SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
เนื้อเยื่อประสาท
เซลล์ประสาท
การทางานของเซลล์ประสาท
สารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท
เนื้อหา
 เซลล์ประสาท (Neuron / Nerve cell): ทาหน้าที่ส่งสัญญาณ
 ตัวเซลล์ (Cell Body / Soma)
 ใยประสาท (Nerve Fiber)
 เซลล์ค้าจุน (Neuroglia) / Supporting cell)
เนื้อเยื่อประสาท
 พบที่ gray matter ของ brain + spinal
cord
 โครงสร้าง
Nucleus: เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับ
การส่งกระแสประสาทและสารสื่อประสาท
Mitochondria: พลังงานที่ใช้ในการส่ง
กระแสประสาท
Neurofilament: มี intermediate
filament เป็นโครงสร้างค้าจุนเซลล์
Nissl body: RER รวมตัวกันเป็นกลุ่ม
มองเห็นเป็นเม็ดเล็กๆ / สร้างสารสื่อประสาท
 หน้าที่: แหล่งพลังงาน + สังเคราะห์สารสื่อ
ประสาท
ตัวเซลล์ (CELL BODY / SOMA)
 เดนไดรต์ (dendrite): (dendron, กรีก = ต้นไม้) : รับสัญญาณประสาท
 แอกซอน (axon): ส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
ใยประสาท (NERVE FIBER)
 โครงสร้าง
 ขนาดสั้น จานวนมาก แตกแขนง
 Mitochondria + neurofilament
+ microtubule + Nissl body
 ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelin
sheath)
 Spine : ปลายของ dendrite ที่ใช้
ต่อกับ synapse
 หน้าที่ : นากระแสประสาทเข้าสู่ cell
body
เดนไดรต์ (DENDRITE)
 โครงสร้าง
ขนาดยาว /1 เส้น/ แตกแขนงเฉพาะส่วน
ปลาย
Axon hillock: โคนของ axon ที่ต่อกับ cell
body
Mitochondria+neurofilament
+microtubule
มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
Node of Ranvier: รอยต่อระหว่าง myelin
sheath
ปลายสุดต่อกับ synapse/ มีถุงสารสื่อ
ประสาท
 หน้าที่: นากระแสประสาทออกจาก cell body
แอกซอน (AXON)
 แบ่งตามรูปร่าง
 เซลล์ประสาทขั้วเดียว
 เซลล์ประสาทสองขั้ว
 เซลล์ประสาทหลายขั้ว
 แบ่งตามหน้าที่การทางาน
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
 เซลล์ประสาทประสานงาน
 เซลล์ประสาทสั่งการ
ชนิดของเซลล์ประสาท
 มีส่วนที่ยื่นออกจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้น
แล้วแตกเป็นแขนงกลาง (Central
Branch) ทาหน้าที่เป็น Axon และ
แขนงปลาย (Peripheral Branch) ทา
หน้าที่เป็น Dendrite
 เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
(Sensory Neuron)
 พบที่ปมประสาทด้านหลังของไขสันหลัง
(Dorsal Root Ganglion) ปมประสาท
ของประสาทสมองคู่ที่ 5
เซลล์ประสาทขั้วเดียว (UNIPOLAR NEURON)
 มีส่วนที่ยื่นแยกออกจากตัวเซลล์ 2 ข้าง
 1 dendrite และ 1 Axon
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory
Neuron)
 พบที่ ตา (เรตินา ) จมูก (เซลล์รับกลิ่น)
เซลล์หูชั้นใน
เซลล์ประสาทสองขั้ว (BIPOLAR NEURON)
 มีมากที่สุด เป็นเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ของร่างกาย
 มี Dendrite แยกออกจากตัวเซลล์หลายอัน แต่มี
Axon เพียง 1 อัน
 พบในสมองและไขสันหลัง
เซลล์ประสาทหลายขั้ว (MULTIPOLAR NEURON)
 รับกระแสประสาทจาก receptor ส่งต่อ
ให้ระบบประสาทส่วนกลาง
 ปลาย dendrite อาจเปลี่ยนเป็นหน่วย
รับความรู้โดยตรงหรือรับกระแส
ความรู้สึกจาก receptor
 อาจเป็นเซลล์ประสาทขั้วเดียว เช่นที่ปม
ประสาทรากบนของไขสันหลัง (Dorsal
root ganglion)
 เซลล์ประสาทสองขั้วเช่น เซลล์ประสาท
รับกลิ่น และเซลล์ประสาทที่เรตินา
