SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
การปฏิสนธิ
รายวิชาชีววิทยา ว30244
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชํานาญการ (คศ.2)
สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
กรุงเทพมหานคร
สมาชิก
1. นายจิรายุ ชัยเสนา เลขที่ 29 ห้อง 343
2. นายณภัทร สัยยสิทธิ์พานิช เลขที่ 31 ห้อง 343
3. นายธัญวัฑฒน์ เอี่ยมปรีชากุล เลขที่ 35 ห้อง 343
4. นายพศวัต สุขใส เลขที่ 43 ห้อง 343
คํานํา
“กระบวนการปฎิสนธิ” เป็นวิธีการสืบพันธุ์แบบหนึ่ง ซึ่งการสืบพันธุ์นั้นเป็นเอกลักษณ์หนึ่งซึ่งบ่งบอกถึง “การมี
ชีวิต” ที่สำคัญที่สุด เนื่องจากหากสิ่งมีชีวิตสืบพันธุ์ไม่ได้ฉันใด สิ่งมีชีวิตก็ไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ฉันนั้น กล่าวคือ
กระบวนการปฏิสนธิสำคัญมากโดยเฉพาะกับมนุษย์ เพื่อดำรงมนุษย์ชาติไว้ และเมื่อพยายามทำความเข้าใจแล้วจะพบว่า
เป็นหนึ่งในสิ่งที่มหัศจรรย์ราวกับพระเจ้าเป็นผู้สร้างขึ้น (พระเจ้าในที่นี้อยู่ในรูปของรูปของกฎธรรมชาติ(ฟิสิกส์, เคมี, ชีวะ))
ทั้งนี้กระบวนการปฏิสนธินั้นค่อนข้างซับซ้อนไม่แพ้กลไกด้านอื่น ๆ ในร่างกายของมนุษย์ มีทั้งการแข่งขันกันของgamete
เพศชาย, สภาพที่อยู่ได้, ช่วงระยะเวลา, ระบบEndocrine, การร่วมมือกันของระบบอื่น ๆ , อีกทั้งความน่าจะเป็นอัน
มากมายเมื่อเกิดการcrossing overและผสมนิวเคลียส ทำให้มีความหลากหลายทางพันธุ์กรรมที่สูงมาก สุดท้ายนี้ปัจจุบัน
มนุษย์เราทำได้เพียงแค่ศึกษาและนำมาต่อยอดใช้ได้ในทางชีวะวิทยาและการแพทย์ได้หลากหลายแขนงแต่ถึงกระนั้นสิ่งที่
เราศึกษาได้ยังเป็นเพียงหยดน้ำในมหาสมุทร มนุษย์ชาติจึงจำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้อย่างไม่หยุดหย่อนต่อไป
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
ประเภทของการปฏิสนธิ 1-2
กลไกการปฏิสนธิ 3-7
การปฏิสนธิในมนุษย์ 8-10
การปฏิสนธิในสัตว์ 11-12
ประเภทของการปฏิสนธิ
Internal External
การปฏิสนธิภายใน (Internal fertilization)
เป็นการของเซลล์สืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวของเพศเมีย
หรือพวก Hermaphrodite
มักเกิดในสัตว์บกส่วนใหญ่ (เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม) และ ปลาบางชนิด
การปฏิสนธิภายนอก (External fertilization)
เป็นการปฎิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นภายนอกตัวของเพศเมียมักเกิดใน
สัตว์น้ำ, สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบกและ แมลงบางชนิด
The mechanism of fertilization
Studied extensively in Sea urchin
The Acrosomal Reaction
เมื่อหอยเม่นปล่อย gamete ลงในน้ำ sperm จะแข่งกันว่ายไปหา egg และเมื่อหัวของ sperm เจอกับ
เยื่อ jelly coat ของ egg sperm จะปล่อย hydrolytic enzyme จาก acrosome เพื่อย่อยผนัง jelly coat
ของ egg และโปรตีนตรงส่วนปลาย ของ acrosomal process นี้จะไปจับกับ receptor protein บน egg
plasma membrane คล้ายลูกกุญแจจับกับแม่กุญแจ ทั้งนี้กระบวนการนี้เกิดขึ้นเพื่อป้องกันการปฏิสนธิข้ามสปี
ชี่ส์ (ในน้ำอาจมีmale gameteของสัตว์ชนิดอื่นแต่ถ้าหากreceptor ไม่สามารถจับกันได้นิวเคลียสก็เข้าไปในไข่
ไม่ได้)
The Cortical Reaction
กระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อspermตัวแรกเจาะผนัง egg จะเกิดคลื่นของ Ca 2+ ions
แพร่กระจายไปทั่ว egg และก่อตัวเป็นชั้นแข็งที่ Enzyme จาก acrosome ย่อยไม่ได้ เพราะฉะนั้น sperm ตัวอื่น
