SlideShare a Scribd company logo
เทคโนโลยีนวัตกรรม
และสื่อการศึกษาIntroduction to technologies and
educational media
• 1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมาย
ของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อม
ทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่าง ๆ
• เทคโนโลยี หมายถึง การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความ
คิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ
ตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธี
การ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในการทำางานให้ดียิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยี
สื่อการศึกษา
สื่อการศึกษา หมายถึง ตัวกลางหรือสิ่งต่าง
ๆ เช่นวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เทคนิควิธีการรวมถึง
กรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ
ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการและสามารถนำาความรู้ที่
ได้รับนั้นไปใช้ในการเรียน การประกอบอาชีพ
ตลอดจนการดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุขและมี
ประสิทธิภาพ
• แบ่งออกเป็น 3 ยุค
• 1. ยุคเริ่มแรก – ค.ศ. 1700
• 1.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มโซฟิสต์ :
เป็นการบรรยายตามความต้องการของผู้บรรยายหรือผู้
ฟัง มีการพบปะ สนทนากับผู้เรียน เป็นจุดเริ่มต้นของ
การสอนแบบมวลชน (Mass Instruction)
เทคโนโลยีทางการศึกษาใน
ช่วงยุคต่าง ๆ
• 1.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มโสเครติส : มุ่งให้ผู้
เรียนสืบเสาะหาความรู้ที่เหมาะสมเองจาการป้อนคำาถาม
อาจจะเทียบได้หับวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
( Inquiry Method )
• 1.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มอเบลาร์ด : สอนให้ผู้
เรียนวิเคราะห์และตัดสินใจเองว่าอะไรควรอะไรไม่ควร
• 1.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มคอมินิอุส : จัดระบบ
การศึกษาแบบเปิด เขียนหนังสือมากมาย เน้นความรู้
คุณธรรมและความเคร่งครัดในศาสนา เป็นผู้ร่าง
หลักสูตรการศึกษาในฮอลแลนด์และสวีเดน
• 2. ค.ศ. 1700 – ค.ศ. 1900
• 2.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแลนตาสเตอร์ :
การสอนระบบพี่เลี้ยง ( Monitor System ) พยายามใช้
วัสดุอุปกรณ์ราคาถูก และประหยัด เช่น กระดานชนวน
กระบะทราย แผนภูมิ ผนังและการดานดำา
2.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มเปสตาลอสซี :
Learning by doing เรียนรู้แบบรูปธรรม
นามธรรม
2.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มฟรอเบล : เน้น
การสอนเด็กอนุบาล เป็นการสอนให้เห็นภาพรวมทั้งเนื้อหา
2.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแฮร์บาร์ท : อาศัย
ระบบจิตวิทยาการเรียนรู้ในการศึกษา มีการสอดแทรก
จริยธรรมด้วย มีการสอนแบบเป็นขั้นตอนมากยิ่งขึ้น
• 3. ค.ศ. 1900 – ปัจจุบัน
• 3.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มธอร์นไดค์ : เป็นผู้
ให้กำาเนิดทฤษฏีแห่งการเรียนรู้ คือ ทฤษฏีสัมพันธ์เชื่อม
โยง (Connectionism Theory )มีการอาศัยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ในการศึกษา
3.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มดิวอี้ : แนวความคิด
ในการแก้ปัญหา (Problem- Solving ) ยังต้องอาศัยวิธี
การทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา
3.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มมอนเตสซอรี : การ
สอนแบบ Nourishing มีการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียน
แล้วจึงจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน
3.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มเลวิน : แนวคิด
อวกาศแห่งชีวิต ( Life Space ) คืออวกาศหรือห้วงแห่ง
ชีวิตอันเป็นเสมือนโลกอีกโลกหนึ่งต่างหาก ซึ่งเป็นโลกทาง
ความคิดหรือโลกของจิต ( Psychological World ) ของ
แต่ละบุคคล อวกาศแห่งชีวิตจะมีอิทธิพลหรือความสัมพันธ์
กับพฤติกรรมของบุคคลแต่ละคน ตามแต่เขาจะมีอวกาศ
แห่งชีวิตอย่างไร
• 3.5 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มสกินเนอร์ : ทฤษฎี
การวางเงื่อนไขแบบอาการกระทำา ( Operant
Conditioning ) หรือพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
“การกระทำาใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าตอบการเสริมแรง
อัตราความเข้มแข็งของการตอบสนองจะมีโอกาสสูง
”ขึ้น
2. จำาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของ
เทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามีความสำาคัญต่อ
การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร
• 2.1 การออกแบบ (Design)
• - ออกแบบระบบการสอน : ครูต้องออกแบบให้
ครอบคลุมทั้งหลักสูตรที่จะต้องสอนในรายวิชานั้น ๆ
• - ออกแบบสาร : เหมาะสมกับหน่วยการเรียนรู้ มี
ความน่าสนใจ ครอบคลุมเนื้อหาได้ทั้งหมด
• - กลยุทธ์การสอน : ครูสอนอย่างไรให้ผู้เรียนสนใจ ไม่น่า
เบื่อและมีประสิทธิภาพสูงสุด ให้เหมาะสมกับพฤติกรรม
ของผู้เรียน
• - คุณลักษณะของผู้เรียน : ครูต้องศึกษาพฤติกรรมผู้เรียน
รายบุคคลว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
• 2.2 การพัฒนา ( Development )
• การพัฒนาสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีบูรณาการ ครูผู้สอนล้วนแต่จะต้องพัฒนาให้
เหมาะสมกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจะต้อง
พัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เพราะโลกของเรา
หมุนไปทุกวัน เราจะหยุดหมุนได้อย่างไร
• 2.3 การใช้ ( Utilization )
• ครูผู้สอนจะต้องใช้สื่อหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่
พัฒนาแล้วให้เกิดประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนสูงที่สุด และ
จะต้องใช้ได้เหมาะสมกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่มีความ
แตกต่างกันด้วย ซึ่งครูผู้สอนจะต้องเรียนรู้หลักและวิธี
การใช้สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ให้ดี
• 2.4 การจัดการ ( Management )
• ครูผู้สอนจะต้องมีระบบการบริหารจัดการที่ดีในการ
ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนให้
เหมาะสม สะดวก ประหยัดเวลาและเกิดประสิทธิภาพแก่
ผู้เรียนอย่างดีที่สุด และครูผู้สอนจะต้องมีแผนการ
จัดการใช้ทรัพยากรให้เกิดคุณค่าสูงสุดด้วย
• 2.5 การประเมินผล ( Evaluation )
• เมื่อสอนจบแล้วครูผู้สอนจะต้องมีการประเมินผลผู้
เรียนด้วยเพื่อให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มาหรือ
น้อยเพียงใด และยังเป็นการสะท้อนผลให้ครูผู้สอนเห็น
ด้วยว่าวิธีการสอน การใช้สื่อหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ เกิด
ประสิทธิภาพเท่าที่ควรหรือไม่ อย่างไร พร้อมทั้งนำามา
ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดผลที่ดีขึ้นในครั้งต่อไป
3. Educational Technology
และInstructional Technology มีความ
เหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กัน
อย่างไร
• Educational Technology : เทคโนโลยีการศึกษา
เป็นระบบการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับ
บุคคล กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือและองค์กร เพื่อนำาไป
ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสร้าง ประยุกต์ใช้ ประเมินผล
และจัดการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษา
• Instructional Technology : เทคโนโลยีการเรียน
การสอน เป็นทฤษฏีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบ
การพัฒนาการใช้ การจัดการและการประเมินของ
กระบวนการและ แหล่งเรียนรู้สำาหรับการเรียนรู้ คือ เน้น
การปฏิบัติ การฝึกฝนตามสถานการณ์นั้นเอง
• ยกตัวอย่างเช่น
• Educational Technology : การเรียนรู้ในสภาพ
แวดล้อมที่หลากหลาย
• Instructional Technology : สภาพแวดล้อมใน
โรงเรียนเท่านั้น
จะเห็นได้ว่า ทั้ง 2 คำามีความแตกต่างกัน แต่ทั้ง 2 คำา ก็มี
ความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชัด
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
ทางการศึกษามาใช้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ
เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูป
ธรรมได้อย่างไร
• 1. การใช้สื่อหรือเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียน
การสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น
• 2. การใช้สื่อในการเรียนการสอนเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน
การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้
• 3. ทำาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
• 4. เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียน ทำาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
สิ่งใหม่ ๆ ในโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
• 5. ทำาให้การศึกษาของไทยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไม่
แพ้ชาติไหนในโลก
สมาชิก
• 1.นางสาวนิศารัตน์ แท่นสัมฤทธิ์
533050433-8
• 2.นางสาวพิมพ์ชนก มังตา
533050437-0
• 3.นายอิศรภัทร พรหมภัทร
533050453-2