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (SENSORY NEURON)
 รับกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง (เชื่อมระหว่างเซลล์ประสาทรับ
ความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ)
 พบเฉพาะในระบบประสาทส่วนกลาง
 เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว
เซลล์ประสาทประสานงาน (ASSOCIATION NEURON)
 นากระแสประสาทออกจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
(effector) (กล้ามเนื้อ/ต่อม)
 เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว
เซลล์ประสาทสั่งการ (MOTOR NEURON)
 ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
 ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท
 Astrocyte: มีมากที่สุด ขนาดใหญ่ รูปร่างคล้ายดาว หน้าที่ควบคุมการซึมผ่านเข้า
ออกของสารเคมี ระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อประสาท
 Oligodendroglia: เซลล์ขนาดเล็ก พบในสมองส่วนที่เป็นเนื้อขาว อยู่ใกล้เซลล์
ประสาท ทาหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลิน ในระบบประสาทส่วนกลาง
 Microcyte/ Microglia: ขนาดเล็กที่สุด พบทั้งในสมองสีเทาและสีขาว ทาหน้าที่ดัก
จับเชื้อโรคของระบบประสาทส่วนกลาง หรือกาจัดของเสีย เศษเนื้อเยื่อและเซลล์
ประสาทที่ตายแล้ว
 Ependymal cell: เซลล์ที่คาดที่ผนังช่องว่างในสมอง มีขนเซลล์ และ Microvili ทา
หน้าที่ช่วยในการสร้างและควบคุมการไหลและการตรวจสอบน้าหล่อสมองและไขสัน
หลัง
เซลล์ค้าจุน (NEUROGLIA)
เซลล์ค้าจุน (NEUROGLIA)
 สิ่งเร้าหน่วยรับความรู้สึกกระแสประสาทการส่งกระแสประสาท
 การส่งกระแสประสาท
 การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ : action potential
 การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ : synapse
การทางานของเซลล์ประสาท
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
 ทาการทดลอง โดยนาไมโครอิเล็กโทรด (microelectrode) ลักษณะเป็น
หลอดแก้วที่ดึงให้ยาว ปลายเรียวเป็นท่อเล็กๆ ต่อกับมาตรความต่างศักย์
(voltmeter) จากนั้นเสียบปลายไมโครอิเล็กโทรดเข้าไปในแอกซอนของหมึก
และให้ปลายอีกข้างหนึ่งอยู่ด้านนอก
A.L. HODGKIN และ A.F. HUXLEY
เยื่อหุ้มเซลล์
หันส่วนที่ไม่ชอบน้า (Hydrophobic) เข้าหากัน
หันส่วนที่ชอบน้า (Hydrophilic) ออกจากกัน
มีสมบัติให้ไอออนผ่านเข้าออกได้ โดยโปรตีนที่แทรก
อยู่จะมีช่องให้ไอออนผ่านเข้าออก
การจัดเรียงตัวของฟอสโฟลิพิด
 ภายนอกเซลล์ประสาทมี
ประจุรวมเป็นบวก (+) คือ
มี Na+ สูงกว่าภายในเซลล์
สภาวะปกติที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น
 ภายในเซลล์ประสาท มี
ประจุรวมเป็นลบ (-) คือ มี
K+ สูงกว่าภายนอกเซลล์
แต่มีโปรตีนที่มีประจุลบ
มากกว่า
 แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้
1. Resting state
2. Threshold
3. Depolarization
4. Repolarization
5. Undershoot (Hyperpolarization)
 all-or-none law : การเกิด action
potential (กระแสประสาท) จะเกิดเท่ากัน
ทุกครั้งไม่ว่าจะกระตุ้น เท่ากับหรือสูงกว่า
ระดับ threshold (ระดับที่ตอบสนอง) ก็
ตาม หากกระตุ้นต่ากว่านี้จะไม่ก่อให้เกิด
กระแสประสาท
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
K+ เข้ามาสะสมในเซลล์มาก แล้วทาไมศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ในระยะพักจึง
เป็นลบ ?