ๆ จึงเข้ามาไม่ได้ (ป้องกันการเกิด polyspermy)
Final Step
Sperm สลัดส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ nucleus ออก และนำนิวเคลียสของมันเข้าไปหลอมรวมกับไข่เกิดเป็น zygote
Human Fertilization
Male and Female
Male
• Gamete=Sperm
• Spermatogenesis: เริ่มจากเซลล์เริ่มต้นที่เรียกว่า
primary spermatocyte; 2n ที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญใน
อัณฑะ เซลล์นี้เพิ่มจำนวนตัวเองโดยการแบ่งเซลล์แบบไม
โทซิส เมื่อเซลล์นี้มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส จะได้เซลล์ที่
เป็นแฮพลอยด์ เรียกว่า secondary spermatocyte เมื่อ
เซลล์นี้แบ่งเซลล์ต่อจนเสร็จสิ้นไมโอซิส จะได้สเปิร์มเริ่มต้น
(developing sperm cell) ซึ่งจะพัฒนาต่อไปจนได้สเปิร์ม
ที่สมบูรณ์
• Hormonal factors that stimulate Spermatogenesis
1) Testosterone 2) Luteinizing hormone 3)
Follicle-stimulating hormone 4) Estrogen 5)
Growth hormone
Female
• Gamete=Egg
• Oogenesis: เป็นการสร้างเซลล์ไข่ เกิดในรังไข่ ซึ่งมีเซลล์
เริ่มต้นเรียกprimary oocyte ซึ่งจะเพิ่มจำนวนตัวเองด้วยการ
แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เมื่อเซลล์นี้เริ่มแบ่งตัวแบบไมโอซิส จะ
ค้างอยู่ที่ระยะโพรเฟส I จนกระทั่งได้รับฮอร์โมน FSH จึง
แบ่งตัวต่อจนสิ้นสุดไมโอซิส I ได้ 2 เซลล์ขนาดไม่เท่ากัน เซลล์
ที่มีขนาดใหญ่เรียกว่า secondary oocyte เซลล์ที่มีขนาดเล็ก
เรียกว่า first polar body secondary oocyte จะแบ่งตัว
ต่อไปจนถึงระยะเมตาเฟส II แล้วค้างไว้จนกระทั่งตกไข่ เมื่อไข่
ตกแล้วถ้าไม่ได้รับการผสม เซลล์ไข่จะฝ่อไป ถ้าได้รับการผสม
secondary oocyteจะแบ่งตัวต่อจนสิ้นสุดไมโอซิส II ได้เซลล์
ไข่กับ second polar body หลังจากนั้นเซลล์ไข่จะปฏิสนธิกับ
สเปิร์มได้ไซโกต
• Female Hormonal System: 1) gonadotropin-releasing
hormone(GnRH) 2) The anterior pituitary sex
hormones, follicle-stimulating hormone (FSH) and
luteinizing hormone (LH) 3) The ovarian hormones,
estrogen and progesterone
Plant Fertilization
Double Fertilization
Plant
การปฏิสนธิซ้อน(double fertilization)
เป็นรูปแบบการปฏิสนธิในพืชซึ่งมีการรวมตัวของ
นิวเคลียส 2 ครั้ง การปฏิสนธิเริ่มจากการที่ละอองเรณูตก
ลงบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) จากนั้นเกิดการงอกของ
ละอองเรณู (pollination) เซลล์ของละอองเรณูยืดตัวลง
ไปตามก้านชูยอดเกสรตัวเมีย (style) ลงไปจนถึงเกสรตัว
เมีย แล้วเข้าไปในรังไข่ (ovary) และเอ็มบริโอแซค
ตามลำดับ นิวเคลียสของละอองเรณูอันหนึ่งกับเซลล์ไข่ได้
เป็นไซโกต ซึ่งจะเจริญไปเป็นพืชต้นใหม่ อีกทั้งนิวเคลียส
ของละอองเรณูจะรวมกับโพลาร์นิวเคลียสที่อยู่ตรงกลาง
ของเอ็มบริโอ แซค ได้เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็น 3n ซึ่งจะ
เจริญไปเป็นเอ็นโดสเปิร์มในเมล็ด
ภาคผนวก
ภาพการทํางาน
บรรณานุกรม
1. Arthur G, John H. Textbook of Medical Physiology. 11th Edition.
Philadelphia: Saunders. 2005.
2. Lisa U, Michael C, Steven W, Peter M, Jane R. Campbell Biology.
11th Edition. London: Pearson. 2016.
3. Wichai L. Biology4Chapter4_Animal Reproduction. [Online: PPTX]
2019. Available from: Line [Accessed 4th Jan 2020].

