SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชา 230301
สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
ในคาบเรียนนี้นักเรียนได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการ
ออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจําอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหา
การผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ ซึ่ง
ประกอบด้วย
คุณครูแดน ต้องการนําเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่ง
ขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้
ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการสรุป
เนื้อหาที่สอน
สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้
นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทํางานของระบบการทํางานคอมพิวเตอร์ และ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทําหน้าที่การสรุป
สถิติจํานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1-ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไป
ทราบ
คุณครูพอลล่า เป็นครูสอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ
ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวน
ให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลนาเสพย์ติด
เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต ้องการของคุณครูแต่ละคนพร ้อมอธิบายเหตุผล
ในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สําคัญที่
เลือกใช ้
ภารกิจที่ 1
คุณครูแดน ต ้องการนําเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์
ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดน
ต ้องการให ้นักเรียนได ้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่
สอน และช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน
แผนภูมิ
คุณลักษณะ เป็นทัศนวัสดุที่
ประกอบด ้วยรูปภาพ ลายเส ้น
สัญลักษณ์ ตัวเลข และข ้อความ เพื่อ
แสดงความเกี่ยวข ้องของนามธรรม มี
ประโยชน์ในการนํามาใช ้ในการเรียน
การสอนที่ช่วยอธิบายให ้เป็นรูปธรรม
มากขึ้น
เหตุผลที่เลือก
1.ครูแดนต ้องการนําเสนอ
เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้น
ไป
2.เนื้อหาเป็นนามธรรม
3.แผนภูมิ ทําให ้นักเรียน
สามารถสรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบ
ยอดของนักเรียนเองได ้
แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช ้สําหรับอธิบาย
ส่วนต่างๆของภาพที่ต ้องการโดยเขียนเส ้นโยงกับคําอธิบายสั้นๆ
ตัวอย่างแผนภูมิ
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการ
สอนวันนี้ต ้องการให ้นักเรียนเข ้าใจถึงระบบการทํางานของ
ระบบการทํางานคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์
คุณลักษณะ
-อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข ้าใจ
-แสดงให ้เห็นความสําคัญของ
ส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย
-แสดงให ้เห็นกระบวนการของสิ่งใด
สิ่งหนึ่งให ้เข ้าใจง่ายขึ้น
เหตุผลที่เลือก
1.แผนภาพจะทําให ้นักเรียนเห็น
ภาพของส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได ้
ชัดเจน
2.นักเรียนจะเข ้าใจระบบการทํางาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ได ้ง่าย
แผนภาพ
แผนภาพเป็นภาพลายเส ้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค ้า
โรงของวัตถุ โครงสร ้างที่สําคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให ้ง่ายขึ้น
แผนภาพสื่อความหมายได ้ดี การใช ้แผนภาพถ ้าใช ้คู่กับของจริง จะ
ทําให ้เข ้าใจได ้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างแผนภาพ
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต ้องทํา
หน้าที่การสรุปสถิติจํานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1-ม.6) และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดง
ให ้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
คุณลักษณะ
เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับ
เนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่าง
จํานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ
เหตุผลที่เลือก
1.แผนสถิติเหมาะกับการทํา
สรุปสถิติจํานวนนักเรียนและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
2.ง่ายต่อการอ่านค่า
แผนสถิติ
ตัวอย่างแผนสถิติ
แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทําง่ายและ อ่านเข ้าใจง่ายกว่า
แบบอื่น เหมาะสําหรับเปรียบเทียบ ข ้อมูลหลายชนิด มีลักษณะความยาวของ
แท่งปริมาณข ้อมูล ถ ้าข ้อมูลน้อย แท่งจะสั้น ถ ้าข ้อมูลมากแท่งจะยาว ความ
กว ้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้งและแกนนอน จะเปรียบเทียบข ้อมูล 2 ประเภทที่
เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่างแผนสถิติแบบแท่ง
คุณครูพอลล่า เป็นครูสอนในระดับอนุบาล ซึ่งต ้องการ
เร ้าความสนใจของนักเรียนให ้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและ
เกิดจินตนาการ
คุณลักษณะ
-ใช ้นําเข ้าสู่บทเรียน
- ใช ้อธิบายเรื่องราวต่างๆที่ไม่ทํา
ให ้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
-การ์ตูนสามารถถ่ายทอด
ความรู้สึกนึกคิด
-เหมาะกับนักเรียนทุกระดับชั้น
เหตุผลที่เลือก
1.เพราะเด็กอนุบาลเบื่อง่าย
2.การ์ตูนสามารถสร้างความ
เร้าใจได ้ง่าย
การ์ตูน
ตัวอย่างการ์ตูน
การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช ้ประกอบ
กิจกรรมการเรียนการสอน และการศึกษา เพื่อช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได ้ดียิ่งขึ้น
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ ายปกครอง ซึ่งต ้องการ
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให ้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให ้
นักเรียนห่างไกลนาเสพย์ติด
คุณลักษณะ
เป็นการออกแบบซึ่ง
ประกอบด ้วยภาพ ข ้อความ หรือ
เรื่องราว มีลักษณะที่เข ้าใจง่าย
สามารถสื่อความหมายได ้ทันที มีการ
โน้มน้าว เชิญชวนที่พึงกระทํา
เหตุผลที่เลือก
1.ครูศรรามต ้องการ
ประชาสัมพันธ์เชิญชวน
2.ภาพโฆษณาเห็นแล ้ว
เข ้าใจได ้ง่าย
ภาพโฆษณา
ตัวอย่างภาพโฆษณา
ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด ้วย ภาพ ข ้อความ หรือ
เรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให ้ผู้เปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณา นั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช ้าหรือเร็วก็ตาม
ออกแบบการนําเสนอข ้อมูล โดยใช ้คุณลักษณะของ
วัสดุกราฟิกที่สอดคล ้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการ
เรียนรู้วิชาเอก
ภารกิจที่ 2
กลุ่มของพวกเราเลือก การออกแบบนําเสนอข ้อมูล โดยใช ้
แผนภาพ เพราะ แผนภาพมีโครงสร ้างที่สําคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให ้
ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได ้ดี การใช ้แผนภาพถ ้าใช ้คู่กับของจริงจะ
ทําให ้เข ้าใจได ้ง่ายขึ้น กราฟิกที่สอดคล ้องกับเนื้อหาวิชาภาษาจีน
ตัวอย่างเช่น บัตรคําศัพท์ และ แผนภาพทัศนสัญลักษณ์ เป็นต ้น
ตัวอย่างบัตรคําศัพท์
ตัวอย่างแผนภาพทัศนสัญลักษณ์
นางสาวนิศารัตน์ แท่นสัมฤทธิ์ 533050433-8
นางสาวพิมพ์ชนก มังตา 533050437-0
นายอิศรภัทร พรหมภัทร 533050453-2
สมาชิกในกลุ่ม ...