คาถาม
ภายในเซลล์ มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิก (มีประจุลบ) ซึ่งไม่สามารถผ่าน
ออกไปนอกเซลล์ได้ ทาให้ผลรวมประจุเป็นลบเมื่อเทียบกับภายนอกเซลล์
 ประตู Na+ เปิดบางส่วนNa+ ไหลเข้า
เซลล์
 Membrane potential เป็นลบน้อยลง
เรื่อยๆ และเป็นบวกจนถึงระดับ
threshold potential
 ะ
ระยะที่ 5 undershoot
(hyperpolarization)
 ประตู K+ ปิดช้ากว่า
ประตู Na+ K+ ไหล
ออกนอกเซลล์มากเกินไป
 Membrane potential เป็นลบมากกว่าปกติ
 Na+ มากด้านในเซลล์ / K+ มากด้านนอกเซลล์
 Refractory peroid = ไม่สามารถกระตุ้นซ้าได้
 เซลล์ปรับสมดุลโดยผลัก Na+ ออกนอกเซลล์ และดึง K+ กลับเข้าเซลล์
ด้วยกระบวนการ Na+ - K+ pump โดยอาศัย active transport
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
 การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ เกิดขึ้นได้ 3 ระยะ ดังนี้
 1. ระยะพัก (Resting stage)
 เป็นระยะที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น
 ค่าศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) มี
ค่าประมาณ -70 mV
 เกิดกระบวนการ Na+ - K+ pump อัตราส่วน 3Na+ : 2K+
 2. ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization)
 มีสิ่งเร้ามากระตุ้นเซลล์ประสาทจนถึงระดับที่ตอบสนองได้ (threshold)
 ช่อง Na+ เปิด Na+ ไหลเข้ามาภายในเซลล์
 ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก -70 mV เป็น +50 mV
 3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization)
 ช่อง Na+ ปิด แต่ช่อง K+ เปิด K+ ไหลออกจากเซลล์
 ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก +50 mV เป็น -70 mV
สรุป
เมื่อเกิดกระแสประสาท ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์จะเปลี่ยนแปลง ดังนี้
-70 mV  +50 mV  -70 mV
 1. เซลล์ประสาทที่แอกซอนไม่มีเยื่อ
ไมอีลินหุ้ม (Unmyelinated axon)
 การส่งกระแสประสาท
แบบต่อเนื่อง (continuous
conduction)
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
2. เซลล์ประสาทที่แอกซอนมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinated axon)
 การส่งกระแสประสาทแบบกระโดด (Saltatory conduction)
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์
(SYNAPSE)
 การถ่ายทอดกระแสประสาทจาก
เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังเซลล์ประสาท
อีกเซลล์หนึ่ง
 จากปลายสุดของ Axon เรียกว่า
เซลล์ส่ง (presynaptic) ไปยัง
Dendrite ที่เป็นเซลล์เป้าหมายของ
เซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่ง เรียกว่า
เซลล์รับ (postsynaptic)
 การถ่ายทอดกระแสประสาทจาก
เซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน
SYNAPSE
 1. ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทเพื่อให้คาสั่งนั้น
แผ่กระจายในวงกว้าง
 2. เป็นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆ เป็นบริเวณที่มีการควบคุมให้มีการส่ง
ยับยั้ง หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะของกระแสประสาท
 3. ทาให้กระแสประสาทเดินทางเป็นทิศทางเดียวเท่านั้น
หน้าที่ของ SYNAPSE
 ไซแนปส์ไฟฟ้า (Electrical Synapse)
 ไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse)
ชนิดของ SYNAPSE
 เป็นบริเวณที่ช่องไซแนปส์มีขนาดเล็กมาก กระแสประสาทผ่านข้ามไปได้โดยตรง
 บริเวณ Presynaptic Membrane และ Postsynaptic Membrane เชื่อมต่อกัน
ด้วย Gap Junction
 ถ่ายทอดสัญญาณได้เร็วมาก ไม่จาเป็นต้องอาศัยสารสื่อประสาท
 พบใน Nerve net ของไฮดรา ส่วนปลายของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ ทางเดิน
อาหาร
ไซแนปส์ไฟฟ้า (ELECTRICAL SYNAPSE)
พบส่วนใหญ่ในร่างกาย
Presynaptic neuron ไม่ได้เชื่อมกับ
postsynaptic neuron แต่เชื่อมกัน
ด้วย synaptic cleft (ช่องกว้าง)
ใช้การแพร่ของสารเคมี
(neurotransmitter) = เกิดช้า
เกิดได้ทิศทางเดียว : presynaptic
neuron  postsynaptic
neuron
ไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE)
 1. กระแสประสาทเคลื่อนมาที่บริเวณ synaptic terminal แบบทิศทางเดียว
 2. action potential กระตุ้นการเปิดประตู Ca2+ ไหลเข้าสู่ Presynaptic
neuron
 3. Ca2+ กระตุ้นถุงบรรจุสารสื่อประสาทให้เกิด exocytosis
 4. สารสื่อประสาทแพร่เข้าสู่ synaptic cleft  จับกับ ligand-gated Na+
