที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ครูผู้สอน
 สิ่งมีชีวิตมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือ มีการสืบพันธุ์เพื่อการดารงเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ รวมถึงการ
ส่งต่อลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมไปให้ลูกหลาน เพื่อรักษาเผ่าพันธุ์ของตัวเองไว้ให้คงอยู่ต่อไป
 การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือนตนเอง การ
สืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้
 การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual
reproduction) และ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบนี้จะได้ลูกจาก
การแบ่งเซลล์ แบบไมโตซีส (mitosis) ลักษณะทางพันธุกรรมของลูกเหมือนพ่อแม่ทุกประการ สามารถ
แบ่งออกได้หลายแบบ
1.1 การแตกหน่อ (budding) เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่า โดยเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
จะมีการสร้างเนื้อเยื่อข้างลาตัวงอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็นตัวเล็ก ๆ ที่มีอวัยวะต่าง ๆ เหมือนตัวแม่
หลังจากติดอยู่กับตัวแม่ระยะหนึ่งก็จะหลุดออกมาไปอยู่อิสระตามลาพัง สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้
ได้แก่ ไฮดรา โอบิเลีย ฟองน้า ปะการัง และ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (พวกยีสต์)
@ external budding แตกหน่อภายนอก / internal budding (gemmule) แตกหน่อภายใน
การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction)
การแตกหน่อ (budding)
jellyfish life cycle : Metagenesis
 ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่น ฟองน้ามีการสร้างเจมมูล (gemmules) เจริญอยู่ภายใน
ร่างกาย ภายในเจมมูลมีกลุ่มเป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อตัวเดิมตายไป เจมมูลจะหลุดออกมาเป็นอิสระ
และเซลล์ที่อยู่ภายในจะเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่
 การสร้างเจมมูล ( gemmule formation ) คล้ายกับหน่อภายใน ประกอบด้วยเซลล์ขนาดเล็ก ๆ
จานวนมาก และรอบ ๆ กลุ่มเซลล์จะห่อหุ้มด้วยผนังหนาและแข็ง
Asexual reproduction : การสร้างกลุ่มเซลล์พิเศษ
 Vegetative propagation คือส่วนต่างๆ ของพืชที่ไม่ใช้เมล็ดในการสืบพันธุ์ ได้แก่ การตอนกิ่ง ต่อกิ่ง
ต่อตา ทาบกิ่ง ใช้ใบ ใช้ราก และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
 1.2 การแบ่งตัวออกเป็นสอง(Binary Fission) เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว (พวกโพรติสต์)ได้แก่ อะมีบาพารามีเซียมยูกลีนา
และแบคทีเรียการสืบพันธุ์วิธีนี้เกิดขึ้นโดยการแบ่งตัวจาก1 เซลล์
เป็น 2 เซลล์ โดยนิวเคลียสของเซลล์จะแบ่งตัวก่อนแล้วไซ
โทพลาสซึมจะแบ่งตามได้เป็นตัวใหม่2 ตัว ซึ่งแต่ละตัวจะมี
ลักษณะเหมือนตัวเดิมทุกประการเช่น การแบ่งตัวของอะมีบาและ
พารามีเซียม
@ multiple fission แบ่งได้หลายตัวขนาดเท่าๆ กัน เช่น
Plasmodium
 1.3 การงอกใหม่ (Regeneration) พบ ในสัตว์ชั้นต่า ได้แก่ ดาว
ทะเล พลานาเรียซีแอนนีโมนี การงอกใหม่เป็นการสร้างส่วนของ
ร่างกายที่ขาดหายไปโดยสัตว์เหล่านี้ถ้าร่างกายถูกตัดออกเป็น
ส่วนๆ แต่ละส่วนจะสามารถงอกเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ ดังนั้น
การงอกใหม่นี้จึงทาให้มีจานวนสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากจานวนเดิม
@ ต้องมีส่วนที่เป็น animal’s central disk ซึ่งสามารถ
เจริญไปเป็นตัวใหม่ได้
การสืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศ (asexual reproduction)
Binary Fission ; mitotic cell division
random longitudinal transverse
 1.4 การสร้างสปอร์ (Spore Formation) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสหลาย ๆ ครั้ง
ต่อจากนั้นไซโทพลาสซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้น เป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะมีนิวเคลียส
1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore) ภายในอับสปอร์ สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ เห็ด รา พืชต่างๆ
 1.5 การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอีกแบบหนึ่งของ
สิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะพวกที่มีเซลล์ต่อกันเป็นเส้นสายโดยการหักเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนที่หลุดไปก็จะ
แบ่งตัวแบบ Mitotic cell division ได้เซลล์ใหม่ที่ต่อกันเป็นเส้นสายเจริญต่อไป เช่น พวกหนอนตัว
แบน สาหร่ายทะเล
การสืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศ (asexual reproduction)
Multiple fission หรือ Schizogony ลักษณะการแบ่งตัว
คือ นิวเคลียสแบ่งซ้ากันหลายๆครั้ง ก่อนจะมีการแบ่งตัว
ของ cytoplasm ล้อมรอบนิวเคลียส เซลล์เหล่านี้มีชื่อแต่
ละเซลล์เรียกว่า schizont เมื่อการแบ่งตัวเสร็จสิ้น
สมบูรณ์ เซลล์แม่ที่มีลักษณะเป็น schizont จะแตกออก
ปล่อยให้เซลล์ลูก (daughter cell) หลุดออกมาก
เรียกว่า merozoites พร้อมที่จะเข้าสู่วงจรชีวิตอื่นต่อไป
Asexual reproduction
22
ข้อดีของ asexual reproduction
1. เป็นประโยชน์สาหรับสัตว์พวกที่เกาะอยู่กับที่ ซึ่งไม่สามารถผสมพันธุ์กับตัวอื่น
2. สามารถเพิ่มจานวนสมาชิกใหม่ของสิ่งมีชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
3. ประโยชน์ที่สาคัญ คือ ลักษณะที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมยังคงอยู่ต่อไปในรุ่นต่อๆไป
 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในพวกโปรติสต์และสัตว์ชั้นต่ามีพิเศษที่ไม่ค่อยพบ ได้แก่
1. Syngamy เป็นกระบวนการสืบพันธ์แบบอาศัยเพศ โดยที่จะมีการสร้าง
เซลล์ (gamete) ซึ่งประกอบด้วยเพศเมีย (macrogamete) และเซลล์เพศผู้ (microgamete) จะมีการ
ปฏิสนธิ (fertilization) โดยเซลล์เพศเมียจะรวมตัวกับเซลล์เพศผู้เป็นเซลล์เดียวกัน (zygote) วิธีนี้
พบได้ในพวก plasmodium spp.
2. conjugation เกิดจากการที่โปรโตซัว 2 ตัว สามารถเชื่อมติดกันชั่วคราวเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทางพันธุกรรมซึ่งกันและกัน หลังจากนั้นจะแยกจากกันเหมือนเดิม การสืบพันธ์วิธีนี้พบในพวก
ซิลิเอต เช่น Balantidium coli
3. sporogony ขบวนการนี้เกิดจากการที่เซลล์เพศผู้และเซลล์เพศเมียรวมตัวกัน
เป็น oocyst ซึ่งภายใน oocyst จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจานวนได้เซลล์ใหม่หลายเซลล์ ซึ่งแต่ละเซลล์
เรียกว่า sporozoite ซึ่งพบได้ในโปรโตซัวจาพวก sporozoa
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในโปรติสต์
Syngamy
conjugation
 ซินแกมี (Syngamy) โปรโตซัว 2 ตัว ก่อนการสืบพันธุ์ทาหน้าที่เป็นเซลล์ร่างกาย หากินธรรมดา พอ
ถึงช่วงสืบพันธุ์ต่างก็มีเซลล์สืบพันธุ์มารวมกันแล้วไปแบ่งทีหลังก็กลับมาเป็นตัวเดิม
 conjugation ตัวอย่างเช่น Conjugation พารามีเซียม มี 2 ตัว มาจับคู่กัน แต่ละตัวนั้นมี
นิวเคลียส 2 อัน นิวเคลียสอันใหญ่ เรียกว่า แมคโครนิวเคลียส อันเล็กเรียกว่า ไมโครนิวเคลียส แมค
โครนิวเคลียส จะไม่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบนี้ ไมโครนิวเคลียสจะเป็นตัวสาคัญเข้าคู่กัน โดยไมโคร
นิวเคลียสของโปรโตซัวทั้งสองจะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส ต่อจากนั้นมีการแลกเปลี่ยนนิวเคลียส
หลังจากที่นิวเคลียสรวมตัวกันแล้ว โปรโตซัวทั้งสองตัว จะแยกจากกันและต่างก็ไปแบ่งตัวต่อไป
สรุป : sexual reproduction in protozoa
 ลักษณะเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งตามรูปร่าง
1. ไอโซแกมีต (Isogamete) เซลล์สืบพันธุ์จะมีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน เช่นมีลักษณะกลม
เหมือนกัน เล็กเท่ากันไม่สามารถแยกว่าเป็นเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้หรือตัวเมียได้ พบในโปรติสต์บางชนิด (A)
 2. เฮตเทอโรแกมีต (Heterogamete) เซลล์สืบพันธุ์มีความแตกต่างกันแบ่งย่อยเป็น 2 ชนิด คือ
- แอนไอโซแกมีต (Anisogamete) มีรูปร่างเหมือนกัน แต่ขนาดต่างกัน เช่น กลมเหมือนกัน แต่มี
ขนาดเล็กกับใหญ่ พบในโปรติสต์บางชนิด(B)
- โอโอแกมีต (Oogamete) ต่างกันทั้งขนาดและรูปร่างก็ต่างกัน (เซลล์สืบพันธุ์ขนาดเล็กมีหัว มีหาง
เคลื่อนที่ได้ เรียกว่าสเปิร์ม ส่วนเซลล์ตัวเมียจะมีขนาดรูปร่างกลมขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ไม่ได้เรียกว่า
ไข่ พบในสัตว์ชั้นสูงและพืชชั้นต่าบางชนิด (C)
เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell)
 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการรวมตัวระหว่าง
นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (male gamete) หรืออสุจิ (sperm) กับนิวเคลียสของเซลล์
สืบพันธุ์เพศเมีย (female gamete) หรือ ไข่ (egg) ซึ่งได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส การ
รวมตัวของนิวเคลียสดังกล่าวเรียกว่า การปฏิสนธิ (fertilization)
 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์จะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะ
สร้างในรังไข่เพศผู้สร้างอสุจิในอัณฑะ เมื่อนิวเคลียสของไข่และอสุจิผสมกันจะเกิดการปฏิสนธิ
ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
 3.1 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศอยู่ในตัวเดียวกันหรือสัตว์ที่เป็นกะเทย (hermaphrodite)
มีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ
 3.1.1 การปฏิสนธิในตัวเอง (self fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์
พวกนี้จะพร้อมกัน จึงสามารถปฏิสนธิในตัวเองได้ เช่น พยาธิตัวตืด
 3.1.2 การปฏิสนธิข้ามตัว (cross fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของ
สัตว์พวกนี้จะไม่พร้อมกัน จึงมีการปฏิสนธิข้ามตัว เช่น พลานาเรีย ไส้เดือนดิน
การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction)
Hermaphrodite : cross/external fertilization
External budding
Hermaphrodite : self or cross fertilization
Simultaneous hermaphrodites (มีทั้ง 2 เพศในขณะที่มีการสืบพันธุ์)
self fertilization
cross fertilization
หลังจากแยกจากกันประมาณ 2-3
วัน ปล้อง Clitellum จะสร้างเมือก
และถุงหุ้มไข่ (cocoon)
เคลื่อนตัวถอยหลัง
@ monoecious / hermaphrodite คือ 1 ตัวมี 2 เพศ (cross or self fertilization)
@ dioecious / sex separate คือ 1 ตัวมี 1 เพศ (cross fertilization : protogynous/protoandrous)
 สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจสลับกันทั้ง 2 เพศ หรือบางชนิดเป็น protogynous : female first (ตอนที่อายุน้อยเป็นเพศ
เมีย พอโตขึ้นเปลี่ยนเป็นเพศผู้) หรือ protoandrous : male first (ตอนที่อายุน้อยเป็นเพศผู้ พอโตขึ้นเปลี่ยนเป็น
เพศเมีย) หรือบางชนิดเกี่ยวข้องกับอายุและขนาดตัว ตัวอย่างเช่น พวกที่เป็น protogynous ได้แก่ ปลา blue
head wrasse ตัวที่แก่ที่สุด และตัวใหญ่ที่สุดในฝูงปลาจะเป็นตัวผู้ เพื่อทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้ฝูงปลา พวก
หอย oysters เป็น protandrous ตัวใหญ่จะกลายเป็นตัวเมียซึ่งสร้างไข่ได้เป็นจานวนมาก
hermaphrodite
Sequential ( หรือ protandrous ) hermaphrodites นั่นคือสิ่งมีชีวิตตัวนั้น ๆ ไม่ได้ทาหน้าที่ทั้งสองเพศในเวลาเดียวกัน แต่มีการ
"เปลี่ยนเพศ " ที่ ณ จุดเวลาหนึ่งของวงชีวิต ( บางทีอาจเปลี่ยนได้หลายๆ ครั้ง ) โดยทั่วไป สิ่งมีชีวิตที่เป็นแบบ protandrous
hermaphrodites ขณะที่ยังเป็นรุ่น ๆ จะเป็นเพศผู้ และเมื่อเติบโตและตัวใหญ่ จะกลายเป็นเพศเมีย ( ยกตัวอย่างเช่น กุ้งหลายชนิด เช่น
กุ้งนักเลง coral banded shrimp , Stenopus hispidus )
 พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis) เป็นการสืบพันธุ์อาศัยเพศของแมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนกิ่ง
ไม้ เพลี้ย ไรน้า ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียเจริญเติบโตไปเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่
อย่างสมบูรณ์สามารถฟักเป็นตัวได้โดย ไม่ต้องมีการปฏิสนธิ ในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะ
ฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้ง
หนาวเย็นหรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็นทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัว
ผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่ มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสม
ดังกล่าวได้ ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ทีโนเจเนซิสด้วยเช่นกัน โดยไข่ไม่
ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้ ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ หรือตัวหนอนของ
แมลงบางชนิด เช่น Miaser (Diptera) สามารถสืบพันธุ์แบบพาร์ทีโนจีนีซีสได้ทั้งที่ยังเป็นตัวอ่อน
เรียกวิธีการนี้ว่า พีโดเจเนซีส (paedogenesis)
พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis)
paedogenesis
Paedogenesis, also
spelled Pedogenesis, reproduction by
sexually mature larvae, usually
without fertilization. The young may
be eggs, such as are produced
by Miastor, a genus of gall
midge flies, or other larval forms, as
in the case of some flukes. This form
of reproduction is distinct from
neotenic reproduction in its
parthenogenetic nature (i.e., no
fertilization occurs) and the eventual
maturation or metamorphosis of the
parent organism into its adult form.