More Related Content

What's hot

Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5ssuserfe6f95
 

What's hot (20)

Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
Twins-341 pre2
Twins-341 pre2Twins-341 pre2
Twins-341 pre2
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 

Similar to BIO4M5 343 Fertilization

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่NawatHongthongsakul
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
38 155 brochure
38 155 brochure38 155 brochure
38 155 brochurePat Msk
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 

Similar to BIO4M5 343 Fertilization (20)

การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Female reproduction 2 825
Female reproduction 2 825Female reproduction 2 825
Female reproduction 2 825
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdfใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdf
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
38 155 brochure
38 155 brochure38 155 brochure
38 155 brochure
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 

BIO4M5 343 Fertilization

  • 1. การปฏิสนธิ รายวิชาชีววิทยา ว30244 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชํานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
  • 3. สมาชิก 1. นายจิรายุ ชัยเสนา เลขที่ 29 ห้อง 343 2. นายณภัทร สัยยสิทธิ์พานิช เลขที่ 31 ห้อง 343 3. นายธัญวัฑฒน์ เอี่ยมปรีชากุล เลขที่ 35 ห้อง 343 4. นายพศวัต สุขใส เลขที่ 43 ห้อง 343
  • 4. คํานํา “กระบวนการปฎิสนธิ” เป็นวิธีการสืบพันธุ์แบบหนึ่ง ซึ่งการสืบพันธุ์นั้นเป็นเอกลักษณ์หนึ่งซึ่งบ่งบอกถึง “การมี ชีวิต” ที่สำคัญที่สุด เนื่องจากหากสิ่งมีชีวิตสืบพันธุ์ไม่ได้ฉันใด สิ่งมีชีวิตก็ไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ฉันนั้น กล่าวคือ กระบวนการปฏิสนธิสำคัญมากโดยเฉพาะกับมนุษย์ เพื่อดำรงมนุษย์ชาติไว้ และเมื่อพยายามทำความเข้าใจแล้วจะพบว่า เป็นหนึ่งในสิ่งที่มหัศจรรย์ราวกับพระเจ้าเป็นผู้สร้างขึ้น (พระเจ้าในที่นี้อยู่ในรูปของรูปของกฎธรรมชาติ(ฟิสิกส์, เคมี, ชีวะ)) ทั้งนี้กระบวนการปฏิสนธินั้นค่อนข้างซับซ้อนไม่แพ้กลไกด้านอื่น ๆ ในร่างกายของมนุษย์ มีทั้งการแข่งขันกันของgamete เพศชาย, สภาพที่อยู่ได้, ช่วงระยะเวลา, ระบบEndocrine, การร่วมมือกันของระบบอื่น ๆ , อีกทั้งความน่าจะเป็นอัน มากมายเมื่อเกิดการcrossing overและผสมนิวเคลียส ทำให้มีความหลากหลายทางพันธุ์กรรมที่สูงมาก สุดท้ายนี้ปัจจุบัน มนุษย์เราทำได้เพียงแค่ศึกษาและนำมาต่อยอดใช้ได้ในทางชีวะวิทยาและการแพทย์ได้หลากหลายแขนงแต่ถึงกระนั้นสิ่งที่ เราศึกษาได้ยังเป็นเพียงหยดน้ำในมหาสมุทร มนุษย์ชาติจึงจำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้อย่างไม่หยุดหย่อนต่อไป คณะผู้จัดทำ
  • 7. การปฏิสนธิภายใน (Internal fertilization) เป็นการของเซลล์สืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวของเพศเมีย หรือพวก Hermaphrodite มักเกิดในสัตว์บกส่วนใหญ่ (เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม) และ ปลาบางชนิด การปฏิสนธิภายนอก (External fertilization) เป็นการปฎิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นภายนอกตัวของเพศเมียมักเกิดใน สัตว์น้ำ, สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบกและ แมลงบางชนิด
  • 8. The mechanism of fertilization Studied extensively in Sea urchin
  • 9.