channel
 5. ประตู Na+ เปิด = Na+ ไหลเข้าสู่ postsynaptic neuron 
depolarization ส่งกระแสประสาทต่อ
 6. สารสื่อประสาทถูกทาลาย หยุดการส่งสัญญาณ :
acetylcholine acetate + choline
กลไกไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE)
Acetylcholinesterase
กลไกไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE)
กลไกไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE)
 1. เยื่อไมอีลิน (myelin sheath)
 มีเยื่อไมอีลินหุ้ม กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น 10 เท่า
 2. ระยะห่างของโนดออฟ เรนเวียร์ (node of Ranvier)
 ห่างกันมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว
 3. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท
 เส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว
เพราะความต้านทานลดลง
 4. จานวนไซแนปส์: จานวนไซแนปส์มากกระแสประสาทจะส่งได้ช้า
 5. ความแรงของการกระตุ้น: ต้องกระตุ้นให้ถึงระดับ threshold จึงกระแส
ประสาท  ไม่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท
 Acetyl Choline (Ach) :
 สร้างจาก Nerve Muscle
Junction + เซลล์ประสาทสมอง
 ถูกยับยั้งโดยเอนไซม์
Cholinesterase
 กระตุ้นการทางานของกล้ามเนื้อ
โครงร่าง (กล้ามเนื้อลาย)
 ยับยั้งการทางานของกล้ามเนื้อ
หัวใจ
 กระตุ้น/ยับยั้งกล้ามเนื้อเรียบและ
ต่อมต่างๆ
 เส้นประสาทที่มี Ach เป็นสารสื่อ
ประสาทเรียกว่า เส้นประสาท
Cholinergic
สารสื่อประสาท
 สารสื่อประสาท : สารเคมีที่มีหน้าที่นา ขยาย
และควบคุมสัญญาณไฟฟ้า จากเซลล์ประสาท
เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
 สร้างจาก เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์
(Presynaptic neuron)
สารสื่อประสาท
 Norepinephrine (NE) :
 สร้างจาก Autonomic System บางส่วน
ของสมองและไขสันหลัง
 ยับยั้งโดย เอนไซม์ Monoamine Oxidase
 เส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท
เรียกว่า เส้นประสาท Adrenergic
 Dopamine :
 พบในสมองส่วน Basal Ganglia
 เกิดความผิดปกติ = โรคพาร์กินสัน
 1. ส่งผลให้มีกระแสประสาทมากเกินไป : เกิดอาการตื่นตัว ไวต่อการกระตุ้น
 ยาบ้า (Amphetamine) : แทนที่สารสื่อประสาทใน Neurotransmitter
Vesicle ทาให้หลั่งสารสื่อประสาทมากผิดปกติ
 คาเฟอีน (Caffeine) : กระตุ้น Axon ให้ปล่อยสารสื่อประสาทมาก เกิด
อาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
 โคเคน (Cocaine) : ยับยั้งการดูดกลับของสารสื่อประสาท ทาให้สารสื่อ
ประสาทค้างอยู่ใน Synaptic Cleft มาก เกิดการสื่อประสาทมาก
 ยาฆ่าแมลงกลุ่ม Organophosphate และ Carbamate : ทาลาย Acetyl
cholinesterase
 พิษจากปลาปักเป้า (Tetadotoxin) : ยับยั้งช่อง Na+ ส่งกระแสประสาท
ไม่ได้ รู้สึกชา
สารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท
 2. ส่งผลให้ไม่มีการส่งกระแสประสาท : กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาจรุนแรงถึงขั้น
เสียชีวิต
 ยาระงับประสาท : ปล่อยสารสื่อประสาทไปยังสมอง น้อย เกิดอาการสงบ ไม่
วิตกกังวล
 สารพิษจากแบคทีเรีย : เช่น เชื้อรา Clostridium botulinum ยับยั้งการ
หลั่ง Acetylcholine ทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง หนังตาตก อาจเป็นอัมพาต
 พิษงู : งูเห่า งูจงอาง มีสาร Neurotoxin เป็นพิษต่อระบบประสาท ทาลาย
Receptor เกิดอาการอ่อนแรง
สารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท
เซลล์ประสาทและการทำงาน

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

What's hot (20)

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Viewers also liked

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตBally Achimar
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตBally Achimar
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 

Viewers also liked (20)

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 

Similar to เซลล์ประสาทและการทำงาน

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองaungdora57
 

Similar to เซลล์ประสาทและการทำงาน (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

เซลล์ประสาทและการทำงาน

  • 1. เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 3.