 จัดเป็นกึ่ง sexual เพราะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ มี 2 แบบ คือ
1. Natural parthenogenesis เกิดในธรรมชาติพบในผึ้ง มด ต่อ แตนตัวผู้ ผึ้งตัวผู้เกิดจากไข่ไม่ผสมมี n เดียว เป็น
ตัวผู้ ไข่ที่ผสมจะมี 2n เป็นตัวเมีย ส่วนใหญ่เป็นผึ้งงาน แต่จะมีบางตัวอาจจะเป็นผึ้งนางพญาขึ้นกับห้องที่
นางพญาไปวางไข่ ถ้าเป็นห้องสี่เหลี่ยมเล็กๆ worker พี่เลี้ยงก็จะเลี้ยงให้เป็นผึ้งงาน ถ้าเป็นห้องรูปไข่ ผึ้งงานที่
เป็นพี่เลี้ยงก็จะเลี้ยงให้เป็นนางพญา ถ้าเป็นผึ้งตัวผู้นั้นเกิดจากไข่ที่ไม่ผสมก็มี n เดียว ตัวเมียเกิดจากไข่ผสมก็มี
2n เช่นเดียวกับมด ต่อ แตน นอกจากนั้นจะพบในพวก Rotifer เป็นพวกสัตว์ชั้นต่า และพบในแย้ ซึ่งเป็นสัตว์มี
กระดูกสันหลัง
2. Artificial parthenogenesis ไม่เกิดโดยธรรมชาติ เป็นการกระตุ้นโดยมนุษย์ โดยอาจใช้เข็มแทงหรือใช้สารเคมี
ตัวอย่างเช่น หอยเม่น กระตุ้นให้ไข่หอยเม่นที่ไม่ผสม กระตุ้นให้มันเจริญเป็นตัวได้ โดยไม่ต้องผสมกับสเปิร์ม
การทาเช่นนี้หากเปรียบเทียบกับพืช คือ parthenocarpy หรือเรียกในผลที่เกิดมาว่า parthenocarpic fruit ใน
กรณีของพืชนั้น ผลที่เกิดจากวิธีนี้ก็ไม่มีเมล็ดนั่นเอง
พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis)
46
สัตว์มีระบบสืบพันธุ์แบบต่างๆ
• สัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิด จากแบบง่ายๆจนถึงแบบซับซ้อน
• สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะคล้ายกัน แต่มีข้อแตกต่างที่สาคัญได้แก่
- ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก มีทางเปิดของ digestive, excretoryและ reproductive
tracts แยกกัน แต่ในพวกอื่นๆที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วนนม หลายชนิดมีทางเปิดร่วม เรียกว่า cloaca
-สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มี penis ที่เจริญดี และใช้วิธีการอื่นในการ
ส่ง สเปิร์ม
 3.2 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้เพศเมียกัน มักพบในสัตว์ชั้นสูงซึ่งมีการแยกเพศให้เห็นกัน
อย่างชัดเจนต่างจากไฮดราหรือไส้เดือนดินที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน สาหรับตัวผู้มักจะมีสีสัน
ฉูดฉาด หรือสีเข้มกว่าตัวเมียหรือมีเสียงร้องไพเราะกว่า เพราะจะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าหา ซึ่ง
มักเป็นไปในทางตรงข้ามกับมนุษย์ ซึ่งมีการปฏิสนธิอยู่ 2 ประเภท
 3.2.1 การปฏิสนธิภายนอก (external fertilization) ในการผสมพันธุ์ของสัตว์ที่แยกเพศกันอยู่คน
ละตัว การปฏิสนธิอาจมีทั้งภายนอกและภายในตัว สาหรับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่ การ
ปฏิสนธิมักเกิดภายนอกตัว เช่น หอยบางกลุ่ม กุ้ง หรือปู การปฏิสนธิภายนอกนั้นมักเกิดกับสัตว์
น้า โดยสัตว์ที่ผสมพันธุ์กันจะปล่อยอสุจิและไข่ออกมาโดยไม่ต้องจับคู่ โดยแต่ละตัวต่างปล่อย
เซลล์สืบพันธุ์ออกมาเป็นจานวนมากมาย เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิจะว่ายน้าและมุ่งตรงไปยัง
ไข่อย่างถูกต้องเพราะไข่มีสารเคมีเป็นตัวกระตุ้นอสุจิให้เข้าหา ทาให้เซลล์สืบพันธุ์ทั้งสองมี
โอกาสได้พบกันมากขึ้น แต่ถ้าไม่พบกันเซลล์สืบพันธุ์ก็จะสลายตัวตายไป สาหรับสัตว์ที่มีกระดูก
สัตว์หลังที่มีการปฏิสนธิภายนอกตัวจะมีการจับคู่กันผสมพันธุ์ในน้า ได้แก่ ปลาหลายชนิด กับ
สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เช่น กบ คางคก อึ่งอ่าง หลังจากปฏิสนธิแล้วไข่จะกลายเป็นไซโกต
ไซโกตจะแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสและเจริญเติบโตเป็นตัวอ่อนต่อไป
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
 เม่นทะเลหรือหอยเม่น เป็นพวก Echinodermata ซึ่งเซลล์ไข่มี Vetelline layer หุ้มและมี egg plasma
membrane เป็นเยื่อหุ้มเซลล์ ข้างนอกมี jelly coat หนาหุ้มอยู่ บริเวณ Vitelline membrane จะมี
receptorsที่เป็นโปรตีนอยู่ และจะรับเฉพาะสเปิร์มของสปีชีส์เดียวกันเท่านั้น
 เมื่อสเปิร์มของหอยเม่นปล่อยออกมา ภายในสเปิร์ม ส่วนหัวมีนิวเคลียสและ acrosome ซึ่งมี Golgi
complex หรือ Golgi apparatus เดิมภายในมี hydrolytic enzyme และใต้ acrosome มี actin เป็นพวก
ไมโครฟิลาเมนท์ เมื่อสเปิร์มว่ายมาถึง jelly coat acrosome จะปล่อย hydrolytic enzyme สลาย jelly
coat จากนั้น actin จะดันยื่นออกไปเป็น acrosomal process แทงทะลุ jelly coat ไปที่ receptors ที่อยู่
บน membrane
 ฉะนั้นก็เกิดกระบวนการที่เรียกว่า Acrosomal reaction โดยเยื่อหุ้มเซลล์ของสเปิร์มกับไข่จะหลอม
รวมกันเป็นเนื้อเดียวเกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า เกิด depolarization ขึ้น คือ มี Na+ ไหล
เข้าไปในเซลล์ของไข่เกิดการเปลี่ยนแปลง membrane potential ทาหน้าที่เป็นกาแพงกั้นไม่ให้สเปิร์ม
ตัวอื่นเข้าไป จะมีสเปิร์มเข้าได้เพียงตัวเดียว เรียกว่า fast block to polyspermy เกิดการเปลี่ยนแปลง
ประจุไฟฟ้าที่บริเวณผิวของ membrane นี้
External fertilization of Sea Urchin
 ต่อไป cortical reaction เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขอบนอกของ egg cytoplasm การรวมกันของสเปิร์ม
และไข่จะกระตุ้นสัญญาณให้เกิดการเหนี่ยวนาให้มีการปล่อย Ca2+ จาก ER ของเซลล์ไข่ Ca2+ เป็น
second messenger เป็นตัวนาข่าวตัวที่ 2 ไปที่ cortical granuleเป็นเม็ดๆอยู่ที่ถุงกลมๆ
 Cortical granule จะมารวมกับ plasma membrane ของไข่ เกิดการรวมกันแล้วปล่อยสารออกมาทาให้
plasma membrane หนาขึ้นแล้วมี enzyme ทาให้แข็ง กลายเป็นกาแพงหนาและแข็งขวางกั้นไม่ให้
สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป ทั้งนี้ประจุไฟฟ้าที่ plasma membrane ก็กลับเข้าสภาพเดิม
 เพราะฉะนั้น fast block to polyspermy หยุดทางานแต่ fertilization membrane ที่เกิดขึ้นจะทาหน้าที่
เป็น slow block to polyspermy แทน คือเกิดช้าๆ เป็นกาแพงหนากั้น ไม่ยอมให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป
 เมื่อนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปข้างในไข่ กระตุ้นให้ไข่ (secondary oocyte) แบ่งไมโอซิส ครั้งที่ 2 ได้
เป็น egg กับ secondary polar body นิวเคลียสสเปิร์มรวมกับนิวเคลียสใน egg จบกระบวนการ
fertilization เป็นการผสมนอกตัวที่เม่นทะเลต้องปล่อยไข่ออกมานอกตัวก่อนแล้วตัวผู้ปล่อยสเปิร์มเข้า
มาผสมทีหลัง
External fertilization of Sea Urchin
Sexual reproduction of Sea Urchin
54
การปฏิสนธิ : acrosomal and cortical reactions
 3.2.2 การปฏิสนธิภายใน (internal fertilization) สัตว์บางชนิดมีการปฏิสนธิภายในตัวแม่ โดยตัวผู้
ตัวเมียจะจับคู่กันแล้วตัวผู้ปล่อยอสุจิเข้าไปในร่างกายของตัวเมียแล้วเกิดการปฏิสนธิได้ ไซโกต
(ยกเว้นสัตว์บ้างชนิดเพศเมียจะปล่อยไข่เขาสู่ถุงหน้าท้องของเพศผู้ เช่น ม้าน้า) จากนั้นไซโกตก็มี
การแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ โดยสมารถแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่
 1. เอ็มบริโออาจเจริญภายนอกตัวแม่ เช่น สัตว์ปีก พวกนก ไก่ เป็ดหรือสัตว์เลี้ยงลูกน้านม เช่น ตุ่น
ปากเป็ด เรียกสัตว์พวกนี้ว่า Oviparous animals ส่วนสัตว์ที่มีการปฏิสนธิแล้วเอ็มบริโอเจริญเติบโต
ภายในตัวแม่ จากนั้นคลอดออกมาเป็นตัว
 2. เอ็มบริโอเจริญเติบโตในตัวแม่โดยได้อาหารที่สะสมไว้ในไข่ เช่น ฉลาม กระเบน เรียกสัตว์พวกนี้ว่า
Ovoviviparous animals
 3. เอ็มบริโอเจริญเติบโตในตัวแม่โดยได้อาหารจากแม่ทางรก เช่น แมว สุนัข วัว ควาย รวมทั้งคน
เรียกสัตว์พวกนี้ว่า viviparous animals
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
 เริ่มด้วย Acrosomal reaction สเปิร์มว่ายมารอบๆ ไข่ที่มี Zona pellucida (extracellularmatrix of the
egg) หุ้มแทน Vitelline layer และด้านนอกสุดจะเป็น follicle cell (corona radiata) ฉะนั้น สเปิร์มต้อง
แหวก follicle เข้ามาถึงบริเวณ Zona pellucida มีสารทาหน้าที่เป็น receptorsรับสเปิร์มจาก species
เดียวกัน จากนั้น Acrosome จะปล่อย hydrolytic enzyme ไปย่อย zona pellucida เข้าไปถึง plasma
membrane ของ egg เกิดจากรวมกันของสเปิร์มกับ egg เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า depolarization
ทาหน้าที่เป็น fast block to polyspermy และ granule จะปล่อยสารออกมาข้างนอก
 การปล่อยนี้ไม่ได้ทาให้ fertilization membrane หนา เพียงแต่สารที่ปล่อยออกมาจากแกรนูลนั้น จะทาให้
fertilization membrane ซึ่งแต่เดิมนุ่มเปลี่ยนเป็นแข็ง กลายเป็นกาแพงขวางกั้นไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป
ก็ทาหน้าที่เป็น slow block to polyspermy คือ ป้องกัน sperm ตัวอื่นไม่ให้เข้า
 ต่อมา Microvilli ของ egg ที่ยื่นออกมา จะนาสเปิร์มเซลล์เข้าไป รวมทั้งหางเข้าไปด้วย เสร็จแล้วก็จะไป
อยู่ใน egg ทั้งหมด Basal body ของสเปิร์มใน flagellum ก็จะบีบตัวกลายเป็น centriole ของ zygote
ต่อไป
 นิวเคลียสสเปิร์มเข้าไปกระตุ้นนิวเคลียสของไข่ แบ่งไมโอซิสครั้งที่ 2 ก่อน จากเดิม secondary oocyte
แบ่งเป็น egg ก่อนเพื่อให้ผสมกัน เพราะฉะนั้นกระบวนการ fertilization จะจบเมื่อนิวเคลียสสเปิร์มรวม
กับนิวเคลียสไข่ได้เป็นไซโกต
Internal fertilization of Mammal
สรุป : Fertilization in Mammals
1. Capacitation (enhanced sperm function) จาก secretion ของท่อระบบสืบพันธุ์ของตัวเมีย
- เปลี่ยนโมเลกุลบางชนิดที่หัวของ sperm ทาให้ sperm เคลื่อนที่เร็วขึ้น
2. sperm จะต้องผ่าน Zona pellucida (extracellular matrix of the egg) เพื่อเกิดกระบวนการต่อไปได้
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ folliclecells และรวมกับ receptor melecules ที่อยู่ที่ชั้น zona pellucida
(ในที่นี้ไม่ได้แสดง receptor molecule)
(2) acrosomal reaction เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อยชั้น zona pellucida
(3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้ และ membrane proteinsของ
สเปิร์มรวมกับ receptor ที่ plasma membrane ของไข่
(4) plasma membrane ของสเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้นนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปในไซโต-
พลาสซึมของไข่
(5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก cortical granules ทาให้ชั้น zona pellucida
มีลักษณะแข็ง ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การที่สเปิร์มเข้าไปในไข่หลาย
ตัว เรียกว่า polyspermy)
internal fertilization
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ) แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (external structure) ได้แก่ ถุงอัณฑะ องคชาติ
 1.1 ถุงอัณฑะ (Scrotum) เป็นส่วนของผิวหนังที่ไม่มีไขมันใต้ผิวหนังยื่นลงมาจากหน้าท้อง มี
กล้ามเนื้อเรียบปรากฏอยู่ (Dartus muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ช่วยปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้ต่ากว่า
อุณหภูมิของร่างกาย ประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส
 1.2 องคชาติ (Penis) ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของปัสสาวะและเป็นอวัยวะในการร่วมเพศ ทาหน้าที่ส่ง
สเปิร์มเข้าสู่ อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง องคชาติเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ โดยปกติจะหดตัวอยู่
(Detumescence) บริเวณส่วนปลายพองออก เรียกว่า แกลนเพนิส (glands penis) ส่วนนี้มีหนังห่อหุ้ม
(foreskin or prepuce) ภายในpenis ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีลักษณะยืดหยุ่น 3 มัดคลายตัวเรียกว่า
คาร์เวอร์นัส (carvernous body) จานวน 2 มัด และ สปองจีบอดี (spongy body) จานวน 1 มัด
กล้ามเนื้อมัดนี้หุ้มท่อปัสสาวะไว้เมื่อชายถูกกระตุ้นทางเพศจะมีกระแสประสาทเข้ามากระตุ้นให้เส้น
เลือดในกล้ามเนื้อทั้ง 3 มัดคลายตัว เลือดจะไหลเข้าไปคั่งในเส้นเลือด ทาให้กล้ามเนื้อขยาย ขนาดขึ้น
ได้ (Erection of penis)
ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ (human reproductive system)
External structure of
Male Genital Organ
อวัยวะภายใน (Internal structure)
 2. อัณฑะ (testis) มีลักษณะเป็นก้อนรูปไข่มี 2 อันอยู่ในถุงอัณฑะที่ห้อยอยู่ภายนอก มีหน้าที่ผลิตอสุจิ
และผลิต ฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเทอโรน (testosterone) ซึ่งจะเริ่มทาหน้าที่ในวัยรุ่น อายุระหว่าง
12-16 ปี ฮอร์โมนนี้ทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเด็กผู้ชายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ คือ ตัวใหญ่
ไหล่กว้าง มีหนวดเครา เสียงห้าวขึ้น และมีความต้องการทางเพศ ภายในอัณฑะจะมีหลอดเล็กๆ ขด
ไปมาทาหน้าที่สร้างอสุจิ เรียกว่า หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule)
 3. หลอดเก็บอสุจิ (epididymis) อยู่ด้านบนของอัณฑะ ลักษณะเป็นท่อเล็กๆ ทาหน้าที่เก็บอสุจิจน
แข็งแรง ก็จะส่งไปที่ท่อซึ่งใหญ่กว่าเรียกว่า ท่ออสุจิ ทาหน้าที่ลาเลียงอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้า
เลี้ยงอสุจิ (ใช้เวลา 6 สัปดาห์จึงเจริญเต็มที่)
 4. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) ทาหน้าที่หลั่งของเหลวประกอบด้วยอาหารจาพวก
น้าตาลฟรักโทส และโปรตีน ซึ่งทาให้อสุจิมีชีวิตอยู่ได้ เรียกอสุจิกับน้าเลี้ยงอสุจิว่า น้าอสุจิ (semen)