More Related Content

What's hot

Power point8
Power point8Power point8
Power point8tross999
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนjanepi49
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนTeerasak Nantasan
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนFern's Supakyada
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8FerNews
 

What's hot (15)

Power point8
Power point8Power point8
Power point8
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
C hapter 8 ppt
C hapter 8 pptC hapter 8 ppt
C hapter 8 ppt
 
Chapter 8 pdf
Chapter 8 pdfChapter 8 pdf
Chapter 8 pdf
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 

Viewers also liked

Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1preeyanan28373
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Pornarun Srihanat
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Pornarun Srihanat
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Khosit Jumruslap
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Pornarun Srihanat
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1Kapook Moo Auan
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 

Viewers also liked (19)

Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1นำเสนอKey connewล่าสุด1
นำเสนอKey connewล่าสุด1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to Chapter 8

Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Pronsawan Petklub
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนSattakamon
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนKanatip Sriwarom
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChanissata Rakkhuamsue
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 

Similar to Chapter 8 (18)

Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทท 8
บทท  8บทท  8
บทท 8
 
Inno present chapt8
Inno present chapt8Inno present chapt8
Inno present chapt8
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Chapter 8

  • 2. สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning ) ในคาบเรียนนี้นักเรียนได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการ ออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจําอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหา การผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ ซึ่ง ประกอบด้วย คุณครูแดน ต้องการนําเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่ง ขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการสรุป เนื้อหาที่สอน
  • 3. สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning ) คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้ นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทํางานของระบบการทํางานคอมพิวเตอร์ และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทําหน้าที่การสรุป สถิติจํานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1-ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไป ทราบ คุณครูพอลล่า เป็นครูสอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวน ให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลนาเสพย์ติด
  • 5. คุณครูแดน ต ้องการนําเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดน ต ้องการให ้นักเรียนได ้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่ สอน และช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน แผนภูมิ คุณลักษณะ เป็นทัศนวัสดุที่ ประกอบด ้วยรูปภาพ ลายเส ้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข ้อความ เพื่อ แสดงความเกี่ยวข ้องของนามธรรม มี ประโยชน์ในการนํามาใช ้ในการเรียน การสอนที่ช่วยอธิบายให ้เป็นรูปธรรม มากขึ้น เหตุผลที่เลือก 1.ครูแดนต ้องการนําเสนอ เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้น ไป 2.เนื้อหาเป็นนามธรรม 3.แผนภูมิ ทําให ้นักเรียน สามารถสรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบ ยอดของนักเรียนเองได ้
  • 6. แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช ้สําหรับอธิบาย ส่วนต่างๆของภาพที่ต ้องการโดยเขียนเส ้นโยงกับคําอธิบายสั้นๆ ตัวอย่างแผนภูมิ