  • 4.  เซลล์ประสาท (Neuron / Nerve cell): ทาหน้าที่ส่งสัญญาณ  ตัวเซลล์ (Cell Body / Soma)  ใยประสาท (Nerve Fiber)  เซลล์ค้าจุน (Neuroglia) / Supporting cell) เนื้อเยื่อประสาท
  • 5.  พบที่ gray matter ของ brain + spinal cord  โครงสร้าง Nucleus: เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับ การส่งกระแสประสาทและสารสื่อประสาท Mitochondria: พลังงานที่ใช้ในการส่ง กระแสประสาท Neurofilament: มี intermediate filament เป็นโครงสร้างค้าจุนเซลล์ Nissl body: RER รวมตัวกันเป็นกลุ่ม มองเห็นเป็นเม็ดเล็กๆ / สร้างสารสื่อประสาท  หน้าที่: แหล่งพลังงาน + สังเคราะห์สารสื่อ ประสาท ตัวเซลล์ (CELL BODY / SOMA)
  • 6.  เดนไดรต์ (dendrite): (dendron, กรีก = ต้นไม้) : รับสัญญาณประสาท  แอกซอน (axon): ส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ ใยประสาท (NERVE FIBER)
  • 7.  โครงสร้าง  ขนาดสั้น จานวนมาก แตกแขนง  Mitochondria + neurofilament + microtubule + Nissl body  ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelin sheath)  Spine : ปลายของ dendrite ที่ใช้ ต่อกับ synapse  หน้าที่ : นากระแสประสาทเข้าสู่ cell body เดนไดรต์ (DENDRITE)
  • 8.  โครงสร้าง ขนาดยาว /1 เส้น/ แตกแขนงเฉพาะส่วน ปลาย Axon hillock: โคนของ axon ที่ต่อกับ cell body Mitochondria+neurofilament +microtubule มีเยื่อไมอีลินหุ้ม Node of Ranvier: รอยต่อระหว่าง myelin sheath ปลายสุดต่อกับ synapse/ มีถุงสารสื่อ ประสาท  หน้าที่: นากระแสประสาทออกจาก cell body แอกซอน (AXON)
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.  แบ่งตามรูปร่าง  เซลล์ประสาทขั้วเดียว  เซลล์ประสาทสองขั้ว  เซลล์ประสาทหลายขั้ว  แบ่งตามหน้าที่การทางาน  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก  เซลล์ประสาทประสานงาน  เซลล์ประสาทสั่งการ ชนิดของเซลล์ประสาท
  • 13.  มีส่วนที่ยื่นออกจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้น แล้วแตกเป็นแขนงกลาง (Central Branch) ทาหน้าที่เป็น Axon และ แขนงปลาย (Peripheral Branch) ทา หน้าที่เป็น Dendrite  เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory Neuron)  พบที่ปมประสาทด้านหลังของไขสันหลัง (Dorsal Root Ganglion) ปมประสาท ของประสาทสมองคู่ที่ 5 เซลล์ประสาทขั้วเดียว (UNIPOLAR NEURON)
  • 14.  มีส่วนที่ยื่นแยกออกจากตัวเซลล์ 2 ข้าง  1 dendrite และ 1 Axon  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory Neuron)  พบที่ ตา (เรตินา ) จมูก (เซลล์รับกลิ่น) เซลล์หูชั้นใน เซลล์ประสาทสองขั้ว (BIPOLAR NEURON)
  • 15.  มีมากที่สุด เป็นเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ของร่างกาย  มี Dendrite แยกออกจากตัวเซลล์หลายอัน แต่มี Axon เพียง 1 อัน  พบในสมองและไขสันหลัง เซลล์ประสาทหลายขั้ว (MULTIPOLAR NEURON)
  • 16.  รับกระแสประสาทจาก receptor ส่งต่อ ให้ระบบประสาทส่วนกลาง  ปลาย dendrite อาจเปลี่ยนเป็นหน่วย รับความรู้โดยตรงหรือรับกระแส ความรู้สึกจาก receptor  อาจเป็นเซลล์ประสาทขั้วเดียว เช่นที่ปม ประสาทรากบนของไขสันหลัง (Dorsal root ganglion)  เซลล์ประสาทสองขั้วเช่น เซลล์ประสาท รับกลิ่น และเซลล์ประสาทที่เรตินา เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (SENSORY NEURON)
  • 17.  รับกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง (เชื่อมระหว่างเซลล์ประสาทรับ ความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ)  พบเฉพาะในระบบประสาทส่วนกลาง  เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว เซลล์ประสาทประสานงาน (ASSOCIATION NEURON)
  • 19.