ท่อฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct) เป็นท่อสั้นๆ เปิดเข้าสู่ท่อปัสสาวะตรงบริเวณต่อมลูกหมากยาว
ประมาณ 2 เซนติเมตร บางครั้งเรียกว่า หลอดฉีดน้ากาม ท่อนี้ทาหน้าที่บีบตัว ขับน้าอสุจิ (Semen)
ท่อนาอสุจิ (Vas Deferens) เป็นท่อต่อจากส่วนหางของหลอดเก็บอสุจิ ยาวประมาณ 18 นิ้ว ทาหน้าที่
นาอสุจิจากอัณฑะเข้าไปในช่องท้อง
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ)
 5. ต่อมลูกหมาก (prostate gland) อยู่รอบๆ หลอดฉีดอสุจิ สร้างสารที่มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ทาลายฤทธิ์
กรดในท่อปัสสาวะของชาย : milky alkaline
 ต่อมบัลโบยูรีทรัล หรือต่อมคาวเปอร์ (bulbourethal glands/cowper gland) มี 1 คู่ขนาดเล็กเชื่อมต่อ
กับส่วนของท่อปัสสาวะบริเวณฐานของเพนนิส หลั่งเมือกที่เป็นยางเหนียวออกมาก่อนการหลั่งของ
ซีเมน หน้าที่เข้าใจว่าทาให้ท่อปัสสาวะมีความเป็นกลางและหล่อลื่นส่วนปลายของเพนนิส
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ)
ของเหลวทั้งหมดก็มี 4 อย่าง จากต้นทางถึงปลายทาง : Semen
1. ของเหลวจาก epididymis (น้อยมากส่วนใหญ่เป็น sperm)
2. ของเหลวหรือเป็นอาหารจาก seminalvesicle (75-80%)
3. ของเหลวหรือสารเป็นด่างจาก prostate gland (15-20%)
4. สุดท้ายของเหลวที่เป็นสารหล่อลื่นจาก Bulbourethral
gland (2-5%)
การทาหมันจะมีการตัดท่อ vas deference ดังนั้นสเปิร์มกับ
ของเหลวจาก epididymis จึงออกไม่ได้แต่ที่ออกมาได้คืออาหาร
หรือของเหลวจาก seminal vesicle สารเป็นด่างจาก prostate
gland สารหล่อลื่นจากBulbourethral gland
ของเหลวที่ออกมาเรียกว่า Semen ซึ่งประกอบด้วยสเปิร์ม กับของเหลวที่เรียกว่า Seminal fluid
Semen 1 ml. จะมีสเปิร์มประมาณ 70-90 ล้านตัว ถ้ามีสเปิร์มต่ากว่า 30 ล้านตัวก็มักจะเป็นหมัน
(3-5 ml/การร่วมเพศแต่ละครั้ง ,อสุจิอยู่นอกร่างกายได้ 2-3 ชั่วโมง/ในร่างกายเพศหญิงได้ 2 วัน)
Rate testis เป็นท่อรวมจาก
seminiferous tubule
ลักษณะเป็นร่างแหอยู่ที่ขั้ว
ของอัณฑะ
Vas efferentท่อขนาดเล็ก
เชื่อมระหว่าง rete testis กับ
epididymis
Vas defferent ท่อนาอสุจิ
เป็นทางผ่านของอสุจิที่เปิด
ไปรวมกับท่อจาก seminal
vesicle
testis histology
 ในขณะที่ผู้ชายยังเป็นตัวอ่อนเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์นั้นได้มีการพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์ขึ้นมาแล้ว อัณฑะ
นั้นดั้งเดิมจะถูกสร้างขึ้นมาในช่องท้อง แต่พอระยะหลังของการตั้งครรภ์ ลูกอัณฑะนั้นจะค่อยๆเคลื่อนตัว
ลงมาอยู่ในถุงอัณฑะ เมื่อคลอดออกมาก็จะมีอัณฑะอยู่ในถุงอัณฑะเรียบร้อยแล้ว เซลล์ต้นกาเนิดที่จะได้
พัฒนาไปเป็นตัวอสุจิในภายหลังนั้นได้ถูกสร้างเก็บไว้ในอัณฑะตั้งแต่เริ่มแรก เรียกว่า Primordial germ
cell (ไพรมอร์เดียล เจอร์ม เซลล์) ซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกในถุงไข่แดงของตัวอ่อนเพศชาย ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปยัง
บริเวณที่จะพัฒนาต่อไปเป็นอัณฑะในช่วงอายุครรภ์4 – 6 สัปดาห์ขอระยะตัวอ่อน เซลล์ต้นกาเนิดของ
อสุจินั้นจะซ่อนตัวอยู่อย่างสงบจนกระทั่งผู้ชายเริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ ก็จะเริ่มแบ่งเซลล์เพื่อเตรียมพร้อม
สาหรับการพัฒนาไปเป็นอสุจิต่อไป
พัฒนาการของอัณฑะ
 เป็นกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เมื่อเพศชายเข้าสู่วยเจริญพันธุ์ โดยเริ่มต้นจากเซลล์ที่เรียกว่า
สเปอร์มาโทโกเนีย (spermatogonia) เจริญและพัฒนาไปเป็น สเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่ง (primary
spermatocyte) จากนั้นสเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่งจะเข้าสู่กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดยการแบ่ง
เซลล์แบบไมโอซีส (meiosis) เป็นระยะไมโอซีสขั้นแรก (meiosis I) ได้เซลล์ใหม่ เรียกวา สเปอร์มาโท
ไซต์ขั้นที่สอง (secondary spermatocyte)จากนั้นสเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่สองจะแบ่งเซลล์ต่อไปในระยะ
ไมโอซีสขั้นที่สอง (meiosis II) ได้เซลล์สเปอร์มาทิด (spermatid) ในการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์แต่ละครั้ง
นั้น สเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่ง 1 เซลล์ เมื่อแบ่งแล้วจะได้สเปอร์มาทิด 4 เซลล์ แต่ละเซลล์จะ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้เซลล์สเปิร์มต่อไป (spermiogenesis)
 สเปิร์ม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หัว (head) คอและลาตัว (mid piece) หาง (flagellum) โดยส่วน
หัวภายในบรรจุไว้ด้วยนิวเคลียสและปลายสุดของหัวถูกห่อหุ้มไว้ด้วย อะโครโซม (acrosome) ซึ่ง
บรรจุเอนไซม์สาหรับเข้าเจาะไข่ อะโครโซม นั้นถูกเปลี่ยนมาจากกอลจิคอมแพล็กซ์ (golgi complex)
ส่วนคอและลาตัว ส่วนนี้ตรงกลางมี แกนเรียกว่า แอกเซียลฟลาเมนต์ (axial filament) ตรงคอมีเซน
โทรโซม 2 อัน ถูกพันด้วยไมโทคอนเดรีย (mitochondria) แบบเกลียวและเป็นแหล่งให้พลังงาน
สาหรับการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม ส่วนแกนมีเยื่อหุ้มไว้ ส่วนหาง คือ ส่วนของแอกเซียลฟิลาเมนต์ที่ไม่มี
เยื่อหุ้ม มีหน้าที่สาหรับการเคลื่อนที่
สเปอร์มาโทจีนีซีส (spermatogenesis)
ภาพแสดงกระบวนการสร้างอสุจิ
 ภายในท่อเซมินิเฟอรัสทิวบูลนอกจากจะมีเซลล์ที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีเซลล์อีกชนิดหนึ่งเรียกว่า เซลล์
เซอร์โทริ (sertori cells)ทาหน้าที่เป็นเซลล์พี่เลี้ยงให้กับสเปิร์ม และระหว่างที่สเปอร์มาทิดเจริญไปเป็น
สเปิร์ม เซลล์เหล่านี้ยังทาหน้าที่กินเศษซากส่วนที่เหลือของไซโทพลาสซึมของสเปอร์มาทิดโดย
วิธีการฟาโกไซต์ (phagocyte) นอกจากนั้นภายในอัณฑะยังมีเซลล์ที่เจริญอยู่ภายนอกท่อเซมินิเฟอรัส
ทิวบูล เรียกว่า เซลล์เลย์ดิก (Leydig cells) หรือ เซลล์อินเตอร์สติเซียล (interstitial cells) เซลล์ชนิดนี่ทา
หน้าที่เป็นที่ผลิตฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสโทสเตอโรน (testosterone) และแอนโดรเจนชนิดอื่นๆ
(androgen)
 ในเพศชาย สเปอร์มาโทโกเนียแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนตลอดวัยเจริญพันธุ์ ซึ่งส่วนหนึ่งจะสารองไว้เพื่อเพิ่ม
จานวนต่อไป และอีกส่วนหนึ่งเจริญไปเป็นตัวอสุจิ ดังนั้น จึงสร้างอสุจิได้ตลอดอายุที่ร่างกายยังสมบูรณ์
และฮอร์โมนเพศยังหลั่งตามปกติ ตัวอสุจิที่ถูกสร้างจะผ่านออกทางปลายหลอดที่ค่อนข้างตรง (tubulus
rectus) หลายอันซึ่งรวมกันเป็น เรทเทสทิส (rete testis) ซึ่งยังเป็นโครงสร้างอยู่ภายในลูกอัณฑะ
จากนั้นตัวอสุจิเคลื่อนที่เข้าสู่ท่อนาอสุจิและส่วนของต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) พร้อมที่จะ
ออกนอกร่างกายเมื่อมีการร่วมเพศต่อไป
สเปอร์มาโทจีนีซีส (spermatogenesis)
spermiogenesis
Human Sperm structure
โครงสร้าง sperm cellของมนุษย์ แบ่งเป็น
1. head (ส่วนหัว)ส่วนใหญ่ก็เป็น nucleus ตรงปลาย nucleus ด้านหน้าจะมี acrosome ซึ่งเป็น organelles ชนิดหนึ่งที่เหลืออยู่คือ
Golgi body ซึ่งภายในมี hydrolytic enzyme เอาไว้สลาย jelly ที่หุ้ม egg อยู่ ในกรณีของคนจะใช้ในการสลาย Zona pellucida ที่
หุ้มรอบๆ egg ถัดมาข้างหลังเป็น centrioles เป็นส่วนที่ทาให้เคลื่อนที่ ส่วนที่เป็น flagellumมาที่ส่วนหาง
2. Middle piece (ส่วนตัว) ลักษณะเป็นแท่ง ภายในมีแกนกลางคือ centriole ซึ่งมี mitochondria รูปร่างเป็นเกลียว (spiral)เป็น
แหล่งสร้างพลังงานให้กับสเปิร์ม
3. Tail(ส่วนหาง) ใช้ในการเคลื่อนที่ (9+2 = 20 microtubule) ไม่มีเยื่อหุ้ม ลักษณะเป็นเส้นยาว
 อัณฑะจะทาหน้าที่ผลิตอสุจิได้ดีที่สุดเมื่ออยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม นั่นก็คือต่ากว่าอุณหภูมิร่างกายประมาณ 4 – 7
องศาเซลเซียส นั่นคือเหตุผลว่าเหตุใดถุงอัณฑะจึงอยู่ภายนอกร่างกาย อสุจิสร้างมาจากเซลล์ที่อยู่บนผนังของท่อ
ผลิตอสุจิ โดยเซลล์เหล่านี้ได้มีการแบ่งเซลล์ซ้าแล้วซ้าอีกเพื่อเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและรูปร่างหลายขั้นตอนกว่าจะ
กลายมาเป็นอสุจิ ซึ่งขั้นตอนการสร้างอสุจิภายในลูกอัณฑะนี้จะใช้เวลานานถึง 64 วัน หลังจากนั้นกระบวนการที่
ช่วยให้อสุจิเดินทางผ่านท่อผลิตอสุจิออกมาสู่ท่อเก็บอสุจิและท่อนาอสุจินั้นก็จะใช้เวลาอีกประมาณ 10 – 14 วัน
แม้ว่าภายในอัณฑะจะได้มีการพัฒนารูปร่างอสุจิให้สมบูรณ์เต็มที่แล้ว แต่ตัวอสุจิเองนั้นไม่มีความสมบูรณ์ในแง่ของ
การเคลื่อนไหว เนื่องจากอสุจิที่เพิ่งสร้างเสร็จใหม่ๆจากท่อผลิตอสุจินั้นไม่มีการเคลื่อนไหวเลย การเคลื่อนผ่านท่อ
ผลิตอสุจิไปยังท่อเก็บอสุจิจึงเป็นการช่วยพัฒนาตัวอสุจิให้สามารถเคลื่อนไหวได้ โดยเซลล์อีกชนิดหนึ่งที่อยู่ภายใน
ท่อผลิตอสุจิชื่อว่า Sertoli (เซอร์โตไล) จะทาหน้าที่สร้างของเหลวภายในท่อผลิตอสุจิช่วยนาพาอสุจิไปยังท่อเก็บ
อสุจิ เมื่ออสุจิเดินทางมาถึงยังท่อเก็บอสุจิจะเริ่มมีการเคลื่อนไหวได้เป็นครั้งแรก แต่จะว่ายวนเป็นวงเท่านั้นเอง อสุจิ
จะมีการเคลื่อนไหวได้อย่างสมบูรณ์แบบเมื่อเดินทางออกมายังท่อเก็บอสุจิไปสู่ท่อนาอสุจิ จะเห็นได้ว่าทั้งท่อเก็บ
อสุจิและท่อนาอสุจิต่างเป็นเสมือนที่พักสะสมอสุจิ แต่จะแตกต่างกันตรงที่อสุจิในท่อนาอสุจิจะมีปริมาณเพียงพอ
สาหรับการหลั่งอสุจิออกมาแต่ละครั้งเท่านั้น ต่างจากท่อเก็บอสุจิซึ่งจะเก็บสะสมอสุจิทั้งหมดที่อัณฑะสร้างเอาไว้
การนาพาอสุจิจากท่อผลิตอสุจิไปยังท่อเก็บอสุจิและท่อนาอสุจิ เกิดขึ้นโดยการหดรัดตัวของท่อต่างๆเหล่านี้นั่นเอง
ข้อควรรู้ : กระบวนการสร้าง Sperm
 ต่อมใต้สมอง Hypothalamus และต่อม Pituitary มีส่วนเกี่ยวข้องในการควบคุมการสร้างอสุจิ แม้ว่าตัวของมันเอง
จะไม่ใช่อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ก็ตาม Hypothalamus จะหลั่งฮอร์โมน GnRH ออกมาในกระแสเลือดเพื่อไป
กระตุ้นให้ Pituitary หลั่งฮอร์โมนออกมาอีกสองชนิด นั่นก็คือ FSH และ LH นอกจากนี้ยังมีฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องอีก
สองชนิดคือ Inhibin (อินฮิบิน) สร้างมาจาก Sertoli ซึ่งเป็นเซลล์ในท่อผลิตอสุจิ และฮอร์โมน Testosterone ซึ่ง
สร้างมาจากเซลล์อีกชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ภายนอกท่อผลิตอสุจิ เรียกว่า Leydig (เลย์ดิก) FSH ทาหน้าที่กระตุ้นให้ท่อ
ผลิตอสุจิในอัณฑะทาการผลิตอสุจิ ในขณะที่ LH กระตุ้นให้ Leydig cells ทาการสร้างฮอร์โมน Testosterone
อย่างไรก็ตาม FSH ก็มียังส่วนร่วมในการกระตุ้นให้ Leydig cells ผลิตฮอร์โมน Testosterone ด้วยเช่นกัน ในผู้ชาย
วัยเจริญพันธุ์ Testosterone มีบทบาทสาคัญในการควบคุมการทางานและการเจริญเติบโตของอวัยวะในระบบ
สืบพันธุ์หลายอวัยวะ และยังมีส่วนร่วมในการควบคุมการผลิตอสุจิ กลไกการทางานของฮอร์โมนนั้นถูกควบคุมโดย
ฮอร์โมนด้วยกันเองเพื่อคงระดับสมดุลของฮอร์โมนแต่ละชนิดเอาไว้ ฮอร์โมน Testosterone ทาหน้าที่ควบคุมการ
สร้าง LH ถ้าหากความเข้มข้นของฮอร์โมน Testosterone ลดลง จะส่งผลให้การสร้าง LH เพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับ
เมื่อระดับ Testosterone ในกระแสเลือดมีความเข้มข้นสูงก็จะมีการสร้าง LH ลดลง นอกจากนี้การควบคุมระดับ
ฮอร์โมน LH โดย Testosterone นั้นยังส่งผลต่อเนื่องไปยัง Hypothalamus ในการควบคุมการสร้าง GnRH อีกด้วย
เมื่ออัณฑะมีการผลิตอสุจิลดลงทาให้การสร้างฮอร์โมน Inhibin ลดลงด้วย ส่งผลให้ ต่อม Pituitary รับสัญญาณ
การเปลี่ยนแปลงนั้นและหลั่ง FSH และ LH ออกมามากขึ้น และฮอร์โมน FSH ก็จะส่งกระตุ้นการสร้างอสุจิและ
Inhibin เป็นวงจรต่อเนื่องกันไปเช่นนี้
ฮอร์โมนควบคุมการทางานของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Hormonal
control of
the testes
TESTICULAR CANCERS
อวัยวะเพศสืบพันธุ์ภายนอก ประกอบด้วย
 1. เนิน (mons pubis) มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมลง ตั้ง อยู่บนกระดูกหัวหน่าว ประกอบด้วยไขมัน
จานวนมาก ปกคลุมด้วยผิวหนัง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีขนเกิดขึ้นปก คลุมบริเวณนี้
 2. แคมใหญ่ (major labia) มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อนูนทอด จากเนิน ลงมาทั้ง 2 ข้าง เรียวลงมาจรดกันที่บริเวณฝี
เย็บ ปกติกลีบเนื้อทั้งสองข้างนี้ีีจะอยู่ติดกัน และปิด อวัยวะสืบพันธุ์ภายในทั้งหมด
 3. แคมเล็ก (minor labia) มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อเช่นเดียวกัน แต่ เล็กกว่า ซ้อนอยู่ด้านในลงมาจรดกันที่บริเวณ
อวัยวะเพศ
 4. ปุ่มกระสัน (clitoris) เนินตุ่มเล็กๆ ที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่ ยืดหดได้ มีเส้นประสาทมาหล่อเลี้ยงมาก จึงเป็น
จุด ที่ไวต่อความรู้สึกมาก
 5. ช่องคลอด (vagina) ช่องปัสสาวะและรูเปิดของต่อมบาโธลิน จะเปิดบริเวณที่เรียกว่า เวสติบูล ต่อมบาโธลินที่
มี อยู่ จานวนมากในบริเวณนี้ จะทาหน้าที่ขับน้าเมือก ออกมาหล่อลื่นช่องคลอด
 6. เยื่อพรหมจารี (hymen) เป็นเนื้อเยื่อบางๆ อยู่รอบปากเปิดของช่องคลอด มีรูเปิดตรงกลาง เยื่อนี้จะฉีกขาดได้
จาก การร่วมเพศหรือการออกกาลังกายที่โลดโผน
 7. ฝีเย็บ (perineum) คือบริเวณส่วนล่างของช่องคลอดลงมาถึงทวาร บริเวณนี้จะฉีกขาดได้ในระหว่างการคลอด
ปัจจุบัน จึงตัดบริเวณนี้แทนการ ปล่อยให้ฉีกขาดเอง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
อวัยวะที่สาคัญในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female reproductive system) ประกอบด้วย