  • 10. The Acrosomal Reaction เมื่อหอยเม่นปล่อย gamete ลงในน้ำ sperm จะแข่งกันว่ายไปหา egg และเมื่อหัวของ sperm เจอกับ เยื่อ jelly coat ของ egg sperm จะปล่อย hydrolytic enzyme จาก acrosome เพื่อย่อยผนัง jelly coat ของ egg และโปรตีนตรงส่วนปลาย ของ acrosomal process นี้จะไปจับกับ receptor protein บน egg plasma membrane คล้ายลูกกุญแจจับกับแม่กุญแจ ทั้งนี้กระบวนการนี้เกิดขึ้นเพื่อป้องกันการปฏิสนธิข้ามสปี ชี่ส์ (ในน้ำอาจมีmale gameteของสัตว์ชนิดอื่นแต่ถ้าหากreceptor ไม่สามารถจับกันได้นิวเคลียสก็เข้าไปในไข่ ไม่ได้)
  • 11. The Cortical Reaction กระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อspermตัวแรกเจาะผนัง egg จะเกิดคลื่นของ Ca 2+ ions แพร่กระจายไปทั่ว egg และก่อตัวเป็นชั้นแข็งที่ Enzyme จาก acrosome ย่อยไม่ได้ เพราะฉะนั้น sperm ตัวอื่น ๆ จึงเข้ามาไม่ได้ (ป้องกันการเกิด polyspermy)
  • 12. Final Step Sperm สลัดส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ nucleus ออก และนำนิวเคลียสของมันเข้าไปหลอมรวมกับไข่เกิดเป็น zygote
  • 14. Male • Gamete=Sperm • Spermatogenesis: เริ่มจากเซลล์เริ่มต้นที่เรียกว่า primary spermatocyte; 2n ที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญใน อัณฑะ เซลล์นี้เพิ่มจำนวนตัวเองโดยการแบ่งเซลล์แบบไม โทซิส เมื่อเซลล์นี้มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส จะได้เซลล์ที่ เป็นแฮพลอยด์ เรียกว่า secondary spermatocyte เมื่อ เซลล์นี้แบ่งเซลล์ต่อจนเสร็จสิ้นไมโอซิส จะได้สเปิร์มเริ่มต้น (developing sperm cell) ซึ่งจะพัฒนาต่อไปจนได้สเปิร์ม ที่สมบูรณ์ • Hormonal factors that stimulate Spermatogenesis 1) Testosterone 2) Luteinizing hormone 3) Follicle-stimulating hormone 4) Estrogen 5) Growth hormone
  • 15. Female • Gamete=Egg • Oogenesis: เป็นการสร้างเซลล์ไข่ เกิดในรังไข่ ซึ่งมีเซลล์ เริ่มต้นเรียกprimary oocyte ซึ่งจะเพิ่มจำนวนตัวเองด้วยการ แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เมื่อเซลล์นี้เริ่มแบ่งตัวแบบไมโอซิส จะ ค้างอยู่ที่ระยะโพรเฟส I จนกระทั่งได้รับฮอร์โมน FSH จึง แบ่งตัวต่อจนสิ้นสุดไมโอซิส I ได้ 2 เซลล์ขนาดไม่เท่ากัน เซลล์ ที่มีขนาดใหญ่เรียกว่า secondary oocyte เซลล์ที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า first polar body secondary oocyte จะแบ่งตัว ต่อไปจนถึงระยะเมตาเฟส II แล้วค้างไว้จนกระทั่งตกไข่ เมื่อไข่ ตกแล้วถ้าไม่ได้รับการผสม เซลล์ไข่จะฝ่อไป ถ้าได้รับการผสม secondary oocyteจะแบ่งตัวต่อจนสิ้นสุดไมโอซิส II ได้เซลล์ ไข่กับ second polar body หลังจากนั้นเซลล์ไข่จะปฏิสนธิกับ สเปิร์มได้ไซโกต • Female Hormonal System: 1) gonadotropin-releasing hormone(GnRH) 2) The anterior pituitary sex hormones, follicle-stimulating hormone (FSH) and luteinizing hormone (LH) 3) The ovarian hormones, estrogen and progesterone
  • 17. Plant การปฏิสนธิซ้อน(double fertilization) เป็นรูปแบบการปฏิสนธิในพืชซึ่งมีการรวมตัวของ นิวเคลียส 2 ครั้ง การปฏิสนธิเริ่มจากการที่ละอองเรณูตก ลงบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) จากนั้นเกิดการงอกของ ละอองเรณู (pollination) เซลล์ของละอองเรณูยืดตัวลง ไปตามก้านชูยอดเกสรตัวเมีย (style) ลงไปจนถึงเกสรตัว เมีย แล้วเข้าไปในรังไข่ (ovary) และเอ็มบริโอแซค ตามลำดับ นิวเคลียสของละอองเรณูอันหนึ่งกับเซลล์ไข่ได้ เป็นไซโกต ซึ่งจะเจริญไปเป็นพืชต้นใหม่ อีกทั้งนิวเคลียส ของละอองเรณูจะรวมกับโพลาร์นิวเคลียสที่อยู่ตรงกลาง ของเอ็มบริโอ แซค ได้เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็น 3n ซึ่งจะ เจริญไปเป็นเอ็นโดสเปิร์มในเมล็ด
  • 20. บรรณานุกรม 1. Arthur G, John H. Textbook of Medical Physiology. 11th Edition. Philadelphia: Saunders. 2005. 2. Lisa U, Michael C, Steven W, Peter M, Jane R. Campbell Biology. 11th Edition. London: Pearson. 2016. 3. Wichai L. Biology4Chapter4_Animal Reproduction. [Online: PPTX] 2019. Available from: Line [Accessed 4th Jan 2020].