  • 20.  ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด  ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท  Astrocyte: มีมากที่สุด ขนาดใหญ่ รูปร่างคล้ายดาว หน้าที่ควบคุมการซึมผ่านเข้า ออกของสารเคมี ระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อประสาท  Oligodendroglia: เซลล์ขนาดเล็ก พบในสมองส่วนที่เป็นเนื้อขาว อยู่ใกล้เซลล์ ประสาท ทาหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลิน ในระบบประสาทส่วนกลาง  Microcyte/ Microglia: ขนาดเล็กที่สุด พบทั้งในสมองสีเทาและสีขาว ทาหน้าที่ดัก จับเชื้อโรคของระบบประสาทส่วนกลาง หรือกาจัดของเสีย เศษเนื้อเยื่อและเซลล์ ประสาทที่ตายแล้ว  Ependymal cell: เซลล์ที่คาดที่ผนังช่องว่างในสมอง มีขนเซลล์ และ Microvili ทา หน้าที่ช่วยในการสร้างและควบคุมการไหลและการตรวจสอบน้าหล่อสมองและไขสัน หลัง เซลล์ค้าจุน (NEUROGLIA)
  • 22.
  • 23.  สิ่งเร้าหน่วยรับความรู้สึกกระแสประสาทการส่งกระแสประสาท  การส่งกระแสประสาท  การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ : action potential  การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ : synapse การทางานของเซลล์ประสาท
  • 25.  ทาการทดลอง โดยนาไมโครอิเล็กโทรด (microelectrode) ลักษณะเป็น หลอดแก้วที่ดึงให้ยาว ปลายเรียวเป็นท่อเล็กๆ ต่อกับมาตรความต่างศักย์ (voltmeter) จากนั้นเสียบปลายไมโครอิเล็กโทรดเข้าไปในแอกซอนของหมึก และให้ปลายอีกข้างหนึ่งอยู่ด้านนอก A.L. HODGKIN และ A.F. HUXLEY
  • 27. หันส่วนที่ไม่ชอบน้า (Hydrophobic) เข้าหากัน หันส่วนที่ชอบน้า (Hydrophilic) ออกจากกัน มีสมบัติให้ไอออนผ่านเข้าออกได้ โดยโปรตีนที่แทรก อยู่จะมีช่องให้ไอออนผ่านเข้าออก การจัดเรียงตัวของฟอสโฟลิพิด
  • 28.
  • 29.  ภายนอกเซลล์ประสาทมี ประจุรวมเป็นบวก (+) คือ มี Na+ สูงกว่าภายในเซลล์ สภาวะปกติที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น  ภายในเซลล์ประสาท มี ประจุรวมเป็นลบ (-) คือ มี K+ สูงกว่าภายนอกเซลล์ แต่มีโปรตีนที่มีประจุลบ มากกว่า
  • 30.  แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้ 1. Resting state 2. Threshold 3. Depolarization 4. Repolarization 5. Undershoot (Hyperpolarization)  all-or-none law : การเกิด action potential (กระแสประสาท) จะเกิดเท่ากัน ทุกครั้งไม่ว่าจะกระตุ้น เท่ากับหรือสูงกว่า ระดับ threshold (ระดับที่ตอบสนอง) ก็ ตาม หากกระตุ้นต่ากว่านี้จะไม่ก่อให้เกิด กระแสประสาท การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
  • 32.
  • 33. K+ เข้ามาสะสมในเซลล์มาก แล้วทาไมศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ในระยะพักจึง เป็นลบ ? คาถาม ภายในเซลล์ มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิก (มีประจุลบ) ซึ่งไม่สามารถผ่าน ออกไปนอกเซลล์ได้ ทาให้ผลรวมประจุเป็นลบเมื่อเทียบกับภายนอกเซลล์
  • 34.  ประตู Na+ เปิดบางส่วนNa+ ไหลเข้า เซลล์  Membrane potential เป็นลบน้อยลง เรื่อยๆ และเป็นบวกจนถึงระดับ threshold potential  ะ
  • 35.