 1. รังไข่ (ovary) มี 2 รังไข่อยู่ข้างซ้ายและข้างขวาของมดลูกทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
คือ ไข่ (egg) และสร้างฮอร์โมนเพศหญิง เอสโทรเจน (oestrogen) โพรเจสเทอโรน (progesterone)
และรีแลกซิน (relaxin) ซึ่งจะเริ่มทาหน้าที่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นอายุประมาณ 12-15 ปี ฮอร์โมนเอสโทร
เจน ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะของเพศหญิง เช่น กระตุ้นให้ต่อมน้านมเจริญ ผิวพรรณละเอียด เสียง
เล็กแหลม มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์มีความต้องการทางเพศในขณะที่ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
ทาหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมนเอสโทรเจนเกี่ยวกับการควบคุมเยื่อชั้นในของมดลูกให้มีการเตรียมการเพื่อ
รองรับการฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วและการมีประจาเดือน การมีฮอร์โมนอสโทรเจนและฮอร์โมน
โพรเจสเทอโรนต้องมีอยู่ในภาวะเหมาะสม หากมีมากเกินไปจะทาให้โตเป็นสาวไวกว่าอายุ และถ้ามี
น้อยเกินไปจะเจริญเติบโตช้า ส่วนฮอร์โมนรีแลกซินมีหน้าที่ทาให้เอ็นของกระดูกเชิงกรานบริเวณหัว
เหน่าคลายตัวออกและมีลักษณะอ่อนนุ่มขึ้นเพื่อสะดวกในการคลอด
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
ovary
 2. มดลูก (uterus) เจริญมาจากท่อนาไข่ มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ ขนาดกว้างยาวประมาณ 3.32 นิ้ว
หนา ประมาณ 1 นิ้ว เป็นบริเวณที่ไข่เมื่อถูกผสมแล้วมาฝังตัวและเจริญเติบโต มดลูกประกอบด้วย
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ
 2.1 ชั้นนอกสุด เรียกว่า perimetrium หรือ serosa ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อบุช่องท้องลงมา
คลุมมดลูกเอาไว้ทางด้านข้างจะกลายเป็น broad ligament ทางด้านหน้าเยื่อบุช่องท้องจะวกกลับ
ไปคลุมกระเพาะปัสสาวะ ทาให้เกิดเป็นแอ่งระหว่างมดลูกกับกระเพาะปัสสาวะ เรียกว่า
vesicouterine pouch ส่วนทางด้านหลังเยื่อบุช่องท้องจะวกกลับไปคลุมไส้ตรง ทาให้เกิดแอ่งลึก
ระหว่างมดลูกกับไส้ติ่ง เรียกว่า rectouterine pouch (pouch of Douglas) ซึ่งเป็นแอ่งที่อยู่ต่า
ที่สุดในช่องท้อง ถ้าหากเกิดการตกเลือดหรือมีการอักเสบในช่องท้องจะทาให้เลือดหรือหนองมา
ขังอยู่ในแอ่งนี้
 2.2 ชั้นกลาง เรียกว่า myometrium ประกอบด้วย ชั้นของกล้ามเนื้อเรียบที่หนาประมาณ 12-15
มิลลิเมตร ซึ่งมี การเรียงตัวทั้งแบบตามยาว วงกลม และแบบเฉียง ในช่วงตั้งครรภ์เส้นใย
กล้ามเนื้อสามารถที่จะขยายให้ใหญ่ขึ้นและยืดยาวออกได้ ถึง 10 เท่าตัว เมื่อคลอดบุตรแล้ว
กล้ามเนื้อของมดลูกจะหดเล็กลงตามเดิม
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
Uterus
childbirth
 2.3 ชั้นในสุด เรียกว่า endometrium ชั้นนี้จะมีเยื่อบุผิวชนิด simple columnar epithlium มี cilia ปะปน
อยู่ ภายในมีต่อมชนิด simple coiled tubular gland ที่เรียกว่าuterine gland นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันอยู่กันอย่าง หลวมๆเรียกว่า stroma และหลอดเลือดที่มีลักษณะขดไปมาเรียกว่าspiral (coiled)
artery ผนังชั้นนี้แบ่งออกเป็น 2 ชั้น
- functional layer หรือ functionalis อยู่ติดกับโพรงมดลูกประกอบด้วยเยื่อบุผิวและuterine
gland และ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (endometrium stroma) ชั้นนี้เป็นชั้นที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาของ
รอบประจาเดือนและจะหลุดลอกออกไปขณะที่มีประจาเดือน
- basal layer หรือ basalis เป็นชั้นที่ติดกับ myometrium ชั้นนี้จะแบ่งเซลล์ให้เนื้อเยื่อเจริญขึ้น
ไปแทนที่ชั้น functionalis หลังจากที่มีการหลุดลอกออกไปเป็นเลือดประจาเดือน
 สภาพที่เกิดกับมดลูกของสตรีวัยเจริญพันธุ์คือ เอ็นโดเมไทรโอซิส(endometriosis) เป็นอาการปวด
ประจาเดือน สาเหตุเกิดจากเนื้อเยื่อบางส่วนของผนังมดลูกชั้นเอนโดมีเทรียมเคลื่อนไปเกาะกับผนังรังไข่
ท่อนาไข่ ผนังช่องท้องซึ่งอาจ จะกดทับบริเวณที่เป็นปลายประสาทเวลามีประจาเดือนผนังมดลูกส่วนนี้
จะหลุดออกพร้อมกับกระตุ้นปลายประสาทบริเวณที่กดทับอยู่ทาให้เกิดอาการปวดประจาเดือนขึ้น ความ
ผิดปกตินี้อาจนาไปสู่สภาวะการมีบุตรยากนอกจากนั้นพยาธิสภาพที่เกิดกับมดลูกได้แก่ มะเร็งปาก
มดลูก (cervical cancer) เป็นต้น
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
 3. ปีกมดลูกและท่อนาไข่ (oviduct และ Fallopian tube /uterine tube ) อยู่สองข้างของมดลูกยาวประมาณ 10
เซนติเมตร ปลายด้านที่อยู่ใกล้รังไข่มีลักษณะเป็นปากแตร โครงสร้างภายในท่อประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ และ
ซิเลีย (cilia) ช่วยในการเคลื่อนที่ของไข่และบริเวณท่อนาไข่ส่วนต้นเป็นตาแหน่งสาคัญ คือ บริเวณที่มีการ
ปฏิสนธิเกิดขึ้นและถ้า ไม่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นไข่จะสลายไปในที่สุด
 4. ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกล้ามเนื้อยืดหยุ่น เชื่อมต่อระหว่างมดลูกและระบบสืบพันธุ์ด้านนอก ทาหน้าที่
เป็นช่องทางเข้าออกของอสุจิและเป็นทางออกของทารกและประจาเดือน
 วัลวา (vulva) เป็นโครงสร้างด้านนอกของระบบสืบพันธุ์ ประกอบด้วย แคมเล็ก (labia minora) แคมใหญ่ (ladia
majora) หน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ ต่อมคลิทอริส (clitoris) เป็นส่วนที่ถูกกระตุ้นได้ง่าย
เมื่อมีการเร้าทางเพศ นอกจากนั้นจะมีส่วนที่นูนขึ้น (mons pubis) และเยื่อบางๆ ปิดอยู่บริเวณปากช่องคลอด
เรียกว่า เยื่อพรหมจารีย์ (hymen)
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
สรุป : อวัยวะต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 เต้านม (Breasts) เป็นโครงสร้างที่ประกอบด้วยต่อมสาหรับสร้างน้านมขนาดเล็กเป็นจานวนมากทาหน้าที่
สร้าง น้านมเลี้ยงทารก ต่อมเหล่านี้อยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียกวา อัลวโอไล (alveoli) น้านมที่
สร้างแล้วจะถูก ขับออกมาจากแหล่งสร้างมายังหัวนมโดยผ่านมาตามท่อขนาดเล็กและที่สาคัญคือมี ฮอร์โมน
อย่างน้อย 4 ชนิดทาหน้าที่ เกี่ยวกับการเจริญของต่อมน้านม กระตุ้นการผลิตและการหลั่งน้านม ในระหว่างที่
แม่ตั้งครรภ์คอร์พัสลูเทียมจะสร้าง ฮอร์โมนเอสโทรเจน และ โพรเจสเทอโรน ในปริมาณมาก ฮอร์โมนทั้ง 2
ชนิดนี้ ทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญของต่อมน้านม ในช่วงการคลอดบุตรใหม่ๆ ต่อมน้านมจะผลิตน้านมที่
เรียกว่า คอรัสตรุม (colostrum) ออกมา น้านมชนิดนี้ประกอบด้วย โปรตีนและน้าตาลแลกโตสในปริมาณสูง มี
ไขมันน้อย โดยมีฮอร์โมน โพรแลกติน (prolactin) กระตุ้นการผลิตน้านมและ เมื่อทารกดูดนมจะมีผลกระตุ้น
ต่อมใต้สมองส่วนหลั่งให้หลังฮอร์โมนออกซิโทซิน (oxytocin) ออกมา และทาหน้าที่ กระตุ้นการหลั่งน้านม
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
ภาพโครงสร้างเต้านม breasts structure
breasts cancer
breasts cancer self check
 เริ่มจากเซลล์ที่เรียกว่า โอโอโกเนีย (oogonia) จากการศึกษาพบว่าโอโอโกเนียนี้มีในรังไข่ของทารก
หญิงก่อนคลอดเป็นจานวนมากและเปลี่ยนไปเป็นโอโอไซต์ ขั้นที่หนึ่ง (primary oocyte) เมื่อถึงเวลา
ใกล้คลอดจะเจริญและพัฒนาเป็นโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง ระยะโพรเฟส I (prophase I) และจะหยุดอยู่
ในระยะนี้จนกระทั่ง ทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเจริญพันธุ์ โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง และเซลล์
ที่ล้อมรอบเรียกว่า ฟอลลิเคิล (follicle)ฟอลลิเคิลบางส่วนจะเจริญและขยายขนาดขึ้นทุกๆ รอบของ
วงจรประจาเดือน ขณะที่ฟอลลิเคิลเจริญขึ้น โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะเข้าสู่การแบ่งเซลล์สืบพันธุ์โดย
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเป็น ไมโอซิสขั้นที่หนึ่ง (meiosis I) แต่เนื่องจากการแบ่งโอโอไซต์ขั้นที่
หนึ่งนี้มีการแบ่งไซโตพลาสซึมไม่เท่ากัน ได้เซลล์ที่มีขนาดใหญ่เรียกโอโอไซต์ขั้นที่สอง (secondary
oocyte) และเซลล์ที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า โพลาร์บอดีที่หนึ่ง (first polar body) โดยมากเมื่อมีการ
เจริญมาถึงขั้นนี้จะถึงระยะเวลาการตกไข่ (ovulation) เมื่อมีการปฏิสนธิ โอโอไซต์ขั้นที่สองจะแบ่ง
เซลล์ระยะไมโอซีสขั้นที่สอง (meiosis II) ต่อไปและให้โพลาร์บอดีที่สอง (second polar body) และ
โอวัม (ovum) จะสังเกตว่า กระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ในแต่ละครั้ง ในแต่ละโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง
จะให้เซลล์ไข่ที่เจริญเต็มที่ครั้งละเพียง 1 เซลล์นอกนั้นจะสลายไป
กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่
ภาพแสดงกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
 ในขณะที่โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่งเจริญและพัฒนานั้น โอโอไซต์จะเริ่มแยกจากกลุ่มเซลล์ที่ล้อมรอบหรือที่
เรียกว่า เซลล์ฟอลิคิวลาร์ (follicular cell) โดยมีชั้นโซนาเพลลูซิดา (zona pellucida) ซึ่งเป็นสาร
จาพวกไกลโคโปรตีนห่อหุ้ม ขณะเดียวกันฟอลลิเคิลจะผลิตของเหลวเข้าสู่ช่องว่าง ที่เรียกว่า แอนทรัม
(antrum) ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์ที่ล้อมรอบและเซลล์ไข่โดยปกติในแต่ละรอบเดือนจะมีเพียง 1 ฟอลลิเคิล
เท่านั้นที่เจริญถึงระยะไข่ตกได้ ส่วนอีกหลายๆ ฟอลลิเคิลจะฝ่อไป ขณะที่ฟอลลิเคิลเข้าสู่ระยะแมทัว
(mature) จะเคลื่อนที่เข้าใกล้ผนังรังไข่รูปร่างคล้ายถุงน้า เซลล์ของฟอลลิเคิลจะหลั่งเอ็มไซม์โพทิโอไล
ติก (proteolytic enzyme) ย่อยผนังรังไข่ทาให้โอโอไซต์ขั้นที่สองหลุดออกจากผนังรังไข่เข้าสู่ท่อนาไข่
ฟอลลิเคิลที่เหลืออยู่ในรังไข่จะเจริญและพัฒนาเป็นคอร์พัสลูเทียม (corpus luteum)
 ฮอร์โมน FSH เป็นตัวกระตุ้นให้ฟอลลิเคิลเจริญและขยายขนาดขึ้นได้ และเมื่อฟอลลิเคิลเจริญขึ้นจะ
สร้างและ หลั่งฮอร์โมน เอสโทรเจน (estrogen) ส่วนคอร์พัสลูเทียมสร้างและหลั่งเอสโทรเจน
(estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศหญิง
ได้แก่ การมีเสียงแหลม นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับ การเจริญของมดลูก การมีประจาเดือน
กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561

More Related Content

What's hot

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Similar to Lesson4 animalrepro2561

Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 

Similar to Lesson4 animalrepro2561 (20)

Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
1
11
1
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
1
11
1
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lesson4 animalrepro2561

  • 1. บทที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
  • 2.  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ครูผู้สอน
  • 3.  สิ่งมีชีวิตมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือ มีการสืบพันธุ์เพื่อการดารงเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ รวมถึงการ ส่งต่อลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมไปให้ลูกหลาน เพื่อรักษาเผ่าพันธุ์ของตัวเองไว้ให้คงอยู่ต่อไป  การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือนตนเอง การ สืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้  การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) และ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบนี้จะได้ลูกจาก การแบ่งเซลล์ แบบไมโตซีส (mitosis) ลักษณะทางพันธุกรรมของลูกเหมือนพ่อแม่ทุกประการ สามารถ แบ่งออกได้หลายแบบ 1.1 การแตกหน่อ (budding) เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่า โดยเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะมีการสร้างเนื้อเยื่อข้างลาตัวงอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็นตัวเล็ก ๆ ที่มีอวัยวะต่าง ๆ เหมือนตัวแม่ หลังจากติดอยู่กับตัวแม่ระยะหนึ่งก็จะหลุดออกมาไปอยู่อิสระตามลาพัง สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้ ได้แก่ ไฮดรา โอบิเลีย ฟองน้า ปะการัง และ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (พวกยีสต์) @ external budding แตกหน่อภายนอก / internal budding (gemmule) แตกหน่อภายใน การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction)
  • 5. jellyfish life cycle : Metagenesis
  • 6.  ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่น ฟองน้ามีการสร้างเจมมูล (gemmules) เจริญอยู่ภายใน ร่างกาย ภายในเจมมูลมีกลุ่มเป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อตัวเดิมตายไป เจมมูลจะหลุดออกมาเป็นอิสระ และเซลล์ที่อยู่ภายในจะเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่  การสร้างเจมมูล ( gemmule formation ) คล้ายกับหน่อภายใน ประกอบด้วยเซลล์ขนาดเล็ก ๆ จานวนมาก และรอบ ๆ กลุ่มเซลล์จะห่อหุ้มด้วยผนังหนาและแข็ง Asexual reproduction : การสร้างกลุ่มเซลล์พิเศษ  Vegetative propagation คือส่วนต่างๆ ของพืชที่ไม่ใช้เมล็ดในการสืบพันธุ์ ได้แก่ การตอนกิ่ง ต่อกิ่ง ต่อตา ทาบกิ่ง ใช้ใบ ใช้ราก และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  • 7.