  • 7. คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการ สอนวันนี้ต ้องการให ้นักเรียนเข ้าใจถึงระบบการทํางานของ ระบบการทํางานคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ คุณลักษณะ -อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข ้าใจ -แสดงให ้เห็นความสําคัญของ ส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย -แสดงให ้เห็นกระบวนการของสิ่งใด สิ่งหนึ่งให ้เข ้าใจง่ายขึ้น เหตุผลที่เลือก 1.แผนภาพจะทําให ้นักเรียนเห็น ภาพของส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได ้ ชัดเจน 2.นักเรียนจะเข ้าใจระบบการทํางาน ของระบบคอมพิวเตอร์ได ้ง่าย แผนภาพ
  • 8. แผนภาพเป็นภาพลายเส ้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค ้า โรงของวัตถุ โครงสร ้างที่สําคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให ้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได ้ดี การใช ้แผนภาพถ ้าใช ้คู่กับของจริง จะ ทําให ้เข ้าใจได ้ง่ายขึ้น ตัวอย่างแผนภาพ
  • 9. คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต ้องทํา หน้าที่การสรุปสถิติจํานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1-ม.6) และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดง ให ้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ คุณลักษณะ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับ เนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่าง จํานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เหตุผลที่เลือก 1.แผนสถิติเหมาะกับการทํา สรุปสถิติจํานวนนักเรียนและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 2.ง่ายต่อการอ่านค่า แผนสถิติ
  • 10. ตัวอย่างแผนสถิติ แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทําง่ายและ อ่านเข ้าใจง่ายกว่า แบบอื่น เหมาะสําหรับเปรียบเทียบ ข ้อมูลหลายชนิด มีลักษณะความยาวของ แท่งปริมาณข ้อมูล ถ ้าข ้อมูลน้อย แท่งจะสั้น ถ ้าข ้อมูลมากแท่งจะยาว ความ กว ้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้งและแกนนอน จะเปรียบเทียบข ้อมูล 2 ประเภทที่ เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่างแผนสถิติแบบแท่ง
  • 11. คุณครูพอลล่า เป็นครูสอนในระดับอนุบาล ซึ่งต ้องการ เร ้าความสนใจของนักเรียนให ้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและ เกิดจินตนาการ คุณลักษณะ -ใช ้นําเข ้าสู่บทเรียน - ใช ้อธิบายเรื่องราวต่างๆที่ไม่ทํา ให ้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย -การ์ตูนสามารถถ่ายทอด ความรู้สึกนึกคิด -เหมาะกับนักเรียนทุกระดับชั้น เหตุผลที่เลือก 1.เพราะเด็กอนุบาลเบื่อง่าย 2.การ์ตูนสามารถสร้างความ เร้าใจได ้ง่าย การ์ตูน
  • 12. ตัวอย่างการ์ตูน การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช ้ประกอบ กิจกรรมการเรียนการสอน และการศึกษา เพื่อช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได ้ดียิ่งขึ้น
  • 13. คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ ายปกครอง ซึ่งต ้องการ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให ้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให ้ นักเรียนห่างไกลนาเสพย์ติด คุณลักษณะ เป็นการออกแบบซึ่ง ประกอบด ้วยภาพ ข ้อความ หรือ เรื่องราว มีลักษณะที่เข ้าใจง่าย สามารถสื่อความหมายได ้ทันที มีการ โน้มน้าว เชิญชวนที่พึงกระทํา เหตุผลที่เลือก 1.ครูศรรามต ้องการ ประชาสัมพันธ์เชิญชวน 2.ภาพโฆษณาเห็นแล ้ว เข ้าใจได ้ง่าย ภาพโฆษณา
  • 14. ตัวอย่างภาพโฆษณา ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด ้วย ภาพ ข ้อความ หรือ เรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให ้ผู้เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณา นั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช ้าหรือเร็วก็ตาม
  • 15. ออกแบบการนําเสนอข ้อมูล โดยใช ้คุณลักษณะของ วัสดุกราฟิกที่สอดคล ้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการ เรียนรู้วิชาเอก ภารกิจที่ 2
  • 16. กลุ่มของพวกเราเลือก การออกแบบนําเสนอข ้อมูล โดยใช ้ แผนภาพ เพราะ แผนภาพมีโครงสร ้างที่สําคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให ้ ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได ้ดี การใช ้แผนภาพถ ้าใช ้คู่กับของจริงจะ ทําให ้เข ้าใจได ้ง่ายขึ้น กราฟิกที่สอดคล ้องกับเนื้อหาวิชาภาษาจีน ตัวอย่างเช่น บัตรคําศัพท์ และ แผนภาพทัศนสัญลักษณ์ เป็นต ้น ตัวอย่างบัตรคําศัพท์
  • 18. นางสาวนิศารัตน์ แท่นสัมฤทธิ์ 533050433-8 นางสาวพิมพ์ชนก มังตา 533050437-0 นายอิศรภัทร พรหมภัทร 533050453-2 สมาชิกในกลุ่ม ...