More Related Content

What's hot

งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
Setthawut Ruangbun
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
preeyanan28373
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Sunisa Soodpoh
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Natcha Wannakot
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
Pu
PuPu
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dee Arna'
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้janepi49
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยีimmyberry
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
Piyatida Krunsuntia
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
jeerawan_l
 

What's hot (19)

งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
Pu
PuPu
Pu
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Viewers also liked

Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Pornarun Srihanat
 
นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1
preeyanan28373
 
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Khosit Jumruslap
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Pornarun Srihanat
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
Pitanya Candy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Pornarun Srihanat
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
Kapook Moo Auan
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Mod DW
 

Viewers also liked (18)

Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to Introduction to technologies and educational media chapter1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
Sattakamon
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Aon Onuma
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
edk2bn
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
siri123001
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เหม่งเจี๋ย มักเมียเขา
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Tannoi Tesprasit
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2Ann Pawinee
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
Kanatip Sriwarom
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun
 

Similar to Introduction to technologies and educational media chapter1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 

More from boomakung

Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 newboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 

More from boomakung (6)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
学习
学习学习
学习
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

Introduction to technologies and educational media chapter1

  • 2. • 1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมาย ของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อม ทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี ทางการศึกษาในช่วงยุคต่าง ๆ
  • 3. • เทคโนโลยี หมายถึง การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความ คิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธี การ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในการทำางานให้ดียิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยี
  • 4. สื่อการศึกษา สื่อการศึกษา หมายถึง ตัวกลางหรือสิ่งต่าง ๆ เช่นวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เทคนิควิธีการรวมถึง กรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการและสามารถนำาความรู้ที่ ได้รับนั้นไปใช้ในการเรียน การประกอบอาชีพ ตลอดจนการดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุขและมี ประสิทธิภาพ
  • 5. • แบ่งออกเป็น 3 ยุค • 1. ยุคเริ่มแรก – ค.ศ. 1700 • 1.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มโซฟิสต์ : เป็นการบรรยายตามความต้องการของผู้บรรยายหรือผู้ ฟัง มีการพบปะ สนทนากับผู้เรียน เป็นจุดเริ่มต้นของ การสอนแบบมวลชน (Mass Instruction) เทคโนโลยีทางการศึกษาใน ช่วงยุคต่าง ๆ
  • 6. • 1.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มโสเครติส : มุ่งให้ผู้ เรียนสืบเสาะหาความรู้ที่เหมาะสมเองจาการป้อนคำาถาม อาจจะเทียบได้หับวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ( Inquiry Method ) • 1.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มอเบลาร์ด : สอนให้ผู้ เรียนวิเคราะห์และตัดสินใจเองว่าอะไรควรอะไรไม่ควร • 1.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มคอมินิอุส : จัดระบบ การศึกษาแบบเปิด เขียนหนังสือมากมาย เน้นความรู้ คุณธรรมและความเคร่งครัดในศาสนา เป็นผู้ร่าง หลักสูตรการศึกษาในฮอลแลนด์และสวีเดน
  • 7. • 2. ค.ศ. 1700 – ค.ศ. 1900 • 2.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแลนตาสเตอร์ : การสอนระบบพี่เลี้ยง ( Monitor System ) พยายามใช้ วัสดุอุปกรณ์ราคาถูก และประหยัด เช่น กระดานชนวน กระบะทราย แผนภูมิ ผนังและการดานดำา 2.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มเปสตาลอสซี : Learning by doing เรียนรู้แบบรูปธรรม นามธรรม
  • 8. 2.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มฟรอเบล : เน้น การสอนเด็กอนุบาล เป็นการสอนให้เห็นภาพรวมทั้งเนื้อหา 2.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแฮร์บาร์ท : อาศัย ระบบจิตวิทยาการเรียนรู้ในการศึกษา มีการสอดแทรก จริยธรรมด้วย มีการสอนแบบเป็นขั้นตอนมากยิ่งขึ้น