  • 8.  1.2 การแบ่งตัวออกเป็นสอง(Binary Fission) เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว (พวกโพรติสต์)ได้แก่ อะมีบาพารามีเซียมยูกลีนา และแบคทีเรียการสืบพันธุ์วิธีนี้เกิดขึ้นโดยการแบ่งตัวจาก1 เซลล์ เป็น 2 เซลล์ โดยนิวเคลียสของเซลล์จะแบ่งตัวก่อนแล้วไซ โทพลาสซึมจะแบ่งตามได้เป็นตัวใหม่2 ตัว ซึ่งแต่ละตัวจะมี ลักษณะเหมือนตัวเดิมทุกประการเช่น การแบ่งตัวของอะมีบาและ พารามีเซียม @ multiple fission แบ่งได้หลายตัวขนาดเท่าๆ กัน เช่น Plasmodium  1.3 การงอกใหม่ (Regeneration) พบ ในสัตว์ชั้นต่า ได้แก่ ดาว ทะเล พลานาเรียซีแอนนีโมนี การงอกใหม่เป็นการสร้างส่วนของ ร่างกายที่ขาดหายไปโดยสัตว์เหล่านี้ถ้าร่างกายถูกตัดออกเป็น ส่วนๆ แต่ละส่วนจะสามารถงอกเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ ดังนั้น การงอกใหม่นี้จึงทาให้มีจานวนสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากจานวนเดิม @ ต้องมีส่วนที่เป็น animal’s central disk ซึ่งสามารถ เจริญไปเป็นตัวใหม่ได้ การสืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศ (asexual reproduction)
  • 9.
  • 10.
  • 11. Binary Fission ; mitotic cell division random longitudinal transverse
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.  1.4 การสร้างสปอร์ (Spore Formation) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสหลาย ๆ ครั้ง ต่อจากนั้นไซโทพลาสซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้น เป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะมีนิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore) ภายในอับสปอร์ สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ เห็ด รา พืชต่างๆ  1.5 การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอีกแบบหนึ่งของ สิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะพวกที่มีเซลล์ต่อกันเป็นเส้นสายโดยการหักเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนที่หลุดไปก็จะ แบ่งตัวแบบ Mitotic cell division ได้เซลล์ใหม่ที่ต่อกันเป็นเส้นสายเจริญต่อไป เช่น พวกหนอนตัว แบน สาหร่ายทะเล การสืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศ (asexual reproduction)
  • 16. Multiple fission หรือ Schizogony ลักษณะการแบ่งตัว คือ นิวเคลียสแบ่งซ้ากันหลายๆครั้ง ก่อนจะมีการแบ่งตัว ของ cytoplasm ล้อมรอบนิวเคลียส เซลล์เหล่านี้มีชื่อแต่ ละเซลล์เรียกว่า schizont เมื่อการแบ่งตัวเสร็จสิ้น สมบูรณ์ เซลล์แม่ที่มีลักษณะเป็น schizont จะแตกออก ปล่อยให้เซลล์ลูก (daughter cell) หลุดออกมาก เรียกว่า merozoites พร้อมที่จะเข้าสู่วงจรชีวิตอื่นต่อไป
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 21.
  • 22. 22 ข้อดีของ asexual reproduction 1. เป็นประโยชน์สาหรับสัตว์พวกที่เกาะอยู่กับที่ ซึ่งไม่สามารถผสมพันธุ์กับตัวอื่น 2. สามารถเพิ่มจานวนสมาชิกใหม่ของสิ่งมีชีวิตได้อย่างรวดเร็ว 3. ประโยชน์ที่สาคัญ คือ ลักษณะที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมยังคงอยู่ต่อไปในรุ่นต่อๆไป
  • 23.  การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในพวกโปรติสต์และสัตว์ชั้นต่ามีพิเศษที่ไม่ค่อยพบ ได้แก่ 1. Syngamy เป็นกระบวนการสืบพันธ์แบบอาศัยเพศ โดยที่จะมีการสร้าง เซลล์ (gamete) ซึ่งประกอบด้วยเพศเมีย (macrogamete) และเซลล์เพศผู้ (microgamete) จะมีการ ปฏิสนธิ (fertilization) โดยเซลล์เพศเมียจะรวมตัวกับเซลล์เพศผู้เป็นเซลล์เดียวกัน (zygote) วิธีนี้ พบได้ในพวก plasmodium spp. 2. conjugation เกิดจากการที่โปรโตซัว 2 ตัว สามารถเชื่อมติดกันชั่วคราวเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางพันธุกรรมซึ่งกันและกัน หลังจากนั้นจะแยกจากกันเหมือนเดิม การสืบพันธ์วิธีนี้พบในพวก ซิลิเอต เช่น Balantidium coli 3. sporogony ขบวนการนี้เกิดจากการที่เซลล์เพศผู้และเซลล์เพศเมียรวมตัวกัน เป็น oocyst ซึ่งภายใน oocyst จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจานวนได้เซลล์ใหม่หลายเซลล์ ซึ่งแต่ละเซลล์ เรียกว่า sporozoite ซึ่งพบได้ในโปรโตซัวจาพวก sporozoa การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในโปรติสต์
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.  ซินแกมี (Syngamy) โปรโตซัว 2 ตัว ก่อนการสืบพันธุ์ทาหน้าที่เป็นเซลล์ร่างกาย หากินธรรมดา พอ ถึงช่วงสืบพันธุ์ต่างก็มีเซลล์สืบพันธุ์มารวมกันแล้วไปแบ่งทีหลังก็กลับมาเป็นตัวเดิม  conjugation ตัวอย่างเช่น Conjugation พารามีเซียม มี 2 ตัว มาจับคู่กัน แต่ละตัวนั้นมี นิวเคลียส 2 อัน นิวเคลียสอันใหญ่ เรียกว่า แมคโครนิวเคลียส อันเล็กเรียกว่า ไมโครนิวเคลียส แมค โครนิวเคลียส จะไม่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบนี้ ไมโครนิวเคลียสจะเป็นตัวสาคัญเข้าคู่กัน โดยไมโคร นิวเคลียสของโปรโตซัวทั้งสองจะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส ต่อจากนั้นมีการแลกเปลี่ยนนิวเคลียส หลังจากที่นิวเคลียสรวมตัวกันแล้ว โปรโตซัวทั้งสองตัว จะแยกจากกันและต่างก็ไปแบ่งตัวต่อไป สรุป : sexual reproduction in protozoa
  • 29.  ลักษณะเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งตามรูปร่าง 1. ไอโซแกมีต (Isogamete) เซลล์สืบพันธุ์จะมีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน เช่นมีลักษณะกลม เหมือนกัน เล็กเท่ากันไม่สามารถแยกว่าเป็นเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้หรือตัวเมียได้ พบในโปรติสต์บางชนิด (A)  2. เฮตเทอโรแกมีต (Heterogamete) เซลล์สืบพันธุ์มีความแตกต่างกันแบ่งย่อยเป็น 2 ชนิด คือ - แอนไอโซแกมีต (Anisogamete) มีรูปร่างเหมือนกัน แต่ขนาดต่างกัน เช่น กลมเหมือนกัน แต่มี ขนาดเล็กกับใหญ่ พบในโปรติสต์บางชนิด(B) - โอโอแกมีต (Oogamete) ต่างกันทั้งขนาดและรูปร่างก็ต่างกัน (เซลล์สืบพันธุ์ขนาดเล็กมีหัว มีหาง เคลื่อนที่ได้ เรียกว่าสเปิร์ม ส่วนเซลล์ตัวเมียจะมีขนาดรูปร่างกลมขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ไม่ได้เรียกว่า ไข่ พบในสัตว์ชั้นสูงและพืชชั้นต่าบางชนิด (C) เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell)
  • 30.  2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการรวมตัวระหว่าง นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (male gamete) หรืออสุจิ (sperm) กับนิวเคลียสของเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย (female gamete) หรือ ไข่ (egg) ซึ่งได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส การ รวมตัวของนิวเคลียสดังกล่าวเรียกว่า การปฏิสนธิ (fertilization)  การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์จะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะ สร้างในรังไข่เพศผู้สร้างอสุจิในอัณฑะ เมื่อนิวเคลียสของไข่และอสุจิผสมกันจะเกิดการปฏิสนธิ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ  3.1 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศอยู่ในตัวเดียวกันหรือสัตว์ที่เป็นกะเทย (hermaphrodite) มีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ  3.1.1 การปฏิสนธิในตัวเอง (self fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์ พวกนี้จะพร้อมกัน จึงสามารถปฏิสนธิในตัวเองได้ เช่น พยาธิตัวตืด  3.1.2 การปฏิสนธิข้ามตัว (cross fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของ สัตว์พวกนี้จะไม่พร้อมกัน จึงมีการปฏิสนธิข้ามตัว เช่น พลานาเรีย ไส้เดือนดิน การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction)
  • 31. Hermaphrodite : cross/external fertilization External budding
  • 32. Hermaphrodite : self or cross fertilization Simultaneous hermaphrodites (มีทั้ง 2 เพศในขณะที่มีการสืบพันธุ์)
  • 33.
  • 35.
  • 36. cross fertilization หลังจากแยกจากกันประมาณ 2-3 วัน ปล้อง Clitellum จะสร้างเมือก และถุงหุ้มไข่ (cocoon) เคลื่อนตัวถอยหลัง
  • 37.
  • 38. @ monoecious / hermaphrodite คือ 1 ตัวมี 2 เพศ (cross or self fertilization) @ dioecious / sex separate คือ 1 ตัวมี 1 เพศ (cross fertilization : protogynous/protoandrous)
  • 39.  สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจสลับกันทั้ง 2 เพศ หรือบางชนิดเป็น protogynous : female first (ตอนที่อายุน้อยเป็นเพศ เมีย พอโตขึ้นเปลี่ยนเป็นเพศผู้) หรือ protoandrous : male first (ตอนที่อายุน้อยเป็นเพศผู้ พอโตขึ้นเปลี่ยนเป็น เพศเมีย) หรือบางชนิดเกี่ยวข้องกับอายุและขนาดตัว ตัวอย่างเช่น พวกที่เป็น protogynous ได้แก่ ปลา blue head wrasse ตัวที่แก่ที่สุด และตัวใหญ่ที่สุดในฝูงปลาจะเป็นตัวผู้ เพื่อทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้ฝูงปลา พวก หอย oysters เป็น protandrous ตัวใหญ่จะกลายเป็นตัวเมียซึ่งสร้างไข่ได้เป็นจานวนมาก hermaphrodite Sequential ( หรือ protandrous ) hermaphrodites นั่นคือสิ่งมีชีวิตตัวนั้น ๆ ไม่ได้ทาหน้าที่ทั้งสองเพศในเวลาเดียวกัน แต่มีการ "เปลี่ยนเพศ " ที่ ณ จุดเวลาหนึ่งของวงชีวิต ( บางทีอาจเปลี่ยนได้หลายๆ ครั้ง ) โดยทั่วไป สิ่งมีชีวิตที่เป็นแบบ protandrous hermaphrodites ขณะที่ยังเป็นรุ่น ๆ จะเป็นเพศผู้ และเมื่อเติบโตและตัวใหญ่ จะกลายเป็นเพศเมีย ( ยกตัวอย่างเช่น กุ้งหลายชนิด เช่น กุ้งนักเลง coral banded shrimp , Stenopus hispidus )
  • 40.  พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis) เป็นการสืบพันธุ์อาศัยเพศของแมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนกิ่ง ไม้ เพลี้ย ไรน้า ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียเจริญเติบโตไปเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ อย่างสมบูรณ์สามารถฟักเป็นตัวได้โดย ไม่ต้องมีการปฏิสนธิ ในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะ ฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้ง หนาวเย็นหรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็นทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัว ผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่ มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสม ดังกล่าวได้ ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ทีโนเจเนซิสด้วยเช่นกัน โดยไข่ไม่ ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้ ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ หรือตัวหนอนของ แมลงบางชนิด เช่น Miaser (Diptera) สามารถสืบพันธุ์แบบพาร์ทีโนจีนีซีสได้ทั้งที่ยังเป็นตัวอ่อน เรียกวิธีการนี้ว่า พีโดเจเนซีส (paedogenesis) พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis)
  • 41.
  • 42. paedogenesis Paedogenesis, also spelled Pedogenesis, reproduction by sexually mature larvae, usually without fertilization. The young may be eggs, such as are produced by Miastor, a genus of gall midge flies, or other larval forms, as in the case of some flukes. This form of reproduction is distinct from neotenic reproduction in its parthenogenetic nature (i.e., no fertilization occurs) and the eventual maturation or metamorphosis of the parent organism into its adult form.
  • 43.  จัดเป็นกึ่ง sexual เพราะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ มี 2 แบบ คือ 1. Natural parthenogenesis เกิดในธรรมชาติพบในผึ้ง มด ต่อ แตนตัวผู้ ผึ้งตัวผู้เกิดจากไข่ไม่ผสมมี n เดียว เป็น ตัวผู้ ไข่ที่ผสมจะมี 2n เป็นตัวเมีย ส่วนใหญ่เป็นผึ้งงาน แต่จะมีบางตัวอาจจะเป็นผึ้งนางพญาขึ้นกับห้องที่ นางพญาไปวางไข่ ถ้าเป็นห้องสี่เหลี่ยมเล็กๆ worker พี่เลี้ยงก็จะเลี้ยงให้เป็นผึ้งงาน ถ้าเป็นห้องรูปไข่ ผึ้งงานที่ เป็นพี่เลี้ยงก็จะเลี้ยงให้เป็นนางพญา ถ้าเป็นผึ้งตัวผู้นั้นเกิดจากไข่ที่ไม่ผสมก็มี n เดียว ตัวเมียเกิดจากไข่ผสมก็มี 2n เช่นเดียวกับมด ต่อ แตน นอกจากนั้นจะพบในพวก Rotifer เป็นพวกสัตว์ชั้นต่า และพบในแย้ ซึ่งเป็นสัตว์มี กระดูกสันหลัง 2. Artificial parthenogenesis ไม่เกิดโดยธรรมชาติ เป็นการกระตุ้นโดยมนุษย์ โดยอาจใช้เข็มแทงหรือใช้สารเคมี ตัวอย่างเช่น หอยเม่น กระตุ้นให้ไข่หอยเม่นที่ไม่ผสม กระตุ้นให้มันเจริญเป็นตัวได้ โดยไม่ต้องผสมกับสเปิร์ม การทาเช่นนี้หากเปรียบเทียบกับพืช คือ parthenocarpy หรือเรียกในผลที่เกิดมาว่า parthenocarpic fruit ใน กรณีของพืชนั้น ผลที่เกิดจากวิธีนี้ก็ไม่มีเมล็ดนั่นเอง พาร์ทีโนจีนซีส (parthenogenesis)
  • 44.
  • 45.
  • 46. 46 สัตว์มีระบบสืบพันธุ์แบบต่างๆ • สัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิด จากแบบง่ายๆจนถึงแบบซับซ้อน • สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะคล้ายกัน แต่มีข้อแตกต่างที่สาคัญได้แก่ - ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก มีทางเปิดของ digestive, excretoryและ reproductive tracts แยกกัน แต่ในพวกอื่นๆที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วนนม หลายชนิดมีทางเปิดร่วม เรียกว่า cloaca -สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มี penis ที่เจริญดี และใช้วิธีการอื่นในการ ส่ง สเปิร์ม
  • 47.
  • 48.  3.2 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้เพศเมียกัน มักพบในสัตว์ชั้นสูงซึ่งมีการแยกเพศให้เห็นกัน อย่างชัดเจนต่างจากไฮดราหรือไส้เดือนดินที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน สาหรับตัวผู้มักจะมีสีสัน ฉูดฉาด หรือสีเข้มกว่าตัวเมียหรือมีเสียงร้องไพเราะกว่า เพราะจะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าหา ซึ่ง มักเป็นไปในทางตรงข้ามกับมนุษย์ ซึ่งมีการปฏิสนธิอยู่ 2 ประเภท  3.2.1 การปฏิสนธิภายนอก (external fertilization) ในการผสมพันธุ์ของสัตว์ที่แยกเพศกันอยู่คน ละตัว การปฏิสนธิอาจมีทั้งภายนอกและภายในตัว สาหรับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่ การ ปฏิสนธิมักเกิดภายนอกตัว เช่น หอยบางกลุ่ม กุ้ง หรือปู การปฏิสนธิภายนอกนั้นมักเกิดกับสัตว์ น้า โดยสัตว์ที่ผสมพันธุ์กันจะปล่อยอสุจิและไข่ออกมาโดยไม่ต้องจับคู่ โดยแต่ละตัวต่างปล่อย เซลล์สืบพันธุ์ออกมาเป็นจานวนมากมาย เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิจะว่ายน้าและมุ่งตรงไปยัง ไข่อย่างถูกต้องเพราะไข่มีสารเคมีเป็นตัวกระตุ้นอสุจิให้เข้าหา ทาให้เซลล์สืบพันธุ์ทั้งสองมี โอกาสได้พบกันมากขึ้น แต่ถ้าไม่พบกันเซลล์สืบพันธุ์ก็จะสลายตัวตายไป สาหรับสัตว์ที่มีกระดูก สัตว์หลังที่มีการปฏิสนธิภายนอกตัวจะมีการจับคู่กันผสมพันธุ์ในน้า ได้แก่ ปลาหลายชนิด กับ สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เช่น กบ คางคก อึ่งอ่าง หลังจากปฏิสนธิแล้วไข่จะกลายเป็นไซโกต ไซโกตจะแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสและเจริญเติบโตเป็นตัวอ่อนต่อไป การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
  • 49.
  • 50.  เม่นทะเลหรือหอยเม่น เป็นพวก Echinodermata ซึ่งเซลล์ไข่มี Vetelline layer หุ้มและมี egg plasma membrane เป็นเยื่อหุ้มเซลล์ ข้างนอกมี jelly coat หนาหุ้มอยู่ บริเวณ Vitelline membrane จะมี receptorsที่เป็นโปรตีนอยู่ และจะรับเฉพาะสเปิร์มของสปีชีส์เดียวกันเท่านั้น  เมื่อสเปิร์มของหอยเม่นปล่อยออกมา ภายในสเปิร์ม ส่วนหัวมีนิวเคลียสและ acrosome ซึ่งมี Golgi complex หรือ Golgi apparatus เดิมภายในมี hydrolytic enzyme และใต้ acrosome มี actin เป็นพวก ไมโครฟิลาเมนท์ เมื่อสเปิร์มว่ายมาถึง jelly coat acrosome จะปล่อย hydrolytic enzyme สลาย jelly coat จากนั้น actin จะดันยื่นออกไปเป็น acrosomal process แทงทะลุ jelly coat ไปที่ receptors ที่อยู่ บน membrane  ฉะนั้นก็เกิดกระบวนการที่เรียกว่า Acrosomal reaction โดยเยื่อหุ้มเซลล์ของสเปิร์มกับไข่จะหลอม รวมกันเป็นเนื้อเดียวเกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า เกิด depolarization ขึ้น คือ มี Na+ ไหล เข้าไปในเซลล์ของไข่เกิดการเปลี่ยนแปลง membrane potential ทาหน้าที่เป็นกาแพงกั้นไม่ให้สเปิร์ม ตัวอื่นเข้าไป จะมีสเปิร์มเข้าได้เพียงตัวเดียว เรียกว่า fast block to polyspermy เกิดการเปลี่ยนแปลง ประจุไฟฟ้าที่บริเวณผิวของ membrane นี้ External fertilization of Sea Urchin
  • 51.  ต่อไป cortical reaction เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขอบนอกของ egg cytoplasm การรวมกันของสเปิร์ม และไข่จะกระตุ้นสัญญาณให้เกิดการเหนี่ยวนาให้มีการปล่อย Ca2+ จาก ER ของเซลล์ไข่ Ca2+ เป็น second messenger เป็นตัวนาข่าวตัวที่ 2 ไปที่ cortical granuleเป็นเม็ดๆอยู่ที่ถุงกลมๆ  Cortical granule จะมารวมกับ plasma membrane ของไข่ เกิดการรวมกันแล้วปล่อยสารออกมาทาให้ plasma membrane หนาขึ้นแล้วมี enzyme ทาให้แข็ง กลายเป็นกาแพงหนาและแข็งขวางกั้นไม่ให้ สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป ทั้งนี้ประจุไฟฟ้าที่ plasma membrane ก็กลับเข้าสภาพเดิม  เพราะฉะนั้น fast block to polyspermy หยุดทางานแต่ fertilization membrane ที่เกิดขึ้นจะทาหน้าที่ เป็น slow block to polyspermy แทน คือเกิดช้าๆ เป็นกาแพงหนากั้น ไม่ยอมให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป  เมื่อนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปข้างในไข่ กระตุ้นให้ไข่ (secondary oocyte) แบ่งไมโอซิส ครั้งที่ 2 ได้ เป็น egg กับ secondary polar body นิวเคลียสสเปิร์มรวมกับนิวเคลียสใน egg จบกระบวนการ fertilization เป็นการผสมนอกตัวที่เม่นทะเลต้องปล่อยไข่ออกมานอกตัวก่อนแล้วตัวผู้ปล่อยสเปิร์มเข้า มาผสมทีหลัง External fertilization of Sea Urchin
  • 53.
  • 55.
  • 56.  3.2.2 การปฏิสนธิภายใน (internal fertilization) สัตว์บางชนิดมีการปฏิสนธิภายในตัวแม่ โดยตัวผู้ ตัวเมียจะจับคู่กันแล้วตัวผู้ปล่อยอสุจิเข้าไปในร่างกายของตัวเมียแล้วเกิดการปฏิสนธิได้ ไซโกต (ยกเว้นสัตว์บ้างชนิดเพศเมียจะปล่อยไข่เขาสู่ถุงหน้าท้องของเพศผู้ เช่น ม้าน้า) จากนั้นไซโกตก็มี การแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ โดยสมารถแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่  1. เอ็มบริโออาจเจริญภายนอกตัวแม่ เช่น สัตว์ปีก พวกนก ไก่ เป็ดหรือสัตว์เลี้ยงลูกน้านม เช่น ตุ่น ปากเป็ด เรียกสัตว์พวกนี้ว่า Oviparous animals ส่วนสัตว์ที่มีการปฏิสนธิแล้วเอ็มบริโอเจริญเติบโต ภายในตัวแม่ จากนั้นคลอดออกมาเป็นตัว  2. เอ็มบริโอเจริญเติบโตในตัวแม่โดยได้อาหารที่สะสมไว้ในไข่ เช่น ฉลาม กระเบน เรียกสัตว์พวกนี้ว่า Ovoviviparous animals  3. เอ็มบริโอเจริญเติบโตในตัวแม่โดยได้อาหารจากแม่ทางรก เช่น แมว สุนัข วัว ควาย รวมทั้งคน เรียกสัตว์พวกนี้ว่า viviparous animals การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.  เริ่มด้วย Acrosomal reaction สเปิร์มว่ายมารอบๆ ไข่ที่มี Zona pellucida (extracellularmatrix of the egg) หุ้มแทน Vitelline layer และด้านนอกสุดจะเป็น follicle cell (corona radiata) ฉะนั้น สเปิร์มต้อง แหวก follicle เข้ามาถึงบริเวณ Zona pellucida มีสารทาหน้าที่เป็น receptorsรับสเปิร์มจาก species เดียวกัน จากนั้น Acrosome จะปล่อย hydrolytic enzyme ไปย่อย zona pellucida เข้าไปถึง plasma membrane ของ egg เกิดจากรวมกันของสเปิร์มกับ egg เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า depolarization ทาหน้าที่เป็น fast block to polyspermy และ granule จะปล่อยสารออกมาข้างนอก  การปล่อยนี้ไม่ได้ทาให้ fertilization membrane หนา เพียงแต่สารที่ปล่อยออกมาจากแกรนูลนั้น จะทาให้ fertilization membrane ซึ่งแต่เดิมนุ่มเปลี่ยนเป็นแข็ง กลายเป็นกาแพงขวางกั้นไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไป ก็ทาหน้าที่เป็น slow block to polyspermy คือ ป้องกัน sperm ตัวอื่นไม่ให้เข้า  ต่อมา Microvilli ของ egg ที่ยื่นออกมา จะนาสเปิร์มเซลล์เข้าไป รวมทั้งหางเข้าไปด้วย เสร็จแล้วก็จะไป อยู่ใน egg ทั้งหมด Basal body ของสเปิร์มใน flagellum ก็จะบีบตัวกลายเป็น centriole ของ zygote ต่อไป  นิวเคลียสสเปิร์มเข้าไปกระตุ้นนิวเคลียสของไข่ แบ่งไมโอซิสครั้งที่ 2 ก่อน จากเดิม secondary oocyte แบ่งเป็น egg ก่อนเพื่อให้ผสมกัน เพราะฉะนั้นกระบวนการ fertilization จะจบเมื่อนิวเคลียสสเปิร์มรวม กับนิวเคลียสไข่ได้เป็นไซโกต Internal fertilization of Mammal
  • 62. สรุป : Fertilization in Mammals 1. Capacitation (enhanced sperm function) จาก secretion ของท่อระบบสืบพันธุ์ของตัวเมีย - เปลี่ยนโมเลกุลบางชนิดที่หัวของ sperm ทาให้ sperm เคลื่อนที่เร็วขึ้น 2. sperm จะต้องผ่าน Zona pellucida (extracellular matrix of the egg) เพื่อเกิดกระบวนการต่อไปได้ กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ folliclecells และรวมกับ receptor melecules ที่อยู่ที่ชั้น zona pellucida (ในที่นี้ไม่ได้แสดง receptor molecule) (2) acrosomal reaction เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อยชั้น zona pellucida (3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้ และ membrane proteinsของ สเปิร์มรวมกับ receptor ที่ plasma membrane ของไข่ (4) plasma membrane ของสเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้นนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปในไซโต- พลาสซึมของไข่ (5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก cortical granules ทาให้ชั้น zona pellucida มีลักษณะแข็ง ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การที่สเปิร์มเข้าไปในไข่หลาย ตัว เรียกว่า polyspermy)
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ) แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (external structure) ได้แก่ ถุงอัณฑะ องคชาติ  1.1 ถุงอัณฑะ (Scrotum) เป็นส่วนของผิวหนังที่ไม่มีไขมันใต้ผิวหนังยื่นลงมาจากหน้าท้อง มี กล้ามเนื้อเรียบปรากฏอยู่ (Dartus muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ช่วยปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้ต่ากว่า อุณหภูมิของร่างกาย ประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส  1.2 องคชาติ (Penis) ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของปัสสาวะและเป็นอวัยวะในการร่วมเพศ ทาหน้าที่ส่ง สเปิร์มเข้าสู่ อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง องคชาติเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ โดยปกติจะหดตัวอยู่ (Detumescence) บริเวณส่วนปลายพองออก เรียกว่า แกลนเพนิส (glands penis) ส่วนนี้มีหนังห่อหุ้ม (foreskin or prepuce) ภายในpenis ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีลักษณะยืดหยุ่น 3 มัดคลายตัวเรียกว่า คาร์เวอร์นัส (carvernous body) จานวน 2 มัด และ สปองจีบอดี (spongy body) จานวน 1 มัด กล้ามเนื้อมัดนี้หุ้มท่อปัสสาวะไว้เมื่อชายถูกกระตุ้นทางเพศจะมีกระแสประสาทเข้ามากระตุ้นให้เส้น เลือดในกล้ามเนื้อทั้ง 3 มัดคลายตัว เลือดจะไหลเข้าไปคั่งในเส้นเลือด ทาให้กล้ามเนื้อขยาย ขนาดขึ้น ได้ (Erection of penis) ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ (human reproductive system)
  • 74. External structure of Male Genital Organ
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79. อวัยวะภายใน (Internal structure)  2. อัณฑะ (testis) มีลักษณะเป็นก้อนรูปไข่มี 2 อันอยู่ในถุงอัณฑะที่ห้อยอยู่ภายนอก มีหน้าที่ผลิตอสุจิ และผลิต ฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเทอโรน (testosterone) ซึ่งจะเริ่มทาหน้าที่ในวัยรุ่น อายุระหว่าง 12-16 ปี ฮอร์โมนนี้ทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเด็กผู้ชายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ คือ ตัวใหญ่ ไหล่กว้าง มีหนวดเครา เสียงห้าวขึ้น และมีความต้องการทางเพศ ภายในอัณฑะจะมีหลอดเล็กๆ ขด ไปมาทาหน้าที่สร้างอสุจิ เรียกว่า หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule)  3. หลอดเก็บอสุจิ (epididymis) อยู่ด้านบนของอัณฑะ ลักษณะเป็นท่อเล็กๆ ทาหน้าที่เก็บอสุจิจน แข็งแรง ก็จะส่งไปที่ท่อซึ่งใหญ่กว่าเรียกว่า ท่ออสุจิ ทาหน้าที่ลาเลียงอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้า เลี้ยงอสุจิ (ใช้เวลา 6 สัปดาห์จึงเจริญเต็มที่)  4. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) ทาหน้าที่หลั่งของเหลวประกอบด้วยอาหารจาพวก น้าตาลฟรักโทส และโปรตีน ซึ่งทาให้อสุจิมีชีวิตอยู่ได้ เรียกอสุจิกับน้าเลี้ยงอสุจิว่า น้าอสุจิ (semen) ท่อฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct) เป็นท่อสั้นๆ เปิดเข้าสู่ท่อปัสสาวะตรงบริเวณต่อมลูกหมากยาว ประมาณ 2 เซนติเมตร บางครั้งเรียกว่า หลอดฉีดน้ากาม ท่อนี้ทาหน้าที่บีบตัว ขับน้าอสุจิ (Semen) ท่อนาอสุจิ (Vas Deferens) เป็นท่อต่อจากส่วนหางของหลอดเก็บอสุจิ ยาวประมาณ 18 นิ้ว ทาหน้าที่ นาอสุจิจากอัณฑะเข้าไปในช่องท้อง อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ)
  • 80.  5. ต่อมลูกหมาก (prostate gland) อยู่รอบๆ หลอดฉีดอสุจิ สร้างสารที่มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ทาลายฤทธิ์ กรดในท่อปัสสาวะของชาย : milky alkaline  ต่อมบัลโบยูรีทรัล หรือต่อมคาวเปอร์ (bulbourethal glands/cowper gland) มี 1 คู่ขนาดเล็กเชื่อมต่อ กับส่วนของท่อปัสสาวะบริเวณฐานของเพนนิส หลั่งเมือกที่เป็นยางเหนียวออกมาก่อนการหลั่งของ ซีเมน หน้าที่เข้าใจว่าทาให้ท่อปัสสาวะมีความเป็นกลางและหล่อลื่นส่วนปลายของเพนนิส อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Genital Organ) ของเหลวทั้งหมดก็มี 4 อย่าง จากต้นทางถึงปลายทาง : Semen 1. ของเหลวจาก epididymis (น้อยมากส่วนใหญ่เป็น sperm) 2. ของเหลวหรือเป็นอาหารจาก seminalvesicle (75-80%) 3. ของเหลวหรือสารเป็นด่างจาก prostate gland (15-20%) 4. สุดท้ายของเหลวที่เป็นสารหล่อลื่นจาก Bulbourethral gland (2-5%) การทาหมันจะมีการตัดท่อ vas deference ดังนั้นสเปิร์มกับ ของเหลวจาก epididymis จึงออกไม่ได้แต่ที่ออกมาได้คืออาหาร หรือของเหลวจาก seminal vesicle สารเป็นด่างจาก prostate gland สารหล่อลื่นจากBulbourethral gland
  • 81.