  • 36.
  • 37. ระยะที่ 5 undershoot (hyperpolarization)  ประตู K+ ปิดช้ากว่า ประตู Na+ K+ ไหล ออกนอกเซลล์มากเกินไป  Membrane potential เป็นลบมากกว่าปกติ  Na+ มากด้านในเซลล์ / K+ มากด้านนอกเซลล์  Refractory peroid = ไม่สามารถกระตุ้นซ้าได้  เซลล์ปรับสมดุลโดยผลัก Na+ ออกนอกเซลล์ และดึง K+ กลับเข้าเซลล์ ด้วยกระบวนการ Na+ - K+ pump โดยอาศัย active transport
  • 39.  การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ เกิดขึ้นได้ 3 ระยะ ดังนี้  1. ระยะพัก (Resting stage)  เป็นระยะที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น  ค่าศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) มี ค่าประมาณ -70 mV  เกิดกระบวนการ Na+ - K+ pump อัตราส่วน 3Na+ : 2K+  2. ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization)  มีสิ่งเร้ามากระตุ้นเซลล์ประสาทจนถึงระดับที่ตอบสนองได้ (threshold)  ช่อง Na+ เปิด Na+ ไหลเข้ามาภายในเซลล์  ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก -70 mV เป็น +50 mV  3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization)  ช่อง Na+ ปิด แต่ช่อง K+ เปิด K+ ไหลออกจากเซลล์  ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก +50 mV เป็น -70 mV สรุป เมื่อเกิดกระแสประสาท ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์จะเปลี่ยนแปลง ดังนี้ -70 mV  +50 mV  -70 mV
  • 40.
  • 41.  1. เซลล์ประสาทที่แอกซอนไม่มีเยื่อ ไมอีลินหุ้ม (Unmyelinated axon)  การส่งกระแสประสาท แบบต่อเนื่อง (continuous conduction) การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
  • 42. 2. เซลล์ประสาทที่แอกซอนมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinated axon)  การส่งกระแสประสาทแบบกระโดด (Saltatory conduction) การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์
  • 43.
  • 45.  การถ่ายทอดกระแสประสาทจาก เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังเซลล์ประสาท อีกเซลล์หนึ่ง  จากปลายสุดของ Axon เรียกว่า เซลล์ส่ง (presynaptic) ไปยัง Dendrite ที่เป็นเซลล์เป้าหมายของ เซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่ง เรียกว่า เซลล์รับ (postsynaptic)  การถ่ายทอดกระแสประสาทจาก เซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน SYNAPSE
  • 46.  1. ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทเพื่อให้คาสั่งนั้น แผ่กระจายในวงกว้าง  2. เป็นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆ เป็นบริเวณที่มีการควบคุมให้มีการส่ง ยับยั้ง หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะของกระแสประสาท  3. ทาให้กระแสประสาทเดินทางเป็นทิศทางเดียวเท่านั้น หน้าที่ของ SYNAPSE
  • 47.  ไซแนปส์ไฟฟ้า (Electrical Synapse)  ไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse) ชนิดของ SYNAPSE
  • 48.  เป็นบริเวณที่ช่องไซแนปส์มีขนาดเล็กมาก กระแสประสาทผ่านข้ามไปได้โดยตรง  บริเวณ Presynaptic Membrane และ Postsynaptic Membrane เชื่อมต่อกัน ด้วย Gap Junction  ถ่ายทอดสัญญาณได้เร็วมาก ไม่จาเป็นต้องอาศัยสารสื่อประสาท  พบใน Nerve net ของไฮดรา ส่วนปลายของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ ทางเดิน อาหาร ไซแนปส์ไฟฟ้า (ELECTRICAL SYNAPSE)
  • 49. พบส่วนใหญ่ในร่างกาย Presynaptic neuron ไม่ได้เชื่อมกับ postsynaptic neuron แต่เชื่อมกัน ด้วย synaptic cleft (ช่องกว้าง) ใช้การแพร่ของสารเคมี (neurotransmitter) = เกิดช้า เกิดได้ทิศทางเดียว : presynaptic neuron  postsynaptic neuron ไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE)
  • 50.  1. กระแสประสาทเคลื่อนมาที่บริเวณ synaptic terminal แบบทิศทางเดียว  2. action potential กระตุ้นการเปิดประตู Ca2+ ไหลเข้าสู่ Presynaptic neuron  3. Ca2+ กระตุ้นถุงบรรจุสารสื่อประสาทให้เกิด exocytosis  4. สารสื่อประสาทแพร่เข้าสู่ synaptic cleft  จับกับ ligand-gated Na+ channel  5. ประตู Na+ เปิด = Na+ ไหลเข้าสู่ postsynaptic neuron  depolarization ส่งกระแสประสาทต่อ  6. สารสื่อประสาทถูกทาลาย หยุดการส่งสัญญาณ : acetylcholine acetate + choline กลไกไซแนปส์เคมี (CHEMICAL SYNAPSE) Acetylcholinesterase
  • 53.