  • 9. • 3. ค.ศ. 1900 – ปัจจุบัน • 3.1 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มธอร์นไดค์ : เป็นผู้ ให้กำาเนิดทฤษฏีแห่งการเรียนรู้ คือ ทฤษฏีสัมพันธ์เชื่อม โยง (Connectionism Theory )มีการอาศัยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ในการศึกษา 3.2 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มดิวอี้ : แนวความคิด ในการแก้ปัญหา (Problem- Solving ) ยังต้องอาศัยวิธี การทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา
  • 10. 3.3 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มมอนเตสซอรี : การ สอนแบบ Nourishing มีการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียน แล้วจึงจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน 3.4 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มเลวิน : แนวคิด อวกาศแห่งชีวิต ( Life Space ) คืออวกาศหรือห้วงแห่ง ชีวิตอันเป็นเสมือนโลกอีกโลกหนึ่งต่างหาก ซึ่งเป็นโลกทาง ความคิดหรือโลกของจิต ( Psychological World ) ของ แต่ละบุคคล อวกาศแห่งชีวิตจะมีอิทธิพลหรือความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมของบุคคลแต่ละคน ตามแต่เขาจะมีอวกาศ แห่งชีวิตอย่างไร
  • 11. • 3.5 เทคโนโลยีการศึกษากลุ่มสกินเนอร์ : ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบอาการกระทำา ( Operant Conditioning ) หรือพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) “การกระทำาใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าตอบการเสริมแรง อัตราความเข้มแข็งของการตอบสนองจะมีโอกาสสูง ”ขึ้น
  • 13. • 2.1 การออกแบบ (Design) • - ออกแบบระบบการสอน : ครูต้องออกแบบให้ ครอบคลุมทั้งหลักสูตรที่จะต้องสอนในรายวิชานั้น ๆ • - ออกแบบสาร : เหมาะสมกับหน่วยการเรียนรู้ มี ความน่าสนใจ ครอบคลุมเนื้อหาได้ทั้งหมด • - กลยุทธ์การสอน : ครูสอนอย่างไรให้ผู้เรียนสนใจ ไม่น่า เบื่อและมีประสิทธิภาพสูงสุด ให้เหมาะสมกับพฤติกรรม ของผู้เรียน • - คุณลักษณะของผู้เรียน : ครูต้องศึกษาพฤติกรรมผู้เรียน รายบุคคลว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
  • 14. • 2.2 การพัฒนา ( Development ) • การพัฒนาสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีบูรณาการ ครูผู้สอนล้วนแต่จะต้องพัฒนาให้ เหมาะสมกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจะต้อง พัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เพราะโลกของเรา หมุนไปทุกวัน เราจะหยุดหมุนได้อย่างไร
  • 15. • 2.3 การใช้ ( Utilization ) • ครูผู้สอนจะต้องใช้สื่อหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ พัฒนาแล้วให้เกิดประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนสูงที่สุด และ จะต้องใช้ได้เหมาะสมกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่มีความ แตกต่างกันด้วย ซึ่งครูผู้สอนจะต้องเรียนรู้หลักและวิธี การใช้สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ให้ดี
  • 16. • 2.4 การจัดการ ( Management ) • ครูผู้สอนจะต้องมีระบบการบริหารจัดการที่ดีในการ ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนให้ เหมาะสม สะดวก ประหยัดเวลาและเกิดประสิทธิภาพแก่ ผู้เรียนอย่างดีที่สุด และครูผู้สอนจะต้องมีแผนการ จัดการใช้ทรัพยากรให้เกิดคุณค่าสูงสุดด้วย
  • 17. • 2.5 การประเมินผล ( Evaluation ) • เมื่อสอนจบแล้วครูผู้สอนจะต้องมีการประเมินผลผู้ เรียนด้วยเพื่อให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มาหรือ น้อยเพียงใด และยังเป็นการสะท้อนผลให้ครูผู้สอนเห็น ด้วยว่าวิธีการสอน การใช้สื่อหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ เกิด ประสิทธิภาพเท่าที่ควรหรือไม่ อย่างไร พร้อมทั้งนำามา ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดผลที่ดีขึ้นในครั้งต่อไป
  • 18. 3. Educational Technology และInstructional Technology มีความ เหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กัน อย่างไร
  • 19. • Educational Technology : เทคโนโลยีการศึกษา เป็นระบบการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับ บุคคล กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือและองค์กร เพื่อนำาไป ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสร้าง ประยุกต์ใช้ ประเมินผล และจัดการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษา • Instructional Technology : เทคโนโลยีการเรียน การสอน เป็นทฤษฏีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบ การพัฒนาการใช้ การจัดการและการประเมินของ กระบวนการและ แหล่งเรียนรู้สำาหรับการเรียนรู้ คือ เน้น การปฏิบัติ การฝึกฝนตามสถานการณ์นั้นเอง
  • 20. • ยกตัวอย่างเช่น • Educational Technology : การเรียนรู้ในสภาพ แวดล้อมที่หลากหลาย • Instructional Technology : สภาพแวดล้อมใน โรงเรียนเท่านั้น จะเห็นได้ว่า ทั้ง 2 คำามีความแตกต่างกัน แต่ทั้ง 2 คำา ก็มี ความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชัด
  • 22. • 1. การใช้สื่อหรือเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียน การสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น • 2. การใช้สื่อในการเรียนการสอนเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้ • 3. ทำาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น • 4. เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผู้เรียน ทำาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ ในโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว • 5. ทำาให้การศึกษาของไทยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไม่ แพ้ชาติไหนในโลก
  • 23. สมาชิก • 1.นางสาวนิศารัตน์ แท่นสัมฤทธิ์ 533050433-8 • 2.นางสาวพิมพ์ชนก มังตา 533050437-0 • 3.นายอิศรภัทร พรหมภัทร 533050453-2