  • 82. ของเหลวที่ออกมาเรียกว่า Semen ซึ่งประกอบด้วยสเปิร์ม กับของเหลวที่เรียกว่า Seminal fluid Semen 1 ml. จะมีสเปิร์มประมาณ 70-90 ล้านตัว ถ้ามีสเปิร์มต่ากว่า 30 ล้านตัวก็มักจะเป็นหมัน (3-5 ml/การร่วมเพศแต่ละครั้ง ,อสุจิอยู่นอกร่างกายได้ 2-3 ชั่วโมง/ในร่างกายเพศหญิงได้ 2 วัน)
  • 83. Rate testis เป็นท่อรวมจาก seminiferous tubule ลักษณะเป็นร่างแหอยู่ที่ขั้ว ของอัณฑะ Vas efferentท่อขนาดเล็ก เชื่อมระหว่าง rete testis กับ epididymis Vas defferent ท่อนาอสุจิ เป็นทางผ่านของอสุจิที่เปิด ไปรวมกับท่อจาก seminal vesicle
  • 84.
  • 86.  ในขณะที่ผู้ชายยังเป็นตัวอ่อนเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์นั้นได้มีการพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์ขึ้นมาแล้ว อัณฑะ นั้นดั้งเดิมจะถูกสร้างขึ้นมาในช่องท้อง แต่พอระยะหลังของการตั้งครรภ์ ลูกอัณฑะนั้นจะค่อยๆเคลื่อนตัว ลงมาอยู่ในถุงอัณฑะ เมื่อคลอดออกมาก็จะมีอัณฑะอยู่ในถุงอัณฑะเรียบร้อยแล้ว เซลล์ต้นกาเนิดที่จะได้ พัฒนาไปเป็นตัวอสุจิในภายหลังนั้นได้ถูกสร้างเก็บไว้ในอัณฑะตั้งแต่เริ่มแรก เรียกว่า Primordial germ cell (ไพรมอร์เดียล เจอร์ม เซลล์) ซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกในถุงไข่แดงของตัวอ่อนเพศชาย ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปยัง บริเวณที่จะพัฒนาต่อไปเป็นอัณฑะในช่วงอายุครรภ์4 – 6 สัปดาห์ขอระยะตัวอ่อน เซลล์ต้นกาเนิดของ อสุจินั้นจะซ่อนตัวอยู่อย่างสงบจนกระทั่งผู้ชายเริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ ก็จะเริ่มแบ่งเซลล์เพื่อเตรียมพร้อม สาหรับการพัฒนาไปเป็นอสุจิต่อไป พัฒนาการของอัณฑะ
  • 87.  เป็นกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เมื่อเพศชายเข้าสู่วยเจริญพันธุ์ โดยเริ่มต้นจากเซลล์ที่เรียกว่า สเปอร์มาโทโกเนีย (spermatogonia) เจริญและพัฒนาไปเป็น สเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่ง (primary spermatocyte) จากนั้นสเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่งจะเข้าสู่กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดยการแบ่ง เซลล์แบบไมโอซีส (meiosis) เป็นระยะไมโอซีสขั้นแรก (meiosis I) ได้เซลล์ใหม่ เรียกวา สเปอร์มาโท ไซต์ขั้นที่สอง (secondary spermatocyte)จากนั้นสเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่สองจะแบ่งเซลล์ต่อไปในระยะ ไมโอซีสขั้นที่สอง (meiosis II) ได้เซลล์สเปอร์มาทิด (spermatid) ในการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์แต่ละครั้ง นั้น สเปอร์มาโทไซต์ขั้นที่หนึ่ง 1 เซลล์ เมื่อแบ่งแล้วจะได้สเปอร์มาทิด 4 เซลล์ แต่ละเซลล์จะ เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้เซลล์สเปิร์มต่อไป (spermiogenesis)  สเปิร์ม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หัว (head) คอและลาตัว (mid piece) หาง (flagellum) โดยส่วน หัวภายในบรรจุไว้ด้วยนิวเคลียสและปลายสุดของหัวถูกห่อหุ้มไว้ด้วย อะโครโซม (acrosome) ซึ่ง บรรจุเอนไซม์สาหรับเข้าเจาะไข่ อะโครโซม นั้นถูกเปลี่ยนมาจากกอลจิคอมแพล็กซ์ (golgi complex) ส่วนคอและลาตัว ส่วนนี้ตรงกลางมี แกนเรียกว่า แอกเซียลฟลาเมนต์ (axial filament) ตรงคอมีเซน โทรโซม 2 อัน ถูกพันด้วยไมโทคอนเดรีย (mitochondria) แบบเกลียวและเป็นแหล่งให้พลังงาน สาหรับการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม ส่วนแกนมีเยื่อหุ้มไว้ ส่วนหาง คือ ส่วนของแอกเซียลฟิลาเมนต์ที่ไม่มี เยื่อหุ้ม มีหน้าที่สาหรับการเคลื่อนที่ สเปอร์มาโทจีนีซีส (spermatogenesis)
  • 89.
  • 90.
  • 91.  ภายในท่อเซมินิเฟอรัสทิวบูลนอกจากจะมีเซลล์ที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีเซลล์อีกชนิดหนึ่งเรียกว่า เซลล์ เซอร์โทริ (sertori cells)ทาหน้าที่เป็นเซลล์พี่เลี้ยงให้กับสเปิร์ม และระหว่างที่สเปอร์มาทิดเจริญไปเป็น สเปิร์ม เซลล์เหล่านี้ยังทาหน้าที่กินเศษซากส่วนที่เหลือของไซโทพลาสซึมของสเปอร์มาทิดโดย วิธีการฟาโกไซต์ (phagocyte) นอกจากนั้นภายในอัณฑะยังมีเซลล์ที่เจริญอยู่ภายนอกท่อเซมินิเฟอรัส ทิวบูล เรียกว่า เซลล์เลย์ดิก (Leydig cells) หรือ เซลล์อินเตอร์สติเซียล (interstitial cells) เซลล์ชนิดนี่ทา หน้าที่เป็นที่ผลิตฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสโทสเตอโรน (testosterone) และแอนโดรเจนชนิดอื่นๆ (androgen)  ในเพศชาย สเปอร์มาโทโกเนียแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนตลอดวัยเจริญพันธุ์ ซึ่งส่วนหนึ่งจะสารองไว้เพื่อเพิ่ม จานวนต่อไป และอีกส่วนหนึ่งเจริญไปเป็นตัวอสุจิ ดังนั้น จึงสร้างอสุจิได้ตลอดอายุที่ร่างกายยังสมบูรณ์ และฮอร์โมนเพศยังหลั่งตามปกติ ตัวอสุจิที่ถูกสร้างจะผ่านออกทางปลายหลอดที่ค่อนข้างตรง (tubulus rectus) หลายอันซึ่งรวมกันเป็น เรทเทสทิส (rete testis) ซึ่งยังเป็นโครงสร้างอยู่ภายในลูกอัณฑะ จากนั้นตัวอสุจิเคลื่อนที่เข้าสู่ท่อนาอสุจิและส่วนของต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) พร้อมที่จะ ออกนอกร่างกายเมื่อมีการร่วมเพศต่อไป สเปอร์มาโทจีนีซีส (spermatogenesis)
  • 92.
  • 93.
  • 96. โครงสร้าง sperm cellของมนุษย์ แบ่งเป็น 1. head (ส่วนหัว)ส่วนใหญ่ก็เป็น nucleus ตรงปลาย nucleus ด้านหน้าจะมี acrosome ซึ่งเป็น organelles ชนิดหนึ่งที่เหลืออยู่คือ Golgi body ซึ่งภายในมี hydrolytic enzyme เอาไว้สลาย jelly ที่หุ้ม egg อยู่ ในกรณีของคนจะใช้ในการสลาย Zona pellucida ที่ หุ้มรอบๆ egg ถัดมาข้างหลังเป็น centrioles เป็นส่วนที่ทาให้เคลื่อนที่ ส่วนที่เป็น flagellumมาที่ส่วนหาง 2. Middle piece (ส่วนตัว) ลักษณะเป็นแท่ง ภายในมีแกนกลางคือ centriole ซึ่งมี mitochondria รูปร่างเป็นเกลียว (spiral)เป็น แหล่งสร้างพลังงานให้กับสเปิร์ม 3. Tail(ส่วนหาง) ใช้ในการเคลื่อนที่ (9+2 = 20 microtubule) ไม่มีเยื่อหุ้ม ลักษณะเป็นเส้นยาว
  • 97.  อัณฑะจะทาหน้าที่ผลิตอสุจิได้ดีที่สุดเมื่ออยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม นั่นก็คือต่ากว่าอุณหภูมิร่างกายประมาณ 4 – 7 องศาเซลเซียส นั่นคือเหตุผลว่าเหตุใดถุงอัณฑะจึงอยู่ภายนอกร่างกาย อสุจิสร้างมาจากเซลล์ที่อยู่บนผนังของท่อ ผลิตอสุจิ โดยเซลล์เหล่านี้ได้มีการแบ่งเซลล์ซ้าแล้วซ้าอีกเพื่อเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและรูปร่างหลายขั้นตอนกว่าจะ กลายมาเป็นอสุจิ ซึ่งขั้นตอนการสร้างอสุจิภายในลูกอัณฑะนี้จะใช้เวลานานถึง 64 วัน หลังจากนั้นกระบวนการที่ ช่วยให้อสุจิเดินทางผ่านท่อผลิตอสุจิออกมาสู่ท่อเก็บอสุจิและท่อนาอสุจินั้นก็จะใช้เวลาอีกประมาณ 10 – 14 วัน แม้ว่าภายในอัณฑะจะได้มีการพัฒนารูปร่างอสุจิให้สมบูรณ์เต็มที่แล้ว แต่ตัวอสุจิเองนั้นไม่มีความสมบูรณ์ในแง่ของ การเคลื่อนไหว เนื่องจากอสุจิที่เพิ่งสร้างเสร็จใหม่ๆจากท่อผลิตอสุจินั้นไม่มีการเคลื่อนไหวเลย การเคลื่อนผ่านท่อ ผลิตอสุจิไปยังท่อเก็บอสุจิจึงเป็นการช่วยพัฒนาตัวอสุจิให้สามารถเคลื่อนไหวได้ โดยเซลล์อีกชนิดหนึ่งที่อยู่ภายใน ท่อผลิตอสุจิชื่อว่า Sertoli (เซอร์โตไล) จะทาหน้าที่สร้างของเหลวภายในท่อผลิตอสุจิช่วยนาพาอสุจิไปยังท่อเก็บ อสุจิ เมื่ออสุจิเดินทางมาถึงยังท่อเก็บอสุจิจะเริ่มมีการเคลื่อนไหวได้เป็นครั้งแรก แต่จะว่ายวนเป็นวงเท่านั้นเอง อสุจิ จะมีการเคลื่อนไหวได้อย่างสมบูรณ์แบบเมื่อเดินทางออกมายังท่อเก็บอสุจิไปสู่ท่อนาอสุจิ จะเห็นได้ว่าทั้งท่อเก็บ อสุจิและท่อนาอสุจิต่างเป็นเสมือนที่พักสะสมอสุจิ แต่จะแตกต่างกันตรงที่อสุจิในท่อนาอสุจิจะมีปริมาณเพียงพอ สาหรับการหลั่งอสุจิออกมาแต่ละครั้งเท่านั้น ต่างจากท่อเก็บอสุจิซึ่งจะเก็บสะสมอสุจิทั้งหมดที่อัณฑะสร้างเอาไว้ การนาพาอสุจิจากท่อผลิตอสุจิไปยังท่อเก็บอสุจิและท่อนาอสุจิ เกิดขึ้นโดยการหดรัดตัวของท่อต่างๆเหล่านี้นั่นเอง ข้อควรรู้ : กระบวนการสร้าง Sperm
  • 98.  ต่อมใต้สมอง Hypothalamus และต่อม Pituitary มีส่วนเกี่ยวข้องในการควบคุมการสร้างอสุจิ แม้ว่าตัวของมันเอง จะไม่ใช่อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ก็ตาม Hypothalamus จะหลั่งฮอร์โมน GnRH ออกมาในกระแสเลือดเพื่อไป กระตุ้นให้ Pituitary หลั่งฮอร์โมนออกมาอีกสองชนิด นั่นก็คือ FSH และ LH นอกจากนี้ยังมีฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องอีก สองชนิดคือ Inhibin (อินฮิบิน) สร้างมาจาก Sertoli ซึ่งเป็นเซลล์ในท่อผลิตอสุจิ และฮอร์โมน Testosterone ซึ่ง สร้างมาจากเซลล์อีกชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ภายนอกท่อผลิตอสุจิ เรียกว่า Leydig (เลย์ดิก) FSH ทาหน้าที่กระตุ้นให้ท่อ ผลิตอสุจิในอัณฑะทาการผลิตอสุจิ ในขณะที่ LH กระตุ้นให้ Leydig cells ทาการสร้างฮอร์โมน Testosterone อย่างไรก็ตาม FSH ก็มียังส่วนร่วมในการกระตุ้นให้ Leydig cells ผลิตฮอร์โมน Testosterone ด้วยเช่นกัน ในผู้ชาย วัยเจริญพันธุ์ Testosterone มีบทบาทสาคัญในการควบคุมการทางานและการเจริญเติบโตของอวัยวะในระบบ สืบพันธุ์หลายอวัยวะ และยังมีส่วนร่วมในการควบคุมการผลิตอสุจิ กลไกการทางานของฮอร์โมนนั้นถูกควบคุมโดย ฮอร์โมนด้วยกันเองเพื่อคงระดับสมดุลของฮอร์โมนแต่ละชนิดเอาไว้ ฮอร์โมน Testosterone ทาหน้าที่ควบคุมการ สร้าง LH ถ้าหากความเข้มข้นของฮอร์โมน Testosterone ลดลง จะส่งผลให้การสร้าง LH เพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับ เมื่อระดับ Testosterone ในกระแสเลือดมีความเข้มข้นสูงก็จะมีการสร้าง LH ลดลง นอกจากนี้การควบคุมระดับ ฮอร์โมน LH โดย Testosterone นั้นยังส่งผลต่อเนื่องไปยัง Hypothalamus ในการควบคุมการสร้าง GnRH อีกด้วย เมื่ออัณฑะมีการผลิตอสุจิลดลงทาให้การสร้างฮอร์โมน Inhibin ลดลงด้วย ส่งผลให้ ต่อม Pituitary รับสัญญาณ การเปลี่ยนแปลงนั้นและหลั่ง FSH และ LH ออกมามากขึ้น และฮอร์โมน FSH ก็จะส่งกระตุ้นการสร้างอสุจิและ Inhibin เป็นวงจรต่อเนื่องกันไปเช่นนี้ ฮอร์โมนควบคุมการทางานของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
  • 100.
  • 102. อวัยวะเพศสืบพันธุ์ภายนอก ประกอบด้วย  1. เนิน (mons pubis) มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมลง ตั้ง อยู่บนกระดูกหัวหน่าว ประกอบด้วยไขมัน จานวนมาก ปกคลุมด้วยผิวหนัง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีขนเกิดขึ้นปก คลุมบริเวณนี้  2. แคมใหญ่ (major labia) มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อนูนทอด จากเนิน ลงมาทั้ง 2 ข้าง เรียวลงมาจรดกันที่บริเวณฝี เย็บ ปกติกลีบเนื้อทั้งสองข้างนี้ีีจะอยู่ติดกัน และปิด อวัยวะสืบพันธุ์ภายในทั้งหมด  3. แคมเล็ก (minor labia) มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อเช่นเดียวกัน แต่ เล็กกว่า ซ้อนอยู่ด้านในลงมาจรดกันที่บริเวณ อวัยวะเพศ  4. ปุ่มกระสัน (clitoris) เนินตุ่มเล็กๆ ที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่ ยืดหดได้ มีเส้นประสาทมาหล่อเลี้ยงมาก จึงเป็น จุด ที่ไวต่อความรู้สึกมาก  5. ช่องคลอด (vagina) ช่องปัสสาวะและรูเปิดของต่อมบาโธลิน จะเปิดบริเวณที่เรียกว่า เวสติบูล ต่อมบาโธลินที่ มี อยู่ จานวนมากในบริเวณนี้ จะทาหน้าที่ขับน้าเมือก ออกมาหล่อลื่นช่องคลอด  6. เยื่อพรหมจารี (hymen) เป็นเนื้อเยื่อบางๆ อยู่รอบปากเปิดของช่องคลอด มีรูเปิดตรงกลาง เยื่อนี้จะฉีกขาดได้ จาก การร่วมเพศหรือการออกกาลังกายที่โลดโผน  7. ฝีเย็บ (perineum) คือบริเวณส่วนล่างของช่องคลอดลงมาถึงทวาร บริเวณนี้จะฉีกขาดได้ในระหว่างการคลอด ปัจจุบัน จึงตัดบริเวณนี้แทนการ ปล่อยให้ฉีกขาดเอง ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107. อวัยวะที่สาคัญในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female reproductive system) ประกอบด้วย  1. รังไข่ (ovary) มี 2 รังไข่อยู่ข้างซ้ายและข้างขวาของมดลูกทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง คือ ไข่ (egg) และสร้างฮอร์โมนเพศหญิง เอสโทรเจน (oestrogen) โพรเจสเทอโรน (progesterone) และรีแลกซิน (relaxin) ซึ่งจะเริ่มทาหน้าที่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นอายุประมาณ 12-15 ปี ฮอร์โมนเอสโทร เจน ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะของเพศหญิง เช่น กระตุ้นให้ต่อมน้านมเจริญ ผิวพรรณละเอียด เสียง เล็กแหลม มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์มีความต้องการทางเพศในขณะที่ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมนเอสโทรเจนเกี่ยวกับการควบคุมเยื่อชั้นในของมดลูกให้มีการเตรียมการเพื่อ รองรับการฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วและการมีประจาเดือน การมีฮอร์โมนอสโทรเจนและฮอร์โมน โพรเจสเทอโรนต้องมีอยู่ในภาวะเหมาะสม หากมีมากเกินไปจะทาให้โตเป็นสาวไวกว่าอายุ และถ้ามี น้อยเกินไปจะเจริญเติบโตช้า ส่วนฮอร์โมนรีแลกซินมีหน้าที่ทาให้เอ็นของกระดูกเชิงกรานบริเวณหัว เหน่าคลายตัวออกและมีลักษณะอ่อนนุ่มขึ้นเพื่อสะดวกในการคลอด ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 108. ovary
  • 109.
  • 110.
  • 111.
  • 112.
  • 113.
  • 114.  2. มดลูก (uterus) เจริญมาจากท่อนาไข่ มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ ขนาดกว้างยาวประมาณ 3.32 นิ้ว หนา ประมาณ 1 นิ้ว เป็นบริเวณที่ไข่เมื่อถูกผสมแล้วมาฝังตัวและเจริญเติบโต มดลูกประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ  2.1 ชั้นนอกสุด เรียกว่า perimetrium หรือ serosa ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อบุช่องท้องลงมา คลุมมดลูกเอาไว้ทางด้านข้างจะกลายเป็น broad ligament ทางด้านหน้าเยื่อบุช่องท้องจะวกกลับ ไปคลุมกระเพาะปัสสาวะ ทาให้เกิดเป็นแอ่งระหว่างมดลูกกับกระเพาะปัสสาวะ เรียกว่า vesicouterine pouch ส่วนทางด้านหลังเยื่อบุช่องท้องจะวกกลับไปคลุมไส้ตรง ทาให้เกิดแอ่งลึก ระหว่างมดลูกกับไส้ติ่ง เรียกว่า rectouterine pouch (pouch of Douglas) ซึ่งเป็นแอ่งที่อยู่ต่า ที่สุดในช่องท้อง ถ้าหากเกิดการตกเลือดหรือมีการอักเสบในช่องท้องจะทาให้เลือดหรือหนองมา ขังอยู่ในแอ่งนี้  2.2 ชั้นกลาง เรียกว่า myometrium ประกอบด้วย ชั้นของกล้ามเนื้อเรียบที่หนาประมาณ 12-15 มิลลิเมตร ซึ่งมี การเรียงตัวทั้งแบบตามยาว วงกลม และแบบเฉียง ในช่วงตั้งครรภ์เส้นใย กล้ามเนื้อสามารถที่จะขยายให้ใหญ่ขึ้นและยืดยาวออกได้ ถึง 10 เท่าตัว เมื่อคลอดบุตรแล้ว กล้ามเนื้อของมดลูกจะหดเล็กลงตามเดิม ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 115. Uterus
  • 116.
  • 117.
  • 118.
  • 120.  2.3 ชั้นในสุด เรียกว่า endometrium ชั้นนี้จะมีเยื่อบุผิวชนิด simple columnar epithlium มี cilia ปะปน อยู่ ภายในมีต่อมชนิด simple coiled tubular gland ที่เรียกว่าuterine gland นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันอยู่กันอย่าง หลวมๆเรียกว่า stroma และหลอดเลือดที่มีลักษณะขดไปมาเรียกว่าspiral (coiled) artery ผนังชั้นนี้แบ่งออกเป็น 2 ชั้น - functional layer หรือ functionalis อยู่ติดกับโพรงมดลูกประกอบด้วยเยื่อบุผิวและuterine gland และ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (endometrium stroma) ชั้นนี้เป็นชั้นที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาของ รอบประจาเดือนและจะหลุดลอกออกไปขณะที่มีประจาเดือน - basal layer หรือ basalis เป็นชั้นที่ติดกับ myometrium ชั้นนี้จะแบ่งเซลล์ให้เนื้อเยื่อเจริญขึ้น ไปแทนที่ชั้น functionalis หลังจากที่มีการหลุดลอกออกไปเป็นเลือดประจาเดือน  สภาพที่เกิดกับมดลูกของสตรีวัยเจริญพันธุ์คือ เอ็นโดเมไทรโอซิส(endometriosis) เป็นอาการปวด ประจาเดือน สาเหตุเกิดจากเนื้อเยื่อบางส่วนของผนังมดลูกชั้นเอนโดมีเทรียมเคลื่อนไปเกาะกับผนังรังไข่ ท่อนาไข่ ผนังช่องท้องซึ่งอาจ จะกดทับบริเวณที่เป็นปลายประสาทเวลามีประจาเดือนผนังมดลูกส่วนนี้ จะหลุดออกพร้อมกับกระตุ้นปลายประสาทบริเวณที่กดทับอยู่ทาให้เกิดอาการปวดประจาเดือนขึ้น ความ ผิดปกตินี้อาจนาไปสู่สภาวะการมีบุตรยากนอกจากนั้นพยาธิสภาพที่เกิดกับมดลูกได้แก่ มะเร็งปาก มดลูก (cervical cancer) เป็นต้น ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 124.
  • 125.
  • 126.  3. ปีกมดลูกและท่อนาไข่ (oviduct และ Fallopian tube /uterine tube ) อยู่สองข้างของมดลูกยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ปลายด้านที่อยู่ใกล้รังไข่มีลักษณะเป็นปากแตร โครงสร้างภายในท่อประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ และ ซิเลีย (cilia) ช่วยในการเคลื่อนที่ของไข่และบริเวณท่อนาไข่ส่วนต้นเป็นตาแหน่งสาคัญ คือ บริเวณที่มีการ ปฏิสนธิเกิดขึ้นและถ้า ไม่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นไข่จะสลายไปในที่สุด  4. ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกล้ามเนื้อยืดหยุ่น เชื่อมต่อระหว่างมดลูกและระบบสืบพันธุ์ด้านนอก ทาหน้าที่ เป็นช่องทางเข้าออกของอสุจิและเป็นทางออกของทารกและประจาเดือน  วัลวา (vulva) เป็นโครงสร้างด้านนอกของระบบสืบพันธุ์ ประกอบด้วย แคมเล็ก (labia minora) แคมใหญ่ (ladia majora) หน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ ต่อมคลิทอริส (clitoris) เป็นส่วนที่ถูกกระตุ้นได้ง่าย เมื่อมีการเร้าทางเพศ นอกจากนั้นจะมีส่วนที่นูนขึ้น (mons pubis) และเยื่อบางๆ ปิดอยู่บริเวณปากช่องคลอด เรียกว่า เยื่อพรหมจารีย์ (hymen) ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 127.
  • 128. สรุป : อวัยวะต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
  • 129.  เต้านม (Breasts) เป็นโครงสร้างที่ประกอบด้วยต่อมสาหรับสร้างน้านมขนาดเล็กเป็นจานวนมากทาหน้าที่ สร้าง น้านมเลี้ยงทารก ต่อมเหล่านี้อยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียกวา อัลวโอไล (alveoli) น้านมที่ สร้างแล้วจะถูก ขับออกมาจากแหล่งสร้างมายังหัวนมโดยผ่านมาตามท่อขนาดเล็กและที่สาคัญคือมี ฮอร์โมน อย่างน้อย 4 ชนิดทาหน้าที่ เกี่ยวกับการเจริญของต่อมน้านม กระตุ้นการผลิตและการหลั่งน้านม ในระหว่างที่ แม่ตั้งครรภ์คอร์พัสลูเทียมจะสร้าง ฮอร์โมนเอสโทรเจน และ โพรเจสเทอโรน ในปริมาณมาก ฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดนี้ ทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญของต่อมน้านม ในช่วงการคลอดบุตรใหม่ๆ ต่อมน้านมจะผลิตน้านมที่ เรียกว่า คอรัสตรุม (colostrum) ออกมา น้านมชนิดนี้ประกอบด้วย โปรตีนและน้าตาลแลกโตสในปริมาณสูง มี ไขมันน้อย โดยมีฮอร์โมน โพรแลกติน (prolactin) กระตุ้นการผลิตน้านมและ เมื่อทารกดูดนมจะมีผลกระตุ้น ต่อมใต้สมองส่วนหลั่งให้หลังฮอร์โมนออกซิโทซิน (oxytocin) ออกมา และทาหน้าที่ กระตุ้นการหลั่งน้านม ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female Genital Organ)
  • 131.
  • 134.  เริ่มจากเซลล์ที่เรียกว่า โอโอโกเนีย (oogonia) จากการศึกษาพบว่าโอโอโกเนียนี้มีในรังไข่ของทารก หญิงก่อนคลอดเป็นจานวนมากและเปลี่ยนไปเป็นโอโอไซต์ ขั้นที่หนึ่ง (primary oocyte) เมื่อถึงเวลา ใกล้คลอดจะเจริญและพัฒนาเป็นโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง ระยะโพรเฟส I (prophase I) และจะหยุดอยู่ ในระยะนี้จนกระทั่ง ทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเจริญพันธุ์ โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง และเซลล์ ที่ล้อมรอบเรียกว่า ฟอลลิเคิล (follicle)ฟอลลิเคิลบางส่วนจะเจริญและขยายขนาดขึ้นทุกๆ รอบของ วงจรประจาเดือน ขณะที่ฟอลลิเคิลเจริญขึ้น โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะเข้าสู่การแบ่งเซลล์สืบพันธุ์โดย การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเป็น ไมโอซิสขั้นที่หนึ่ง (meiosis I) แต่เนื่องจากการแบ่งโอโอไซต์ขั้นที่ หนึ่งนี้มีการแบ่งไซโตพลาสซึมไม่เท่ากัน ได้เซลล์ที่มีขนาดใหญ่เรียกโอโอไซต์ขั้นที่สอง (secondary oocyte) และเซลล์ที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า โพลาร์บอดีที่หนึ่ง (first polar body) โดยมากเมื่อมีการ เจริญมาถึงขั้นนี้จะถึงระยะเวลาการตกไข่ (ovulation) เมื่อมีการปฏิสนธิ โอโอไซต์ขั้นที่สองจะแบ่ง เซลล์ระยะไมโอซีสขั้นที่สอง (meiosis II) ต่อไปและให้โพลาร์บอดีที่สอง (second polar body) และ โอวัม (ovum) จะสังเกตว่า กระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ในแต่ละครั้ง ในแต่ละโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะให้เซลล์ไข่ที่เจริญเต็มที่ครั้งละเพียง 1 เซลล์นอกนั้นจะสลายไป กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่
  • 136.
  • 137.
  • 138.  ในขณะที่โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่งเจริญและพัฒนานั้น โอโอไซต์จะเริ่มแยกจากกลุ่มเซลล์ที่ล้อมรอบหรือที่ เรียกว่า เซลล์ฟอลิคิวลาร์ (follicular cell) โดยมีชั้นโซนาเพลลูซิดา (zona pellucida) ซึ่งเป็นสาร จาพวกไกลโคโปรตีนห่อหุ้ม ขณะเดียวกันฟอลลิเคิลจะผลิตของเหลวเข้าสู่ช่องว่าง ที่เรียกว่า แอนทรัม (antrum) ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์ที่ล้อมรอบและเซลล์ไข่โดยปกติในแต่ละรอบเดือนจะมีเพียง 1 ฟอลลิเคิล เท่านั้นที่เจริญถึงระยะไข่ตกได้ ส่วนอีกหลายๆ ฟอลลิเคิลจะฝ่อไป ขณะที่ฟอลลิเคิลเข้าสู่ระยะแมทัว (mature) จะเคลื่อนที่เข้าใกล้ผนังรังไข่รูปร่างคล้ายถุงน้า เซลล์ของฟอลลิเคิลจะหลั่งเอ็มไซม์โพทิโอไล ติก (proteolytic enzyme) ย่อยผนังรังไข่ทาให้โอโอไซต์ขั้นที่สองหลุดออกจากผนังรังไข่เข้าสู่ท่อนาไข่ ฟอลลิเคิลที่เหลืออยู่ในรังไข่จะเจริญและพัฒนาเป็นคอร์พัสลูเทียม (corpus luteum)  ฮอร์โมน FSH เป็นตัวกระตุ้นให้ฟอลลิเคิลเจริญและขยายขนาดขึ้นได้ และเมื่อฟอลลิเคิลเจริญขึ้นจะ สร้างและ หลั่งฮอร์โมน เอสโทรเจน (estrogen) ส่วนคอร์พัสลูเทียมสร้างและหลั่งเอสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศหญิง ได้แก่ การมีเสียงแหลม นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับ การเจริญของมดลูก การมีประจาเดือน กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่