  • 54.  1. เยื่อไมอีลิน (myelin sheath)  มีเยื่อไมอีลินหุ้ม กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น 10 เท่า  2. ระยะห่างของโนดออฟ เรนเวียร์ (node of Ranvier)  ห่างกันมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว  3. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท  เส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว เพราะความต้านทานลดลง  4. จานวนไซแนปส์: จานวนไซแนปส์มากกระแสประสาทจะส่งได้ช้า  5. ความแรงของการกระตุ้น: ต้องกระตุ้นให้ถึงระดับ threshold จึงกระแส ประสาท  ไม่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท
  • 55.
  • 56.  Acetyl Choline (Ach) :  สร้างจาก Nerve Muscle Junction + เซลล์ประสาทสมอง  ถูกยับยั้งโดยเอนไซม์ Cholinesterase  กระตุ้นการทางานของกล้ามเนื้อ โครงร่าง (กล้ามเนื้อลาย)  ยับยั้งการทางานของกล้ามเนื้อ หัวใจ  กระตุ้น/ยับยั้งกล้ามเนื้อเรียบและ ต่อมต่างๆ  เส้นประสาทที่มี Ach เป็นสารสื่อ ประสาทเรียกว่า เส้นประสาท Cholinergic สารสื่อประสาท  สารสื่อประสาท : สารเคมีที่มีหน้าที่นา ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้า จากเซลล์ประสาท เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง  สร้างจาก เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (Presynaptic neuron)
  • 57. สารสื่อประสาท  Norepinephrine (NE) :  สร้างจาก Autonomic System บางส่วน ของสมองและไขสันหลัง  ยับยั้งโดย เอนไซม์ Monoamine Oxidase  เส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท Adrenergic  Dopamine :  พบในสมองส่วน Basal Ganglia  เกิดความผิดปกติ = โรคพาร์กินสัน
  • 58.  1. ส่งผลให้มีกระแสประสาทมากเกินไป : เกิดอาการตื่นตัว ไวต่อการกระตุ้น  ยาบ้า (Amphetamine) : แทนที่สารสื่อประสาทใน Neurotransmitter Vesicle ทาให้หลั่งสารสื่อประสาทมากผิดปกติ  คาเฟอีน (Caffeine) : กระตุ้น Axon ให้ปล่อยสารสื่อประสาทมาก เกิด อาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว  โคเคน (Cocaine) : ยับยั้งการดูดกลับของสารสื่อประสาท ทาให้สารสื่อ ประสาทค้างอยู่ใน Synaptic Cleft มาก เกิดการสื่อประสาทมาก  ยาฆ่าแมลงกลุ่ม Organophosphate และ Carbamate : ทาลาย Acetyl cholinesterase  พิษจากปลาปักเป้า (Tetadotoxin) : ยับยั้งช่อง Na+ ส่งกระแสประสาท ไม่ได้ รู้สึกชา สารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท
  • 59.  2. ส่งผลให้ไม่มีการส่งกระแสประสาท : กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาจรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต  ยาระงับประสาท : ปล่อยสารสื่อประสาทไปยังสมอง น้อย เกิดอาการสงบ ไม่ วิตกกังวล  สารพิษจากแบคทีเรีย : เช่น เชื้อรา Clostridium botulinum ยับยั้งการ หลั่ง Acetylcholine ทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง หนังตาตก อาจเป็นอัมพาต  พิษงู : งูเห่า งูจงอาง มีสาร Neurotoxin เป็นพิษต่อระบบประสาท ทาลาย Receptor เกิดอาการอ่อนแรง สารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท